130 likes | 144 Views
à¸à¸²à¸£à¹€à¸¥à¸·à¸à¸à¹€à¸„รื่à¸à¸‡à¸ªà¸¹à¸šà¸™à¹‰à¸³à¸ªà¸³à¸«à¸£à¸±à¸šà¸à¸²à¸„ารขนาดใหà¸à¹ˆà¹à¸¥à¹‰à¸§à¸à¹‡à¹‚รงงานà¸à¸¸à¸•สาหà¸à¸£à¸£à¸¡
E N D
เครื่องก าเนิดไฟฟ้าส ารอง เครื่องสูบน ้าและซุปเปอร์ชาร์จ รวบรวมโดย ยงยุทธ ปรีดาลัมพะบุตร เครื่องก าเนิดไฟฟ้าส ารอง (GENERATOR ) ระบบเครื่องก าเนิดไฟฟ้าส ารอง มีบทบาทส าคัญในสถานที่ที่ต้องการใช้ไฟฟ้าอย่างต่อเนื่องในการท างาน ในการเก็บรักษาข้อมูลและงานในกระบวนการผลิตต่างๆ เช่น โรงพยาบาลโรงแรม โรงงาน อุตสาหกรรมอาคารห้างสรรพสินค้า เป็นต้น ระบบเครื่องก าเนิดไฟฟ้าส ารองมีให้เลือกหลายรุ่นหลายแบบ ตั้งแต่ ขนาด 30 KVA จนถึง 1500 KVA และสามารถท างานได้ทั้งแบบ MANUAL และ AUTOMATIC การเลือกเครื่องก าเนิดไฟฟ้าให้เหมาะสมอย่างมืออาชีพ การเลือก เครื่องปั่นไฟ ให้ถูกต้องและเหมาะสมนั้น โดยปกติเป็นหน้าที่ของผู้ออกแบบและที่ปรึกษาในงาน ด้านวิศวกรรมระบบแต่เมื่อใดก็ตามหากเราต้องการจัดหาเครื่องก าเนิดไฟฟ้าเองหรือไม่มีผู้ออกแบบและที่ปรึกษา ในเบื้องต้นผู้เลือกจะต้องทราบเสียก่อนว่าความต้องการใช้ประโยชน์อะไรจากเครื่องก าเนิดไฟฟ้าโดยส่วนมากแล้ว มักจะใช้เป็นเครื่องส ารองไฟฟ้าเมื่อไฟฟ้าหลักหรือการไฟฟ้าส่วนกลางนั้นขาดหายไปหรืออาจมีบางความต้องการ ที่ต้องการใช้เป็นก าลังหลักเช่นตามเกาะตามภูเขาหรือสถานที่พักตากอากาศที่ไม่มีไฟฟ้าบางครั้งอาจต้องการใช้ เป็นเครื่องมือในการจัดการลดค่าใช้จ่ายจากไฟฟ้าหลักหรือตลอดจนในเพื่อเพิ่มเสริมความมั่นคงของระบบไฟฟ้า หลักที่ใช้ในขบวนการผลิตเพื่อผลผลิตทางอุตสาหกรรมจากความต้องการเครื่องก าเนิดไฟฟ้าหลายประเภทสนอง ความต้องการของการใช้งานแต่ละประเภทที่แตกต่างกันดังนั้นการเลือกใช้ ให้ถูกต้องจึงถือว่ามีความส าคัญมากทั้ง ในด้านวิศวกรรมเศรษฐศาสตร์ และสิ่งแวดล้อม การเลือกชนิดตามก าลังของเครื่องก าเนิดไฟฟ้า เมื่อทราบถึงวัตถุประสงค์ที่แท้จริงในการใช้ของเครื่องก าเนิดไฟฟ้าแล้วสิ่งต่อไปที่จะต้องทราบและท า ความเข้าใจให้ชัดเจน คือชนิดของเครื่องก าเนิดไฟฟ้าที่มีให้เลือกในปัจจุบันตามประเภทก าลังเพื่อความเหมาะสมกับความต้องการเครื่อง ก าเนิดไฟฟ้ามีประเภทดังนี้ 1. เครื่องก าเนิดไฟฟ้าก าลังส ารอง (Standby Generator Type) 2. เครื่องก าเนิดไฟฟ้าก าลังส ารองต่อเนื่อง (Continuous Generator Type) 3. เครื่องก าเนิดไฟฟ้าก าลังหลัก (Base Generator Type) เครื่องก าเนิดไฟฟ้าส ารอง (Standby Generator Type) หมายถึงเครื่องก าเนิดไฟฟ้าที่ใช้เป็นก าลังส ารองเมื่อไฟฟ้าหลักขาดหายไปเป็นเวลาไม่นานนักเรียกได้ว่ามี ไว้ส าหรับใช้เมื่อมีความจ าเป็นหรือกรณีฉุกเฉินดังนั้นความส าคัญของเครื่องก าเนิดไฟฟ้าจึงอยู่ที่ความพร้อมใช้งาน เป็นหลักและจะต้องสามารถจ่ายก าลังไฟฟ้าได้อย่างเพียงพอตามที่ออกแบบไว้ด้วยเครื่องประเภทนี้มักใช้ส าหรับ อาคารสูงเพื่อใช้ส าหรับไฟฟ้าส่วนกลางโรงงานอุตสาหกรรมที่ต้องการผลผลิตอย่างต่อเนื่องเครื่องก าเนิดไฟฟ้า 1
ชนิดนี้จะต้องตอบสนองความต้องการอย่างรวดเร็วและเที่ยงตรงแม่นย าข้อมูลด้านเทคนิคเครื่องประเภทนี้จะมีการ ค านวณเพื่อออกแบบผลิตเครื่องก าเนิดไฟฟ้า ชนิดใช้งานเต็มก าลังของเครื่องยนต์เพื่อใช้ขับเคลื่อนชุดก าเนิดไฟฟ้า ดังนั้นเครื่องประเภทนี้ จะไม่สามารถจ่ายเกินก าลังได้ช่น 10% (Overload 10%) ผู้ออกแบบควรระมัดระวังเงื่อนไข เหล่านี้ชั่วโมงการท างานจะต้องไม่เกินพิกัดของผู้ผลิตเครื่องยนต์ก าหนดไว้เช่นบางผู้ผลิตก าหนดไว้ไม่ เกิน 150 หรือ 200 ชั่วโมงต่อปีการใช้ไม่เกินจึงจะถือว่าอยู่ในเงื่อนไขของเครื่องก าเนิดไฟฟ้าส ารองการเดินเครื่อง แต่ละครั้งจะต้องอยู่ในข้อก าหนดของผู้ผลิตด้วยเช่นในรอบเดินเครื่อง 12 ชั่วโมงต้องหยุด 1 ชั่วโมงหากการใช้ งานเกินช้อก าหนดแสดงว่าเราเลือกประเภทของเครื่องก าเนิดไฟฟ้านั้นไม่เหมาะสมกับประเภทการใช้งาน ผู้ออกแบบหรือผู้เลือกจ าเป็นที่จะต้องทราบข้อมูลเบื้องต้นเหล่านี้เพื่อใช้ในการประกอบการพิจารณาของการ เลือกใช้เครื่องก าเนิดไฟฟ้าชนิดนี้จะต้องประกอบด้วยตัวตรวจจับไฟฟ้าหลัก (AMF) และชุดสลับจ่ายกระแสไฟฟ้า (ATS) เครื่องก าเนิดไฟฟ้าส