1 / 27

CHAPTER 2

CHAPTER 2. SCIENTIFIC INVESTIGATION การวิจัยเชิงวิทยาศาสตร์. วัตถุประสงค์ในการศึกษา. อธิบายความหมายของการวิจัยตามหลักวิทยาศาสตร์ และยกตัวอย่างของการวิจัยทั้งตามหลักวิทยาศาสตร์และไม่อิงวิทยาศาสตร์ได้ อธิบายคุณสมบัติ 8 ประการของการวิจัยเชิงวิทยาศาสตร์ได้

Thomas
Download Presentation

CHAPTER 2

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. CHAPTER 2 SCIENTIFIC INVESTIGATION การวิจัยเชิงวิทยาศาสตร์

  2. วัตถุประสงค์ในการศึกษาวัตถุประสงค์ในการศึกษา • อธิบายความหมายของการวิจัยตามหลักวิทยาศาสตร์ และยกตัวอย่างของการวิจัยทั้งตามหลักวิทยาศาสตร์และไม่อิงวิทยาศาสตร์ได้ • อธิบายคุณสมบัติ 8 ประการของการวิจัยเชิงวิทยาศาสตร์ได้ • อธิบายได้ว่า ทำไมการวิจัยพฤติกรรมองค์กร และการบริหาร จึงไม่สามารถอิงตามหลักวิทยาศาสตร์ได้ทั้งหมด

  3. วัตถุประสงค์ในการศึกษา (ต่อ) • อธิบายการสร้างแนวทางเชิงวิทยาศาสตร์ • อธิบาย 7 ขั้นตอนของวิธีการตั้งสมมติฐานเชิงอนุมาน และการยกตัวอย่าง • อธิบายได้ถึงข้อดีของความรู้เกี่ยวกับการวิจัยเชิงวิทยาศาสตร์

  4. การวิจัยเชิงวิทยาศาสตร์การวิจัยเชิงวิทยาศาสตร์ หมายถึง การแก้ปัญหาโดยใช้วิธีเป็นเหตุเป็นผล เป็นระบบ แบบแผน และความถูกต้องแม่นยำ เพื่อชี้ให้เห็นถึงปัญหา ตลอดจนรวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลและการทำสรุปผลได้อย่างถูกต้อง

  5. คุณสมบัติของการวิจัยที่เป็นวิทยาศาสตร์คุณสมบัติของการวิจัยที่เป็นวิทยาศาสตร์ • 1. มีจุดมุ่งหมาย (Purposiveness) • 2. มีความถูกต้องแม่นยำ(Rigor) • 3. สามารถทดสอบได้(Testability) • 4. สามารถทำซ้ำได้(Replicability) • 5. ความถูกต้องเที่ยงตรง และ ความเชื่อมั่น(Precision and Confidence) • 6. การสรุปผลจากข้อเท็จจริง(Objectivity) • 7. สามารถนำไปใช้ได้อย่างกว้างขวาง(Generalizability) • 8. ความง่าย (Parsimony)

  6. 1. การมีจุดมุ่งหมาย (Purposiveness) The situation in which research is focused on solving a well-identified And defined problem, rather aimlessly looking for answers to vague questions • ตย. การเพิ่มความผูกพันของพนักงานที่มีต่อ • บริษัทเพื่อ • จำนวนการลาออกน้อยลง • การขาด ลา มาสายน้อยลง • การเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน

  7. 2. มีความถูกต้องแม่นยำ (Rigor) The theoretical and methodological precision adhered to in conducting research • การปฏิบัติตามหลักทฤษฎี • มีการออกแบบวิธีการที่ดีเพื่อเพิ่มความแม่นยำ • ในการศึกษาค้นคว้าวิจัย

  8. สาเหตุของการขาดความถูกต้องแม่นยำสาเหตุของการขาดความถูกต้องแม่นยำ • กลุ่มตัวอย่างเป็นเพียงกลุ่มเล็ก ๆ • รูปแบบคำถามอาจมีผลทำให้เกิดการเบี่ยงเบน ลำเอียง และมีความไม่ถูกต้องของคำตอบเกิดขึ้น • มีอิทธิพลที่สำคัญอื่น ที่มีผลต่อกลุ่มตัวอย่าง

