270 likes | 467 Views
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โครงการศึกษากับมิติจิตใจ. จับจ่ายใช้สอยต้องคิด…..สู่เศรษฐกิจพอเพียง. วรากรณ์ สามโกเศศ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ I คำนำ II ความมหัศจรรย์ของดอกเบี้ย III อยู่กินอย่างไรให้ “อยู่ดี” IV จับจ่ายอย่างไร…..สู่ความสุข.
E N D
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โครงการศึกษากับมิติจิตใจ จับจ่ายใช้สอยต้องคิด…..สู่เศรษฐกิจพอเพียง วรากรณ์ สามโกเศศ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ I คำนำ II ความมหัศจรรย์ของดอกเบี้ย III อยู่กินอย่างไรให้ “อยู่ดี” IV จับจ่ายอย่างไร…..สู่ความสุข
I คำนำ - ความสุขคืออะไร? - มีความสุขอย่างมี “ความหมาย” - “หาความสุขจากสิ่งที่มี ดีกว่ามีความทุกข์กับ สิ่งที่ยังไม่มี”
ประชากรโลก 6 พันล้าน (รายได้ต่ำกว่าวันละ 1 เหรียญสหรัฐ) ผู้ยากจนสุด ๆ 1.1 พันล้านคน (รายได้ 1-2 เหรียญสหรัฐต่อวัน) ผู้ยากจนมาก 1.7 พันล้านคน ครึ่งโลกยากจน (ไม่มีหรือมีปัจจัย 4 อย่างจำกัดมาก) 2.8 พันล้านคน ~~
ในแต่ละวันในโลก • กว่า 20,000 คน ตายด้วยสาเหตุจาก ความยากจน • 8,000 คน ตายด้วยมาเลเรีย • 5,000 คน ตายด้วยวัณโรค • 7,000 คน ตายด้วยโรคท้องร่วง โรคติดเชื้อทางเดินหายใจ และอื่น ๆ • 7,500 คน ตายด้วยโรคเอดส์
ใน 6,000 ล้านคน มีผู้เรียนสูงกว่าระดับปริญญาตรี ประมาณร้อยละ 5-10 หรือ 300-600 ล้านคน • ในประเทศไทยมีผู้เรียนจบปริญญาตรีต่ำกว่า 2 ล้านคน หรือร้อยละ 3 • ท่านเป็น หนึ่งในคนโชคดีที่สุด ของโลกและของ ประเทศ • มีมากกว่าปัจจัย 4 • มีสติปัญญาดี ปกติ และหน้าตาดี • มีอนาคตที่สดใสรออยู่ข้างหน้า “ฉันร้องไห้เพราะไม่มีรองเท้าจะใส่ จนกระทั่งฉันได้พบคนขาด้วน”
อยู่อย่างพอเพียง - ความพอเพียงคือ “ความพอเหมาะพอดี” “ความไม่ประมาท” “พึ่งตนเอง” “มีเหตุมีผล” - ความพอเพียง คือ “การไม่อยู่กินเกินฐานะ” การไม่มีหนี้สินพะรุงพะรัง หาทางออกไม่ได้ - ความพอเพียงนั้นเพียงพอที่จะทำให้มี ความสุขชนิดที่มี “ความหมาย” ได้เสมอ
รายได้ วัดต่อหน่วยเวลา เช่น 5,000 บาทต่อเดือน • ความมั่งคั่ง (ความร่ำรวย) วัด ณ จุดหนึ่งของเวลา เช่น มีทรัพย์สินมูลค่า 1 ล้านบาท ณ วันที่ …………
รายได้ - ธรรมชาติของการใช้เงิน (การหาเงินนั้นสำคัญ แต่การรู้จักใช้เงินนั้น สำคัญกว่า) เงินออม รายจ่าย
II ความมหัศจรรย์ของดอกเบี้ยทบต้น 7 ปี 7 ปี 7 ปี 7 ปี 400 1,600 บาท 100 200 800 ปีที่ 28 ปีที่ 1 ยอดเงินสุดท้ายจากการออมครั้งแรก 100 บาท ณ อัตราดอกเบี้ยทบต้น (ทุกปี) 10% ต่อปี 70 = (จำนวนปีที่เงินต้นเพิ่มเป็น อีกหนึ่งเท่าตัว) (อัตราดอกเบี้ยทบต้นต่อปี)