ารองต่อเนื่อง (Continuous Generator Type) หมายถึงเครื่องก าเนิดไฟฟ้าที่ใช้เป็นก าลังส ารองแต่สามารถใช้ได้อย่างต่อเนื่องเมื่อไฟฟ้าหลักขาดหายไป การเลือกเครื่องก าเนิดไฟฟ้าชนิดนี้จะต้องเข้าใจว่าเราเลือกเครื่องเพื่อส ารองแต่ขณะเดียวกันเราต้องเลือกเครื่องที่มี ขีดความสามารถสูงขึ้นต้องมีเหตุผลประกอบเช่นเคยมีไฟฟ้าหลักดับหรือขาดหายเป็นเวลานานกว่า 12 ชั่วโมง หรือภาระของเครื่องก าเนิดไฟฟ้าประกอบด้วยโหลดที่มีขนาดกระแสเริ่มต้นสูงดังนั้นการเลือกเครื่องก าเนิดไฟฟ้า ประเภทแรกจึงไม่เหมาะสมด้วยประการทั้งปวงจึงควรเลือกประเภทที่ 2 เครื่องก าเนิดไฟฟ้าประเภทนี้สามารถแก้ ข้อจ ากัดของเครื่องประเภทแรกได้แต่ราคาจะสูงกว่าประเภทแรกเนื่องจากการออกแบบจะต้องเลือกเครื่องยนต์ที่ เป็นชุดขับเคลื่อนต้องมีขนาดก าลังหรือแรงม้าที่มากพอรับภาระได้ 10% มาตรฐาน IEC และมาตรฐานอื่นๆที่ เกี่ยวข้องเนื่องจากการท างานของเครื่องก าเนิดประเภทนี้เป็นลักษณะกึ่งการใช้งานหนัก (Heavy duty) จะต้องพิจารณาตัวประกอบอื่นอีกเช่นความคงทนของฉนวนและอุณหภูมิการใช้งานของชุดก าเนิด ไฟฟ้า เครื่องก าเนิดไฟฟ้าก าลังหลัก (Base load Generator) เครื่องก าเนิดไฟฟ้าประเภทนี้เป็นเครื่องที่ใช้เป็นก าลังไฟฟ้าหลักสามารถใช้อย่างต่อเนื่องโดยไม่จ ากัด ชั่วโมงในการท างานพิกัดก าลังของเครื่องจะต้องรับภาระเป็น 70% ของเครื่องชนิด Standby และ 60% ของ เครื่อง Continuous Type ดังนั้นหากมีความจ าเป็นจะต้องเลือกเครื่องประเภทนี้แล้วจะต้องแจ้งให้ผู้ออกแบบทราบ ล่วงหน้าเพื่อจะได้น าข้อมูลไปประกอบการออกแบบให้ถูกต้องเครื่องประเภทนี้มักจะใช้ในเกาะหรือสถานที่ไฟฟ้า ชั่วคราวเครื่องชนิดนี้ถึงแม้จะไม่จ ากัดชั่วโมงการท างานก็ตามหากถึงก าหนดเวลาการท าการบ ารุงรักษาเครื่อง ก าเนิดไฟฟ้าก็จ าเป็นต้องหยุดเพื่อท าการบ ารุงรักษาดังนั้นการเลือกจะต้องค านึงถึงข้อส าคัญนี้ด้วยซึ่งอาจจะต้อง เลือกซื้อถึง 2 เครื่องเพื่อใช้ในเวลาที่ต้องหยุดเพื่อการจ่ายก าลังไฟฟ้าอย่างต่อเนื่องหมายเหตุโดยทั่วไปการเลือก เครื่องลักษณะนี้จะเลือกเครื่องประเภทรอบต ่าแต่ราคาจะสูงตามไปด้วยเป็นการเลือกเครื่องก าเนิดไฟฟ้าตามชนิด และประเภทของการใช้งาน 2
การเลือกตามประเภทของเครื่องก าเนิดไฟฟ้า นอกจากการเลือกเครื่องก าเนิดไฟฟ้าตามก าลังตามที่ได้กล่าวมาแล้วเครื่องก าเนิดไฟฟ้ายังมีการออกแบบให้ เหมาะสมกับ สถานที่และสิ่งแวดล้อมประเภทของเครื่องก าเนิดไฟฟ้าได้มีการพัฒนาออกแบบเพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งานใน แต่ละพื้นที่ใช้งาน ดังนี้ - เครื่องก าเนิดไฟฟ้าชนิดเปลือยอยู่กับที่ (Bare Generator Type) - เครื่องก าเนิดไฟฟ้าชนิดเก็บเสียง (Sound Proof Type) - เครื่องก าเนิดไฟฟ้าชนิดเคลื่อนที่ หรือเอนกประสงค์ (Mobile Generator) เครื่องก าเนิดไฟฟ้าชนิดเปลือยอยู่กับที่ (Bare Generator Type) เป็นชนิดที่ส่วนใหญ่นิยมใช้กันเนื่องจากเป็นเครื่องประเภทพื้นฐานมีเครื่องก าเนิดไฟฟ้าเป็นชนิดเปลือย และมีชุดควบคุมติดอยู่กับชุดเครื่องก าเนิดไฟฟ้าเนื่องจากเครื่องมีขนาดใหญ่และนักหนักมากดังนั้นไม่นิยม เคลื่อนย้ายกันหากเมื่อน ามาติดตั้งแล้วมีเสียงดังก็จะท าห้องเก็บเสียงอีกชั้นหนึ่งการเลือกเครื่องประเภทนี้มักจะมี ห้องเป็นสัดส่วนและมีการออกแบบไว้ตั้งแต่ต้นแล้วการติดตั้งเครื่องจะเป็นไปตามการเลือกขนาดก าลังซึ่งเป็นไป ตามการเลือกเครื่องก าเนิดไฟฟ้าประเภทแรก เครื่องก าเนิดไฟฟ้าชนิด ตู้ครอบเก็บเสียง (Canopied and Sound Proof) เป็นชนิดที่ต้องการย้ายพื้นที่การใช้งานบ่อยๆหรือต้องการเก็บเสียงหรือในพื้นที่ที่ไม่มีห้องส าหรับเครื่อง ก าเนิดไฟฟ้าชนิดนี้ ส่วนประกอบที่ส าคัญทั้งหมดจะถูกออกแบบมาให้อยู่ในตู้ครอบทั้งหมดเช่นถังน ้ามันเชื้อเพลิงชุดควบคุมสตาร์ท โดยอัตโนมัติ (AMF) ชุดโอนย้ายกระแสไฟฟ้า (ATS) เครื่องก าเนิดไฟฟ้าชนิดเคลื่อนย้าย (Mobile Gen and Trailer) ในการใช้งานเครื่องก าเนิดไฟฟ้าบางทีต้องการใช้ในสถานที่ชั่วคราวเช่นงานพิธีการต่างๆ งานกู้ภัยงาน เฉพาะการเครื่อง ก าเนิดไฟฟ้าชนิดเคลื่อนที่ได้จะเหมาะสมกว่า เพราะใช้งานเท่าที่จ าเป็นเท่านั้นจากนั้นก็สามารถน าไปใช้งานใน สถานที่อื่น ๆได้อีกด้วยเครื่องชนิดนี้มีทั้งชนิดลากจูง (Trailer) และแบบบรรทุกบนรถยนต์สามารถพร้อมเคลื่อนที่ และใช้งานได้เลย (Mobile generator) จากข้างต้นมีข้อสรุป 2 ประเด็นคือผู้เลือกเครื่องก าเนิดไฟฟ้าจะต้องทราบ ประเภทก าลังไฟฟ้าของการใช้งานของตนเองและประการที่สองต้องรู้จักรูปแบบหรือชนิดของเครื่องก าเนิด ไฟฟ้าจึงจะสามารถเลือกได้อย่างชาญฉลาดและเหมาะสมแต่ก็ยังไม่พอเพื่อให้การเลือกเครื่องก าเนิดไฟฟ้าเป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพของการใช้งานควรจะต้องทราบเงื่อนไขดังต่อไปนี้คือการเลือกขนาดก าลังให้เหมาะสมกับ ภาระ (Load) ที่ตอ้งการ (โดยปกติจะเป็นหน้าที่ของที่ปรึกษา หรือวิศวกรระบบไฟฟ้า) 3
ภาระ (Load) ทางไฟฟ้า ภาระที่จะต้องถูกต่ออยู่กับเครื่องก าเนิดไฟฟ้าขึ้นอยู่กับประเภทของก าลังเครื่องก าเนิดไฟฟ้าที่เราเลือกใช้เช่น เลือกใช้ ประเภทส ารอง (Standby) จะต้องมีการคัดสรรเลือกเฉพาะภาระที่จ าเป็นเท่านั้นหรือเรียกอีกอย่างว่าภาวะ ฉุกเฉิน (Emergency Load) ภาระที่เหลือเป็นภาระที่สามารยอมให้ไม่มีไฟฟ้าไดในกรณีเดียวกันการเลือกประเภท Continuous Rate หรือ Prime Rate แต่ใช้ในหน้าที่ไฟฟ้าส ารองแต่จะแตกต่างกันเมือเลือกเป็นประเภทก าลังไฟฟ้า หลัก (Base Load Rate) เพราะภาระมีระดับเดียวคือต้องจ่ายไฟฟ้าตลอดเวลาทั้งสองประเภทจะมีหลักการคิด ค านวณเหมือนกัน คือ 1. เลือกขนาดภาระโดยอ่านจากแผ่นป้ายของเครื่องจักรกลไฟฟ้า หรือเครื่องใช้ไฟฟ้านั้น ๆโดยมีหน่วยเป็น วัตต์ (w), กิโลวัตต์ (kW) หรือกระแส (A) 2. อีกประการที่ส าคัญคือ Pf. (ตัวประกอบก าลังทางไฟฟ้า) เป็นมุมทางไฟฟ้า (COS ¢) 3. แรงดันไฟฟ้าที่ใช้งาน มีหน่วยเป็นโวลท์ (V.) ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเทคโนโลยีเครื่องสูบน ้า ในบรรดา เครื่องสูบน ้า ที่หลากหลายนั้นเครื่องสูบหอยโข่ง ( volute pump) ถือเป็นเครื่องสูบน ้าที่ได้รับการพัฒนา ก้าวหน้ามากที่สุดเพราะว่าสามารถสูบน ้าได้ในอัตราที่สูง และมีการใช้งานได้หลากหลายรูปแบบ ชนิดของปั๊ม 1 ปั๊มน ้าอัตโนมัติ เหมาะส าหรับอาคาร ตึกแถวทาวน์เฮ้าส์ บ้านเดี่ยวเป็นระบบสวิตซ์เปิด-ปิดอัตโนมัติ ประหยัดไฟก าลังส่งไปยังจุดต่างๆภายในบ้านได้ดี สามารถต่อกับเครื่องท าน ้าอุ่นเครื่องซักผ้า หรือก๊อกน ้าได้ 2 ปั๊มน ้าหอยโข่ง เหมาะกับงานเกษตรงานสูบน ้าขึ้นตึกสูง งานสูบจากแท็งค์หรือบ่อ งานหัวจ่ายน ้า sprinkle สามารถสูบน ้าได้ในปริมาณที่มากหรือแรงส่งสูงๆ 3 ไดโว่ ใช้กับงานสูบน ้าออก เช่น งานน ้าท่วม บ่อน ้าพุ มีก าลังส่งต ่าแต่สูบน ้าได้ปริมาณมากๆ ลักษณะของเครื่องสูบน ้า 4
การแบ่งลักษณะของปั๊มใบพัดหมุน (Turbo Pump)ปั๊มน ้าใบพัดหมุนอาจแบ่งแยกง่ายๆ ตามลักษณะใบพัดได้ 3 ชนิดดังนี้ ปั๊มหอยโข่งแรงเหวี่ยงหนีศูนย์ (Centrifugal Pump) เฮดน ้าเกิดจากแรงเหวี่ยงหนีศูนย์จากการหมุนของ ใบพัด ใช้กันอย่างแพร่หลายสามารถใช้เฮดน ้าสูง ปั๊มน ้าการไหลแบบผสม (Mixed Flow Pump) ปั๊มชนิดนี้เฮดน ้าเกิดจากแรงเหวี่ยงหนีศูนย์ของใบพัดส่วน หนึ่งและเกิดจากแรงดึงน ้าของใบพัด (Impeller Lift) อีกส่วนหนึ่ง ปั๊มน ้าการไหลตามแนวแกน (Axial Flow Pump) เฮดน ้าจากปั๊มประเภทนี้เกิดจากแรงที่ใบพัดกระท าต่อ ของเหลวตามแนวแกนปั๊มชนิดนี้ใช้กันแพร่หลาย เมื่อต้องการปริมาณการไหลมาก และเฮดต ่า หลักการท างานของเครื่องสูบน ้าชนิดหอยโข่ง เครื่องสูบน ้าชนิดโวลูท ดูดน ้าและส่งน ้าได้อย่างไร ? ในสมัยที่เราเป็นเด็กเราคงเคยทดลองเล่น โดยให้น ้าหยดบนร่มที่ก าลังหมุนใช่ไหม? น ้าหยดเล็กๆจะถูก เหวี่ยงให้กระจายออกจากร่มที่ก าลังหมุนอยู่นั้นในท านองเดียวกันถ้าเราขว้างตุ้มฆ้อนเราต้องหมุนตัวเราให้เร็วที่สุด ก่อนเพื่อที่จะขว้างตุ้มค้อนให้ได้ไกลที่สุดเท่าที่จะไกลได้ขอให้เรามาท าการทดลองดูสักอย่างโดยอาศัยเครื่องมือ ง่ายๆที่ปรากฏในรูปข้างซ้ายมือนี้ เมื่อใบพัด (impeller) ที่ก้นของอุปกรณ์หมุนน ้าจะหมุนตามไปด้วยการหมุนท า ให้ผิวน ้ายุบตัวต ่าที่สุดตรงส่วนกลางและระดับน ้าสูงสุดตามบริเวณขอบของอุปกรณ์เหตุผลก็คือว่าน ้าเคลื่อนที่ออก