  9. 3. สามารถทดสอบได้ (Testability) The ability to subject the data collected to appropriate statistical tests, in order to substantiate or reject the hypotheses developed for research study.การทดสอบสมมติฐานในทางตรรกศาตร์เพื่อที่จะตรวจสอบ ว่าข้อมูลที่นำมาศึกษาสนับสนุนสมมติฐานหรือไม่ ตย. สมมติฐานที่ว่า พนักงานที่เห็นว่าเป็นโอกาสที่ดีใน การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ จะมีความผูกพันกับบริษัทมากยิ่งขึ้น

  10. การพัฒนาข้อสมมติฐานที่ตั้งไว้การพัฒนาข้อสมมติฐานที่ตั้งไว้ • การรวบรวมข้อมูล • นำข้อมูลไปทดสอบโดยใช้หลาย ๆ วิธี เช่น วิธี Chi - Squar test & t - test • ตรวจสอบว่าข้อมูลที่ศึกษามา สนับสนุนสมมติฐานหรือไม่

  11. 4. สามารถพิสูจน์ได้ (Replicability) • หาหลักฐานจากการศึกษาวิจัยโดยองค์กรอื่นๆ • เพื่อพิสูจน์การสนับสนุนข้อมูล • ทดสอบสมมติฐานซ้ำ ในสถานการณ์อื่นๆ • ที่คล้ายคลึงกันเพื่อให้เกิดความเชื่อมั่นในผลการวิจัย

  12. 5. ความถูกต้องเที่ยงตรง และความมั่นใจ(Precision and Confidence) • ข้อสรุปจะต้องตรงกับความเป็นจริงมากที่สุด โดยมี • ความถูกต้องเที่ยงตรง หมายถึง ระดับความถูกต้องแม่นยำของผลลัพธ์ที่ได้จากกลุ่มตัวอย่างซึ่งตรงกับความเป็นจริงในภาพรวม • ความเชื่อมั่น หมายถึง ความเป็นไปได้ที่การคาดคะเนถูกต้อง เช่น ระดับความเชื่อมั่น ที่ 95 % ก็คือ มีโอกาสเพียง 5% ที่พบว่าข้อสรุปที่ได้อาจไม่ถูกต้อง - ถูกยอมรับเป็น (Conventional) ระดับความสำคัญที่ .05 • ( p = .05 )

  13. 6. การสรุปผลจากข้อเท็จจริง(Objectivity) • บทสรุปที่ได้มาจากการตีความผลวิเคราะห์ข้อมูลควรมา • จากความจริง • วิเคราะห์ข้อมูลซึ่งมีพื้นฐานมาจากข้อเท็จจริง ไม่ใช่มาจาก • ความรู้สึกนึกคิด หรืออารมณ์ของตนเอง • ยึดมั่นข้อมูลจากผลที่ออกมาซึ่งผ่านขบวนการการวิจัย • อย่างถูกต้องครบถ้วนทุกขั้นตอน

  14. 7. สามารถนำไปใช้ได้อย่างกว้างขวาง (Generalizability) หมายถึง ขอบเขตของการประยุกต์ใช้ข้อมูลการวิจัยขององค์กรหนึ่งกับองค์กรอื่นๆ

  15. 8. ความง่าย (Parsimony) • การใช้หลักการที่ง่าย • จำนวนตัวแปรที่ใช้ในการสร้างทฤษฎีไม่ซับซ้อนเกินไป • การสัมภาษณ์บุคคลที่เกี่ยวข้องอย่างเป็นทางการ • และไม่เป็นทางการ รวมทั้งการทบทวนงานวิจัยเก่า

  16. อุปสรรคของการวิจัยเชิงวิทยาศาสตร์อุปสรรคของการวิจัยเชิงวิทยาศาสตร์ • การประเมินและรวบรวมข้อมูลที่มาจากความ นึกคิด อารมณ์ ทัศนคติ และความรู้สึก จากกลุ่ม ตัวอย่างซึ่งจะถูกจำกัดการนำไปใช้ของผลลัพธ์

  17. กำหนดปัญหา สังเกตการณ์ โครงสร้างทฤษฏีและเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง กลั่นกรองทฤษฎีหรือการปฏิบัติตาม ตั้งสมมติฐาน ประมวลผล กำหนดหลักปฎิบัติงานและคำนิยาม วิเคราะห์ข้อมูล ออกแบบการวิจัย รวบรวมข้อมูล การสร้างแนวทางวิทยาศาสตร์

