1 / 10

นิรภัยภาคพื้น จร.ทอ.

นำเสนอนิรภัยภาคพื้น

Download Presentation

นิรภัยภาคพื้น จร.ทอ.

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สรุปผลการปฏิบัติงานนิรภัยภาคพื้น จร.ทอ. ประจำเดือนกรกฎาคม ๒๕๕๘ สำนักงานนิรภัยภาคพื้น จร.ทอ.

  2. สถิติอุบัติเหตุภาคพื้น ทอ. ก.ค.๕๘ สำนักงานนิรภัยภาคพื้น จร.ทอ.

  3. สถิติอุบัติเหตุภาคพื้น จร.ทอ. ก.ค. ๕๘ กรมจเรทหารอากาศ “ไม่มีอุบัติเหตุ” สำนักงานนิรภัยภาคพื้น จร.ทอ.

  4. นิรภัยสาธารณูปการ การป้องกันอุบัติภัยในอาคารสำนักงาน สาเหตุเกิดจากสภาพแวดล้อมที่ไม่ปลอดภัย ประกอบกับพฤติกรรมเสี่ยงทั้งจากความประมาทและความรู้เท่าไม่ถึงการณ์สามารถป้องกันได้ ดังนี้ ๑. สร้างสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัย โดยจัดให้มีแสงสว่างอย่างเพียงพอ ๒.ตรวจสอบความมั่นคงแข็งแรงของประตู หน้าต่าง ผนังอาคาร สำนักงานนิรภัยภาคพื้น จร.ทอ.

  5. นิรภัยสาธารณูปการ ๓. จัดเก็บสิ่งของให้เป็นระเบียบ ไม่วางสิ่งของกีดขวางทางเดิน บันได ระเบียง หรือหน้าต่าง เพื่อใช้เป็นเส้นทางสัญจรหรือทางหนีไฟ สำนักงานนิรภัยภาคพื้น จร.ทอ.

  6. นิรภัยสาธารณูปการ ๔. ตรวจสภาพอุปกรณ์แจ้งเตือนเพลิงไหม้ที่ติดตั้งประจำอาคารให้มีสภาพพร้อมใช้งานตามระยะเวลาที่กำหนด สำนักงานนิรภัยภาคพื้น จร.ทอ.

  7. นิรภัยการจราจร แจ้งเตือนการขับขี่ยานพาหนะขณะฝนตกและหลังฝนตก ๑. ชะลอความเร็วให้ช้าลงกว่าปกติ ๒. เว้นระยะห่างจากยานพาหนะคันหน้ามากกว่าปกติ ๓. หลีกเลี่ยงการห้ามล้ออย่างกะทันหัน๔. เมื่อทัศนวิสัยลดลง ให้เปิดไฟส่องสว่าง๕. ต้องระวังพื้นรองเท้าที่เปียก อาจลื่นออกจากแป้นห้ามล้อ๖. ผู้ขับขี่จักรยานยนต์หากไม่มีความจำเป็นเร่งด่วน ควรหาสถานที่จอดรถที่เหมาะสมและปลอดภัย รอจนฝนหยุดจึงเดินทางต่อไป สำนักงานนิรภัยภาคพื้น จร.ทอ.

  8. นิรภัยการจราจร • การขับรถขณะง่วงนอน ส่งผลต่อสมรรถภาพในการขับรถเท่ากับการเมาแล้วขับรถ  เพราะประสาทสัมผัสทุกอย่างช้าลง  ส่งผลต่อการตัดสินใจที่ผิดพลาด  เนื่องจากว่าการสั่งการของสมองไปยังกล้ามเนื้อช้าลง แตะเบรกได้ช้ากว่าปกติ  หรือหักรถ หลบหลีกได้ช้ากว่าปกติด้วย  ถ้าผู้ขับขี่หลับใน จะไม่สามารถควบคุมการขับรถได้ ซึ่งอาการหลับในได้ คนขับที่ง่วงมักจะขับรถชนท้ายรถคันอื่น หรือขับรถตกข้างทาง • สัญญาณเตือนอันตราย ผู้ขับขี่จะมีอาการหาวบ่อยหรือหาวต่อเนื่อง   ใจลอยไม่มีสมาธิ   เกิดอาการมึน ลืมตาไม่ขึ้น  มองเห็นภาพไม่ชัดและหนักศีรษะ สำนักงานนิรภัยภาคพื้น จร.ทอ.

  9. คณก.ตรวจสำรวจนิรภัยภาคพื้น จร.ทอ.ประจำเดือน มิ.ย.๕๘ สาขาอุตสาหการและอัคคีภัย ๑. น.ท.รุ่งพันธ์ พรหมานุกูล ๒. น.ท.ปฏิญญา ประเทืองสุข ๓. พ.อ.อ.กฤตติพัฒน์ ดินม่วง สำนักงานนิรภัยภาคพื้น จร.ทอ.

  10. จบการนำเสนอ สำนักงานนิรภัยภาคพื้น จร.ทอ.

More Related