จากศูนย์กลางของการหมุนภายใต้การกระท าของแรงหนีศูนย์กลางที่เกิดจากการหมุนนั้นความดันภายในของน ้าจะ ลดที่บริเวณศูนย์กลางแต่จะเพิ่มมากขึ้นที่บริเวณขอบโดยหลักการแล้วเครื่องสูบน ้าชนิดโวลูทก็เหมือนกับอุปกรณ์ ทดลองที่แสดงมาแล้วข้างบนนี้คือเมื่อใบพัดในเครื่องสูบหมุน ความดันของน ้าจะเพิ่มมากขึ้นเพราะแรงหนี ศูนย์กลางน ้าจะถูกเหวี่ยงออกจากบริเวณศูนย์กลางการหมุนอย่างต่อเนื่อง ลักษณะของเครื่องสูบน ้าชนิดหอยโข่ง โดยปกติเราจะใช้ตัวแปร 4 ตัวแปรเป็นเครื่องบอกลักษณะการท างานของเครื่องสูบน ้าแต่ละขนาดลักษณะ การท างานของเครื่องสูบน ้าแต่ละขนาดโดยใช้ตัวแปร 4 ตัวเป็นตัววัดเรียกว่าพฤติลักษณะ (characteristic) ของ เครื่องสูบ ตัวแปรเหล่านี้ได้แก่อัตราการสูบ ,เฮดหรือความสูงของน ้าที่สามารถส่งขึ้นไปได้ ,ก าลังที่เพลา และ ประสิทธิภาพ 1.อัตราการสูบ (Flow Rate) หมายถึงปริมาณหรือจ านวนของน ้าที่เครื่องสูบแต่ละเครื่องสูบได้ต่อหน่วยของ เวลาโดยมากจะใช้หน่วยของอัตรสูบ ม3 /นาที หรือ ลิตร/นาทีอย่างไรก็ตามขนาดของเครื่องสูบนิยมเรียก ตามขนาดของท่อดูดดังนั้นมาตรฐานอุตสาหกรรมญี่ปุ่น (JIS) จึงได้จัดท าตารางเครื่องสูบที่แสดง ความสัมพันธ์ระหว่างขนาดท่อดูดที่เหมาะสมที่อัตราการสูบหนึ่งๆดังแสดงในตารางด้านซ้ายมือ 2.เฮด (Head) คือแรงดัน หรือความสูงที่เครื่องสูบน ้าท าได้ถือเป็นธรรมเนียมว่าให้ใช้ หน่วยความสูงของน ้า ที่เป็นค่าเฮด และใช้หน่วยเป็นเมตร (ม.) พฤติลักษณะของเครื่องสูบแบบโวลูทก็คือ อัตราการไหลจะ เป็นปฎิภาคกลับกับเฮดหรืออีกนัยหนึ่งก็คือว่าถ้าอัตราการไหลสูงเฮดจะต ่า และถ้าอัตราการไหลต ่าเฮดจะ 5
สูงเราสามารถสร้างชาร์ตแสดงความสัมพันธ์ของอัตราการไหลกับเฮดได้โดยให้เฮดอยู่ในแนวแกนตั้งสูงเราสามารถสร้างชาร์ตแสดงความสัมพันธ์ของอัตราการไหลกับเฮดได้โดยให้เฮดอยู่ในแนวแกนตั้ง และอัตราการไหลในแนวแกนนอน อัตรการไหลที่เฮดต่างๆ เมื่อก าหนดแต่ละค่าและเชื่อมต่อจุด (พลอต) เหล่านี้ด้วยกันก็จะได้เส้นโค้งที่ลดต ่าลงจากซ้ายไปขวาดังรูปที่แสดงทางซ้ายมือ 3.ก าลังเพลา (Shaft power) ก าลังของเครื่องดันก าลังเป็นสิ่งจ าเป็นส าหรับการขับเพลาของเครื่องสูบน ้าให้ หมุนตามรอบที่ก าหนดก าลังเครื่องฉุดถ่ายทอดผ่านเพลาไปสู่เพลาของเครื่องสูบน ้า เรียกว่า ก าลังเพลาถ้า เราจะสร้างชาร์ตแสดงให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างก าลังเพลากับอัตราการไหลเราก็สามารถท าได้ เช่นเดียวกับชาร์ตแสดงความสัมพันธ์ของเฮดกับอัตราการไหลโดยให้แกนนอนเป็นอัตราการไหล เหมือนเดิม แต่ให้แกนตั้งเป็นก าลังเพลาแทนในกรณีเช่นนี้กราฟจะโค้งตกจากขวาไปซ้ายก าลังของเครื่อง สูบจะต้องมีมากพอที่จะชดเชยก าลังที่สูญเสียไปในเพลาโดยปกติแล้วจะใช้มอเตอร์ไฟฟ้าเป็นเครื่องดัน ก าลัง ในกรณีอย่างนี้จะคิดเป็นกิโลวัตต์ (kW) แต่ถ้าเป็นเครื่องสูบเป็นเครื่องยนต์ก าลังสูบคิดเป็นแรงม้า (PS) ประสิทธิภาพ (Efficiency) สัดส่วน (ratio) ของงานที่ได้จากเครื่องสูบ (หมายถึงก าลังที่ใช้ในการยกน ้าทาง ทฤษฏี)เมื่อเปรียบเทียบกับก าลังของเพลาที่ได้จากเครื่องฉุด เรียกว่าประสิทธิภาพค่านี้มักจะแสดงหน่วยเป็น เปอร์เซนต์ (%)เส้นโค้งแสดงพฤติลักษณะของเครื่องสูบน ้าเมื่อใช้แกนตั้งเป็นประสิทธิภาพและแกนนอนเป็น อัตราการไหล สิ่งที่ควรรู้ในการซื้อปั๊มน ้า 1. รู้ปริมาณน ้า 2. รู้จ านวนแรงม้า 3. รู้ขนาดท่อดูดท่อส่งของปั๊มว่ากี่นิ้ว 4. ไฟที่ใช้ว่ากี่เฟส 5. รู้ระยะทางการส่งน ้า การเลือกซื้อปั๊ม 1.รู้รายละเอียดการใช้น ้า เช่นถ้าจะติดตั้งสปริงเกลอร์ต้องรู้ปริมาณน ้าและแรงดันของสปริงเกลอร์ 2.เลือกปั๊มน ้าให้เหมาะสมกับการใช้งาน เช่น ปั๊มทะเล/เคมีส าหรับสูบน ้าทะเลหรือเคมี, ปั๊มหอยโข่ง ส าหรับงานเกษตร,งานสปริงเกลอร์,งานประปาหมู่บ้านหรืองานดับเพลิง , ปั๊มแช่ส าหรับงานดูดน ้าบาดาล, น ้าดีหรือน ้าเสีย 3.เลือกขนาดของปั๊มในการเลือกปั๊มต้องดูว่าปั๊มสามารถจ่ายปริมาณน ้าได้มากแค่ไหนเพียงพอกับการใช้ งานหรือไม่และที่แรงดันน ้าที่ต้องการ เช่น - ปริมาณน ้า 280 ลิตร/นาที หรือ 30 m3 / h (ลูกบาศก์เมตร / ชั่วโมง) -แรงดัน5บาร์(10 m=1bar ) ระยะทางส่ง50เมตรเท่ากับ 5บาร์ - ขนาดมอเตอร์ 220 V.หรือ380 V (Volt แรงดันไฟฟ้าที่จ่ายเข้ามอเตอร์) 6