  18. วิธีอนุมานสมมุติฐาน (Hypothethico - Deductive Method) 1. การสังเกตการณ์ 2. การรวบรวมข้อมูลเบื้องต้น 3. การสร้างทฤษฎี 4. การตั้งสมมติฐาน 5. การรวบรวมข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ 6. การวิเคราะห์ข้อมูล 7. การอนุมาน (สรุป)

  19. การสังเกตการณ์ (Observation) • ความเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรม ทัศนคติที่เกิดขึ้นในสภาพแวดล้อม • ต้องมีความรอบรู้และไวต่อสิ่งที่เกิดขึ้น

  20. การวบรวมข้อมูลเบื้องต้น(Preliminary Information Gathering) • การหาข้อมูลในสิ่งที่สังเกตเห็น • การพูดคุยกับบุคคลต่างๆ • การสัมภาษณ์อย่างเป็นทางการ และไม่เป็นทางการ • การหาข้อมูลจากแหล่งอื่นๆ

  21. การกำหนดทฤษฎี (Theory Formulation) • การกำหนดทฤษฎีที่เหมาะสม • รวบรวมข้อมูลโดยใช้หลักตรรกศาสตร์ • ตรวจสอบตัวแปรที่สำคัญเพื่อใช้ในการอธิบายว่าทำไมจึงเกิด ปัญหาขึ้นและจะแก้ไขอย่างไร • เชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร เพื่อหาเหตุผลว่าทำไมปัจจัย ต่างๆจึงมีอิทธิพลต่อปัญหาที่เกิดขึ้น

  22. การตั้งสมมติฐาน (Hypothesizing) • การคาดคะเนโดยใช้หลักการ • มีมุมมองที่สร้างสรรค์ • หาสมมติฐานจากการพิสูจน์ข้อเท็จจริง • สร้างสมมติฐานใหม่จากการสังเกตการณ์

  23. การรวบรวมข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ (Further Scientific Data Collection) • หาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับตัวแปรแต่ละตัวในสมมติฐาน • รวบรวมข้อมูลแต่ละตัวแปรในโครงสร้างทฤษฎีจากสมมติฐานที่สร้างขึ้น

  24. การวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analysis) • การรวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ • การวิเคราะห์และทดสอบว่าสองตัวแปรมีความสัมพันธ์กันอย่างไร • การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ และ เชิงปริมาณ ข้อมูลเชิงคุณภาพ หมายถึง ข้อมูลที่ได้มาจากการสัมภาษณ์ หรือการสังเกตการณ์ ข้อมูลเชิงปริมาณ หมายถึง เป็นข้อมูลที่ได้มาจากแบบสอบถาม

  25. การอนุมาน (Deduction) หมายถึง ขั้นตอนการสรุปโดยการตีความหมายของผลที่ได้จากข้อเท็จจริงโดยการวิเคราะห์ข้อมูล

  26. ข้อดีของความรู้เกี่ยวกับการวิจัยเชิงวิทยาศาสตร์ข้อดีของความรู้เกี่ยวกับการวิจัยเชิงวิทยาศาสตร์ • สามารถนำผลวิจัยในเชิงวิทยาศาสตร์ไปแก้ปัญหาได้ • รู้จักวิธีการวิเคราะห์และทำวิจัยเชิงวิทยาศาสตร์ที่เน้นถึงการแก้ปัญหาโดยใช้วิธีเป็นเหตุเป็นผลเป็นระบบ แบบแผน • ข้อมูลที่ได้จากการวิจัยสามารถสนับสนุนในการตัดสินใจที่เหมาะสมและแก้ปัญหาเพื่อลดข้อผิดพลาดที่อาจจะเกิดขึ้น

  27. บทสรุป • การวิจัยเชิงวิทยาศาสตร์เป็นการวิจัยเป็นขั้นตอนโดยใช้วิธีอนุมานสมมติฐานซึ่งใช้ในการแก้ไขปัญหาและการตระหนักถึงคุณค่าของการวิจัยทางวิทยาศาสตร์และทราบถึงความจำเป็นในการวิจัยที่สามารถแก้ไขปัญหาที่ซับซ้อนได้อย่างมีประสิทธิภาพ • การทำงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับองค์กรไม่สามารถให้ผลที่ถูกต้องได้ 100% แต่วิธีแก้ไขปัญหาที่ได้มาตรฐานก็สามารถทำให้เกิดการตัดสินใจได้ถูกต้อง

More Related