-50 Hz. (Hertz ความถี่ไฟฟ้าที่มอเตอร์ใช้) - 400 W. (Wat ก าลังไฟฟ้าที่มอเตอร์ใช้) - 1.6 A. ( Amp กระแสไฟฟ้าที่มอเตอร์ใช้) การเลือกซื้อเครื่องปั๊มน ้า การเลือกเครื่องปั๊มน ้าสามารถแบ่งออกได้ 2 ส่วนคือบ้านพักอาศัย อาคารขนาดใหญ่และโรงงาน ดังรายละเอียดต่อไปนี้ การเลือกเครื่องปั๊มน ้าส าหรับบ้านพักอาศัย เครื่องปั๊มน ้าส าหรับบ้านพักอาศัยส่วนใหญ่จะเป็นชนิดส าเร็จรูปประกอบด้วยตัวปั๊มและถังความดัน ซึ่งจะมีอยู่หลายรูปแบบ เช่นแบบที่เป็นตัวปั๊มเกาะอยู่บนถังความดันและมีฝาครอบที่เรียกว่า“ปั๊มกระป๋อง ”ตัวปั๊มจะควบคุมการท างานด้วนสวิตซ์ความดัน ( Pressure Switch)ซึ่งจะท างานอัตโนมัติเมื่อมีการเปิดใช้ ในบ้านความดันในท่อจะลดลงจนถึงค่าที่ตั้งไว้ปั๊มก็จะท างานจ่ายน ้า เข้าเส้นท่อเมื่อหยุดหรือปิดอุปกรณ์ความดันจะเพิ่มสูงขึ้นจนถึงค่าที่ตั้งไว้ปั๊มก็จะหยุด เครื่องปั๊มน ้าแบบนี้มักมีขนาดเล็ก จนถึงขนาดกลางถ้าเป็นบ้านหรืออาคารขนาดใหญ่ต้องใช้ชุดเครื่องปั๊มน ้าแบบ Packaged Booster Pump Set ซึ่งจะจ่ายน ้าได้ในปริมาณสูงและเลือกความดันหลายระดับ การเลือกเครื่องปั๊มน ้าส าหรับอาคารขนาดใหญ่และโรงงานอุตสาหกรรม เครื่องปั๊มน ้าส าหรับอาคารขนาดใหญ่และโรงงานอุตสาหกรรมนั้นจ าเป็นต้องพิจารณาให้ละเอียดมากขึ้นเนื่อง จากมีขนาดใหญ่และมีเรื่องราคาและค่าการบ ารุงรักษาเข้ามาเกี่ยวข้องข้อมูลที่จ าเป็นที่ต้องทราบก่อนที่จะท าการเลือ กเครื่องปั๊มน ้าแรงเหวี่ยง(Centrifugal) มีดังนี้ การใช้เครื่องปั๊มน ้าให้ประหยัดพลังงาน 1พยายามเลือกใช้เครื่องปั๊มน ้าขนาดเล็กจ านวนหลายตัวจะดีกว่าใช้ขนาดใหญ่แต่มีจ านวนน้อยทั้งนี้ เนื่องจากการสูบน ้าในขบวนการทั่วไปจะมีจุดการท างานที่แปรเปลี่ยนได้ในช่วงค่อนข้างกว้างเครื่องปั๊มน ้าจึงมัก ท างานที่ต ่ากว่าความสามารถที่ท าได้เต็มที่ของมันจึงมักท างานที่จุดที่ต ่ากว่าความสามารถที่ท าได้เต็มที่ของมันนั่น เป็นเหตุที่ท าให้ประสิทธิภาพต ่าไปด้วยซึ่งเราสามารถแก้ไขปัญหาโดยการใช้เครื่องปั๊มน ้าขนาดเล็กหลายตัวต่อ ขนานกันเพื่อรองรับอัตราการไหลที่ไม่คงที่ 7
2ไม่ควรเผื่อขนาดเครื่องปั๊มน ้าให้มีขนาดใหญ่จนเกินไปนักส่วนมากมีการเผื่อส าหรับอนาคตไกลๆจะท า ให้ประสิทธิภาพการท างานต ่าส าหรับโหลดในปัจจุบันน่าจะเปลี่ยนการเผื่อพื้นที่ติดตั้งเครื่องปั้มน ้าเพิ่มและติดตั้ง เครื่องปั๊มน ้าขนาดเล็กไปก่อนจะเหมาะสมกว่า 3ไม่ควรเลือกใช้ปั๊มโดยเผื่อขนาดใบพัดให้เล็กกว่าขนาดเต็มที่ของตัวเครื่องฉุดปั๊มน ้าเพราะจะท าให้งาน มีประสิทธิภาพต ่า 4 เลือกเครื่องปั๊มน ้าซึ่งมีจุดท างานอยู่ในช่วงประสิทธิภาพสูงสุดโดยใกล้เคียงกับจุดใช้งานให้มากที่สุด 5ควรค านวณความเสียดทานของระบบท่อโดยละเอียด ซึ่งจะได้ค่า TDH ที่ถูกต้อง 6เลือกใช้มอเตอร์ประสิทธิภาพสูงในปั๊มน ้าแทนการใช้มอเตอร์แบบมาตรฐานทั่วไป 7 การใช้ระบบปรับความเร็วรอบ (VSD.Control) ในปั๊มน ้าแทนการปิดวาล์วหรือแทนการ Bypass จะ สามารถประหยัดพลังงานไฟฟ้าได้มากกว่าเนื่องจากผลการประหยัดพลังงานในปั๊มจะแปรผันตรงกับความเร็ว รอบก าลังสาม 8 การติดตั้งระบบควบคุม PLCหรือเครื่องตั้งเวลาเพื่อควบคุมการท างานและหยุการใช้งานของปั๊มน ้าที่ไม่ จ าเป็นในช่วงเวลาค่าความต้องการสูงสุด (On Peak) 9 การติดตั้งระบบถังเก็บน ้าให้เพียงพอต่อความต้องการน ้าในช่วงเวลา On Peak เพื่อหลีกเลี่ยงการใช้งาน ของปั๊มน ้า 10 การจัดรายการซ่อมบ ารุงรักษาเครื่องปั๊มน ้าอย่างสม ่าเสมอเพราะการซ่อมบ ารุงจะสามารถรักษา ประสิทธิภาพของปั๊มน ้าให้สูงอยู่เสมอและยังเป็นการยืดอายุการใช้งานของปั๊มน ้าให้ยาวนานขึ้น ขนาดของปั๊มน ้า โดยทั่วไปจะระบุขนาดของปั๊มน ้าด้วยก าลังหรือขนาดของมอเตอร์ที่ใช้หมุนปั๊มเช่น ปั๊มน ้าขนาด 200 วัตต์ , ปั๊มน ้าขนาด 400 วัตต์ซึ่งใช้เลือกปั๊มได้เพียงคร่าวๆเท่านั้นเพราะการเลือกใช้ปั๊มต้องดูว่าปั๊มสามารถจ่ายปริมาณ น ้าได้มากแค่ไหนเพียงพอกับการใช้งานหรือไม่และที่แรงดันน ้าที่ต้องการหรือไม่ ปริมาณการจ่ายน ้าแสดงเป็นปริมาณในหน่วยปริมาตรน ้าต่อเวลาหมายถึงปั๊มสามารถจ่ายน ้าได้มากเท่าไหร่ ในช่วงเวลาหนึ่ง เช่น 150 ลิตร/นาที (l/min) หมายถึง ปั๊มน ้าสามารถจ่ายน ้าได้ปริมาณ 150 ลิตรในเวลา 1 นาที แรงดันน ้า แสดงเป็นความสูงของน ้า (เมตร) (ที่จริงหน่วยของแรงดันน ้าเป็น ขนาดของแรงต่อหนึ่งหน่วย พื้นที่ซึ่งปรับเทียบให้เป็นความสูงของน ้าเพื่อให้ง่ายในการใช้งาน ความสูงน ้า 10 เมตรประมาณแรงดัน = 1 bar หรือ ประมาณ 1 kg/cm2) ปั๊มท างานจ่ายน ้าได้ที่ความสูงปลายท่อสูงเท่าไหร่ เช่น 10 เมตร (m) หมายถึงปั๊มจ่ายน ้า ได้เมื่อความสูงปลายท่อสูง 10 เมตร ป้ายรายละเอียดข้างปั๊ม(Name Plate) ที่ด้านข้างของปั๊มส่วนใหญ่จะแสดงรายละเอียดต่างๆของปั๊มไว้คร่าวๆ - ขนาดมอเตอร์ เช่น 220 V. (Volt แรงดันไฟฟ้าที่จ่ายเข้ามอเตอร์) 50 Hz. (Hertz ความถี่ไฟฟ้าที่มอเตอร์ใช้ 50 เฮิร์ท) 200 W. (Watt ก าลังไฟฟ้าที่มอเตอร์ใช้ 200 วัตต์) 8
1.2 A. ( Amp กระแสไฟฟ้า ที่มอเตอร์ใช้ 1.2 แอมป์) รายละเอียดของมอเตอร์นี้ไม่ได้ให้ข้อมูลโดยตรงเกี่ยวกับความสามารถในการจ่ายน ้าของปั๊มน ้าแต่ก็ ประมาณคร่าวๆได้ ซึ่งอาจไม่เหมาะสมกับการใช้งาน - ความสามารถของปั๊ม เช่น Q 0.6 - 2.4 m3 / h หมายถึงอัตราการจ่ายน ้าของปั๊ม ซึ่งสามารถจ่ายน ้าได้ปริมาณ 0.6 ถึง 2.4 ลูกบาศก์ เมตร (m3) ในเวลา 1 ชั่วโมง (h) ซึ่งอัตราการจ่ายน ้านี้จะสัมพันธ์กับความสูงของปลายท่อหรือก๊อกที่ปล่อยน ้าออก H 1 - 8 m หมายถึงปั๊มสามารถสร้างแรงดันน ้าเทียบเป็นความสูงของน ้าที่ปั๊มสามารถจ่ายน ้าได้ซึ่ง สามารถจ่ายน ้าได้ที่ความสูงของปลายท่อสูง 1 ถึง 8 เมตร (m) อัตราการไหลของน ้าและแรงดันน ้ามีความสัมพันธ์กันโดยที่แรงดันสูงจะจ่ายน ้าได้ปริมาณน้อยที่แรงดัน ต ่าจจ่ายน ้าได้ปริมาณมาก ดังตัวอย่างปั๊มข้างบน ถ้าเปิดก๊อกจ่ายน ้าออกที่ความสูง 1 เมตร จะจ่ายน ้าได้ในอัตรา 24 ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง และถ้าเปิด ก๊อกจ่ายน ้าที่ความสูง 8 เมตรจะจ่ายน ้าได้ในอัตรา 0.6 ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมงดังนั้นที่ก๊อกน ้าชั้นบนน ้าจะไหล เบากว่าชั้นล่าง ปั๊มราคาถูกบางยี่ห้อบอกรายละเอียดความสามารถของปั๊มไม่ครบถ้วน ท าให้เกิดความเข้าใจผิดคือบอก เฉพาะค่าสูงสุดที่ปั๊มท างานได้ เช่น Q MAX 3 m3 / h h MAX 12 m แหมเห็นรายละเอียดแบบนี้พาให้เข้าใจว่าปั๊มนี้สามารถจ่ายน ้าได้ในอัตราการไหล 3 ลูกบาศก์เมตรต่อ ชั่วโมง ที่ความสูง(แรงดัน) 12 เมตร อย่างนี้บ้านสี่ชั้นสูง 10 เมตร ก็ใช้ได้สบายสิ... เข้าใจผิดนะ (ไม่รู้ว่าคนท าปั๊ม ตั้งใจให้เข้าใจผิดหรือเปล่า) ที่จริงเป็นว่าปั๊มนี้สามารถจ่ายน ้าได้อัตราการไหลสูงสุด 3 ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมงซึ่งโดยทั่วไปจะเกิด ที่ความสูงปลายท่อต ่ามากหรือที่หน้าปั๊มแค่นั้นเองและสามารถส่งน ้าได้สูงสุด 12 เมตรโดยทั่วไปที่แรงดันสูงสุด อัตราการไหลต ่ามากแทบจะไม่ไหล พอเราเอาปั๊มนี้ไปติดตั้งพอเปิดก๊อกที่ชั้นสี่ สูง 10 เมตรน ้าก็ไหลจิ๊ดนึงพอให้รู้ ว่ามีน ้าไหลแต่ไม่พอใช้งาน.... - กราฟของปั๊ม ปั๊มยี่ห้อดีๆส่วนใหญ่แสดงความสามารถในการท างานของปั๊มด้วยกราฟ โดยแกนตั้งเป็นแรงดัน น ้าแกนนอนเป็นอัตราการจ่ายน ้า หรือกลับกันก็ได้ และมีเส้นโค้งบนกราฟแสดงว่าที่ต าแหน่งความสูงต่างๆนั้น ปั๊มจะสามารถจ่ายน ้าได้ในอัตราการไหลเท่าไหร่ซึ่งจะเลือกได้ละเอียด เหมาะสมมากขึ้นถ้าเป็นปั๊มน ้าส าหรับ อุตสาหกรรมจะมีเส้นประสิทธิภาพอยู่ในกราฟด้วยเพี่อจะเลือกใช้งานปั๊มในช่วงที่ประสิทธิภาพสูงสุด การเลือกใช้ปั๊มนั้นควรเลือกใช้ในช่วงกลางๆของความสามารถของปั๊มไม่ควรเลือกใช้ที่ความสามารถ สูงสุดที่ปั๊มท าได้ซึ่งจะให้ประสิทธิภาพดีกว่าช่วงปลายและถ้าคนท าปั๊มให้ข้อมูลเกินจริง ปั๊มก็ยังรองรับความ ต้องการของเราได้อยู่ 9
- หน่วยของค่าตัวเลขต่างๆ ที่ใช้ในปั๊มน ้า -- แรงดันโดยปกติหน่วยของแรงดันจะบอกเป็นขนาดของแรงที่กระท าต่อหนึ่งหน่วยของพื้นที่ เช่น แรงดันลมที่เราเติมยางรถยนต์แรงดัน 30 ปอนด์/ตารางนิ้ว (lbs/in2) หมายถึง แรงดันที่มีขนาดแรงกด 30 ปอนด์บนพื้นที่ขนาด 1 ตารางนิ้ว (หน่วยวัดแบบอังกฤษ) แรงดัน 2 กิโลกรัม/ตารางเซ็นติเมตร (kgs/cm2) หมายถึง แรงดันที่มีขนาดแรงกด 2 กิโลกรัมบนพื้นที่ 1 ตารางเซนติเมตร (หน่วยวัดแบบเมตริก) ที่หน่วยมีหลายแบบเนื่องจากในโลกมีมาตราของหน่วยต่างๆหลายมาตรฐานอย่างของไทยก็มีหน่วยวัด ความยาว และน ้าหนักของไทย แต่ไม่นิยมใช้ ในการบอกขนาดแรงดันของปั๊ม นิยมบอกขนาดแรงดันเป็นความสูงของน ้าโดยสามารถประมาณค่าได้ดัง ตารางข้างล่าง ความสูงน ้า แรงดันประมาณ 10 เมตร 1 kgs/cm2 14.7 lbs/in2 1 bar -- อัตราการไหล หรือปริมาณการจ่ายน ้าโดยปกติจะบอกเป็นหน่วยของปริมาตรต่อหนึ่งหน่วยเวลา เช่น อัตราการไหล 1 ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง (m3/h) หมายถึงน ้าไหลได้ปริมาตร 1 ลูกบาศก์เมตรในเวลา 1 ชั่วโมง อัตราการไหล 50 ลิตรต่อนาที (l/min) หมายถึงน ้าไหลได้ปริมาตร 50 ลิตรในเวลา 1 นาที การติดตั้งปั๊มน ้า เมื่อเลือกขนาดปั๊มน ้าที่ต้องการได้แล้วก็ต้องพิจารณาที่จะติดตั้งให้เหมาะสม เพื่อความสะดวก ปลอดภัย และทนทาน - ควรติดตั้งปั๊มในที่ร่ม กันแดด กันฝน อาจท าหลังคาหรือกล่องใหญ่ๆคลุม แบบบ้านหมาก็ได้ ต้องให้ อากาศถ่ายเทได้สะดวก และยกออกได้ตรวจซ่อมปั๊มได้ง่ายแม้ว่าปั๊มส่วนใหญ่จะออกแบบมาให้ติดตั้งภายนอก ได้แต่ปั๊มที่อยู่ในที่ร่มจะทนกว่ามาก และปลอดภัยกว่ามากด้วยโดยเฉพาะปั๊มที่มีกล่องควบคุมแบบอิเลคทรอนิค ติดที่ตัวปั๊ม - ควรติดตั้งปั๊มบนฐานรอง ให้ปั๊มสูงจากพื้นเล็กน้อย น ้าไม่ท่วมขัง ปั๊มจะทนมากขึ้นไม่เป็นสนิม และ ปลอดภัย ลดโอกาสไฟฟ้ารั่ว - ติดตั้งปั๊มห่างจากผนังอย่างน้อย 10 เซนติเมตร ประมาณ 1 ฝ่ามือเพื่อให้อากาศถ่ายเทได้สะดวก ปั๊มจะ ได้ไม่ร้อนมากขณะท างานช่วยให้ปั๊มทนขึ้นอีกแล้ว - ทั่วไปปั๊มจะมีใบพัดระบายความร้อนอยู่ด้านท้ายของปั๊มท าหน้าที่หมุนดูดอากาศผ่านด้านข้างตัวปั๊มเพื่อ 10
ระบายความร้อนควรติดตั้งในที่ที่อากาศถ่ายเทได้สะดวก ควรคอยตรวจดูอย่าให้มีใบไม้ เศษกระดาษถุงพลาสติก ติด ขวางทางระบายความร้อนของปั๊ม - การติดตั้งท่อน ้ากับตัวปั๊ม ควรติดตั้งให้ได้ระดับและได้แนวพอดีกับแนวเกลียวหรือข้อต่อของปั๊ม อย่า ให้งัด งอ หรือไม่ได้แนวซึ่งอาจท าให้ ท่อแตกร้าว หรือตัวปั๊มแตกร้าว หรือเกิดรอยรั่วได้ง่ายเนื่องจากขณะที่ปั๊มน ้า ท างานจะมีการสั่นเล็กน้อย ถ้าติดตั้งท่อไม่ดีอาจท าให้ส่วนที่งัดเสียหายได้ง่าย - การติดตั้งท่อควรระวังอย่าให้มีสิ่งสกปรก เศษวัสดุเศษท่อพี.วี.ซี.(ท่อพี.วี.ซี.ควรตัดด้วยกรรไกรตัดท่อพี. วี.ซี.ซึ่งให้รอยตัดที่เรียบ ไม่มีเศษพลาสติก)เศษเกลียวท่อ เทปพันเกลียว เข้าไปในท่อซึ่งอาจท าให้เกิดการติดขัด ใบพัดปั๊ม ติดขัดที่ลูกลอยหรือวาวล์ว ต่างๆในระบบน ้า - ท่อดูดและท่อจ่ายน ้าของปั๊มไม่ควรเล็กกว่าขนาดของจุดต่อท่อของปั๊มการใช้ท่อเล็กจะท าให้ ประสิทธิภาพของปั๊มไม่ดีไม่สามารถท างานได้ดีเท่าที่ระบุในสเปค - ไม่ควรต่อปั๊มดุดน ้าโดยตรงจากท่อประปาเนื่องจากจะท าให้ดูดสิ่งสกปรกในท่อประปาเข้ามาโดยตรวถ้า ท่อประปารั่วก็จะดูดน ้าสกปรกหรืออากาศเข้ามา และผิดระเบียบการใช้น ้าของการประปาควรต่อท่อประปาเข้าถัง เก็บน ้าแล้วใช้ปั๊มดูดน ้าจากถังเก็บจ่ายเข้าบ้าน - การต่อสายไฟฟ้าเข้ากับปั๊ม -- ควรเลือกขนาดสายที่สามารถรับกระแสไฟฟ้าที่ปั๊มใช้ได้เพียงพอถ้าใช้สายเล็กจะท าให้สายร้อนและ ละลายได้ -- ควรติดตั้งสายไฟที่จุดต่อสายไฟในตัวปั๊ม ไม่ควรใช้การเสียบปลั๊กหรือตัดปลายปลั๊กแล้วต่อสาย สายไฟไม่ควรมีจุดตัดต่อที่กลางสาย -- ควรมีชุดเบรกเกอร์ควบคุมปั๊มต่างหาก 1 ชุดเพื่อความปลอดภัยและความสะดวกในการซ่อม -- ถ้าต้องเดินสายไฟฟ้านอกอาคารไปยังปั๊ม ควรเดินสายไฟโดยการร้อยในท่อพี.วี.ซี.สีเหลือง ซึ่งใช้ ส าหรับเดินสายไฟนอกอาคาร -- ควรท างานติดตั้งด้วยความละเอียด เรียบร้อย โดยใช้ช่างที่มีความรู้โดยตรงหรือศึกษาข้อมูลก่อนท างาน ติดตั้ง การติดตั้งต่อท่อน ้าต่อไฟให้ปั๊มน ้าท างานนั้นไม่ใช่เรื่องยาก แต่การติดตั้งให้ดี ปลอดภัย เรียบร้อยต้องใช้ ความรู้และความช านาญพอสมควร -- การติดตั้ง - ซ่อมในส่วนที่เกี่ยวกับระบบไฟฟฟ้า ควรท าโดยช่างที่มีความรู้ ความช านาญโดยตรงและ ตัดไฟฟ้าก่อนท าการซ่อม-ติดตั้ง ระบบให้อากาศโดยใช้ ซุปเปอร์ชาร์จ แขนยาวโดยเฉพาะเกษตรกรรายย่อยแต่ฟาร์มขนาดกลางและขนาดใหญ่อาจจะใช้มอเตอร์ไฟฟ้าอย่างไรก็ตามการ เลี้ยงกุ้งในระบบปิดมีการเติมน ้าและถ่ายน ้าน้อยในช่วงเดือนสุดท้ายมักจะพบปัญหาออกซิเจนต ่าถึงจุดที่ผลต่อ การเจริญเติบโตหรือท าให้กุ้งมีสุขภาพอ่อนแอเริ่มป่วยการกินอาหารลดลงและจับกุ้งได้ต ่ากว่าเป้าหมายที่วาง ไว้การเพิ่มออกซิเจนโดยใช้เครื่องยนต์หรือมอเตอร์จ านวนมากเป็นการสิ้นเปลืองมากโดยเฉพาะในภาวะที่น ้ามัน การให้อากาศในบ่อเลี้ยงกุ้งกุลาด าในปัจจุบันนี้ส่วนใหญ่ใช้เครื่องให้อากาศแบบเครื่องยนต์ดัดแปลงเป็น 11
ราคาสูงมากท าให้ต้นทุนด้านพลังงานเพิ่มสูงขึ้นด้วยท าให้ต้นทุนการผลิตโดยรวมสูงขึ้นการใช้ซุปเปอร์ชาร์จเพิ่ม ออกซิเจนในบ่อเลี้ยงกุ้งจึงมีประโยชน์ในด้านการลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงานถ้ามีการใช้อย่างถูกวิธีและเหมาะสมแต่ ถ้าใช้อย่างไม่ถูกวิธีก็อาจจะเกิดปัญหาหรือไม่ได้ผลตามที่ต้องการ ซุปเปอร์ชาร์จคืออะไร หรือเชียงกงทั่วไป)ซึ่งซุปเปอร์ชาร์จเป็นเครื่องที่ดูดลม หรืออากาศผ่านตัวมันเองซุปเปอร์ชาร์จจะท างานได้โดย อาศัยเครื่องยนต์สูบเดียวหรือมอเตอร์ไฟฟ้าขนาด 3-5 แรงม้า ท าให้ ซุปเปอร์ชาร์จมีความเร็วรอบ 2,400-2,800 รอบ ต่อนาที ดังนั้นเครื่องยนต์หรือมอเตอร์ที่ใช้นั้นต้องมีขนาดของมูเล่ย์เป็นอัตราส่วนที่เหมาะสมกับมูเล่ย์ซุปเปอร์ ชาร์จเพื่อให้ซุปเปอร์ชาร์จมีความเร็วรอบถึงตามต้องการเช่น * * ซุปเปอร์ชาร์จมีมูเล่ย์ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 4 นิ้ว -5 นิ้วเมื่อใช้เครื่องยนต์ ถ้าต้องการใช้ความเร็ว รอบ 800 รอบ/นาทีเครื่องยนต์นั้นก็ควรมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางมูเล่ย์ 14 นิ้ว -15 นิ้วจึงจะดีและประหยัดน ้ามัน ซุปเปอร์ชาร์จเป็นอุปกรณ์ติดรถยนต์ โดยทั่วไปจะเรียกว่า เทอร์โบชาร์จ (หาได้จากร้านขายเครื่องยนต์เก่า * * หรือถ้าใช้มอเตอร์ซึ่งมีความเร็วรอบ 1,200 รอบเราต้องทดมูเล่ย์ของมอเตอร์เป็น 8 นิ้ว-10 นิ้วแต่ถ้าใช้ มอเตอร์ที่มีความเร็วรอบ 2,400 รอบ/นาทีซึ่งเท่ากับความเร็วของซุปเปอร์ชาร์จพอดี ก็ไม่ต้องเปลี่ยนมูเล่ย์เลย การใช้ซุปเปอร์ชาร์จในบ่อเลี้ยงกุ้งแตกต่างกันหลายรูปแบบคือ + ให้ออกซิเจนเสริมในบ่อกุ้งที่มีกุ้งอยู่หนาแน่นเฉพาะในตอนกลางคืนหรือช่วงออกซิเจนต ่า + ใช้ในช่วงเวลาที่ปิดเครื่องตีน ้าเป็นการพักเครื่องตีน ้า + ใช้ร่วมกันเกือบตลอดเวลาในระหว่างการเลี้ยงกุ้ง + ใช้เพื่อให้น ้าระดับบนและล่างคลุกเคล้ากันดีขึ้น จะเห็นได้ว่ามีการน ามาใช้ในหลายรูปแบบแตกต่างกันไปตามความต้องการแต่ควรจะเข้าใจด้วยว่า ออกซิเจนจะได้เพิ่มขึ้นมากหรือน้อยหลังจากการใช้ซุปเปอร์ชาร์จขึ้นอยู่กับขนาดของรูอากาศ ถ้าเจาะรูขนาด ใหญ่ ลมอาจจะแรงมากแต่การละลายออกซิเจนจะได้น้อยกว่ารูที่เจาะขนาดเล็กกว่าจ านวนรูที่เจาะถ้ามีรูเล็กๆ ในปริมาณมาก การละลายได้ออกซิเจนในน ้าจะมากกว่าการเจาะรูใหญ่กว่าแต่มีจ านวนน้อยมากระดับความลึก ของน ้า ถ้าบ่อตื้นมากเช่นระดับความลึกของน ้าเพียง 1.0-1.2 เมตรการละลายของออกซิเจนจากลมที่ผ่านออก มาจะได้น้อยกว่าบ่อที่ระดับความลึกมากกว่า ข้อควรระวังในการใช้ซุปเปอร์ชาร์จ + ต้องไม่ท าให้การรวมเลนในบ่อเสียหมายถึงการใช้ซุปเปอร์ชาร์จแล้วการรวมเลนในบ่อต้องเหมือนเดิมไม่ใช่ พอเสริมซุปเปอร์ชาร์จเข้าไปแล้วรวมเลนไม่ได้ เลนกระจายทั่วบ่อมีปัญหาช่วงท้าย ๆ + ต้องสามารถประหยัดพลังงานได้หมายถึงเมื่อมีการใช้ร่วมกับเครื่องให้อากาศและจัดเวลาการใช้ให้เหมาะสม สามารถลดค่าใช้จ่ายได้ 12
จากข้อมูลที่รวบรวมจากฟาร์มกุ้งหลายแห่งที่มีการใช้ซุปเปอรชาร์จพบว่ามีทั้งได้ผลดีขึ้นและ ไม่ได้ผลซึ่ง ส่วนใหญ่ที่มีปัญหาในระหว่างการใช้งานพอสรุปได้เพื่อเป็นแนวทางการแก้ไขดังนี้ + เครื่องร้อนมากท าให้ท่อพีวีซีที่ต่อออกมาจากซุปเปอร์ชาร์จละลาย พบได้ในฟาร์มที่ใช่ท่อขนาดเล็กเช่นขนาด 1 นิ้ว ตามคันบ่อและท่อพีอีขนาดเล็ก 9 มิลลิเมตร ต่อลงไปในบ่อแต่ฟาร์มที่ใช้ท่อขนาด 2 นิ้วหรือนิ้วครึ่งออกจาก เครื่องและวางตามความยาวคันบ่อส่วนที่ต่อแขนงแยกลงไปในบ่อใช้ท่อพีอีขนาด 16 มิลลิเมตรจะไม่พบปัญหา เครื่องร้อนมาก 13