139,329 103,276 44,841 39,041 34,145 ยอดเงินสุดท้ายจากการออม 500 บาท ทุกเดือน ดอกเบี้ย 15% ทบต้น (ทุกปี) ดอกเบี้ย 10% ทบต้น (ทุกปี) ดอกเบี้ย 5% ทบต้น (ทุกปี) 338,432 208,962 134,201 77,965 0 10 Years 15 Years 0 5 Years
การใช้จ่าย ดอกเบี้ยและ เงินผ่อนส่ง ความมั่งคั่ง III อยู่กินอย่างไรให้ “อยู่ดี” หนี้ทำให้จนลง รายได้
หนี้ทำให้การสะสมความมั่งคั่งช้าลงหนี้ทำให้การสะสมความมั่งคั่งช้าลง รายจ่าย ดอกเบี้ยและเงินผ่อนส่ง รายได้ เงินออม ความมั่งคั่ง
มีเงินออมแต่เงินไม่ “รับใช้” รายจ่าย รายได้ เงินออม ความมั่งคั่ง (ที่ไม่ทำงาน)
ทำให้ “เงินออม” รับใช้ รายได้ รายจ่าย 80-85% เงินออม 10-15% ความมั่งคั่ง (ที่ทำงาน) รายได้จากการลงทุน - ดอกเบี้ย - ค่าเช่า - เงินปันผล
(การรุก หรือ Offense) รายได้จากความมั่งคั่ง รายได้จากการทำงาน ความมั่งคั่ง น้ำ รายจ่าย (“การรับ หรือ Defense”) การไหลเวียนของรายได้ (income) และความมั่งคั่ง (wealth)
รถ 250,000 บาท มีราคาแพงเกือบ 12 ล้านบาท นาย ก 58 ปี 23 ปี (ไม่ต้องออมอีกเลย) 18 ปี 365,024 บาท 11,680,000 บาท (ซื้อรถ 30,000 บาท) ออมเดือนละ 4,675 บาท ได้ผลตอบแทนอัตรา ดอกเบี้ยร้อยละ 10 23 ปี 58 ปี 18 ปี • นาย ก 58 ปี 23 ปี (ไม่ต้องออมอีกเลย) 18 ปี • • • 365,024 บาท 30,000 บาท 30,000 บาท 11,680,000 บาท รถ 250,000 บาท มีราคาแพงเกือบ 12 ล้านบาท (ซื้อรถ 30,000 บาท) ออมเดือนละ 4,675 บาท ได้ผลตอบแทนอัตรา ดอกเบี้ยร้อยละ 10 (ลงทุนได้ผลตอบแทนร้อยละ 10 ต่อปี) นาย ข นาย ข 23 ปี 58 ปี 18 ปี • • • • • ได้รถมาจ่ายไปรวม 280,500 บาท 30,000 บาท (กู้อีก 220,000 บาท) ผ่อนเดือนละ 4,675 บาท อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 10 รถมีราคาไม่กี่พันบาท
นาย ก (อัตราผลตอบแทนร้อยละ 10 ต่อปี) 30 37 44 51 58 (ปี) 23 • • • • • • (0.73) (1.46) (2.92) (5.84) (11.68) (ล้านบาท) (.365) 70 = จำนวนปีที่เงินเพิ่มอีกหนึ่งเท่าตัว 70 = 7 ปี r 10
รถของนาย ข. มีราคาแพงถึงเกือบ 12 ล้านบาท (นาย ข. เสียโอกาสที่เงินจะทำงานรับใช้ เนื่องจากต้องเอาไปผ่อนรถแทนที่จะออมใน 5 ปีแรก จนสูญเสียโอกาสที่เงินต้น 365,024 บาท จะเติบโตเป็น 11.68 ล้านบาท ในอีก 35 ปีต่อมา)
ข้อเท็จจริงของเศรษฐีอเมริกัน (จาก “Millionaires next Door”)(สินทรัพย์สุทธิเกินกว่า 1 ล้านเหรียญสหรัฐ) การใช้จ่าย • ซื้อ 1/3 ของรถยุโรปชื่อดังที่นำเข้า U.S.A. •ร้อยละ 37 ซื้อรถมือสอง • 1/4 ขับรถรุ่นใหม่ของปีนี้ • 1/4 ไม่ได้ซื้อรถใหม่เป็นเวลา 4 ปีขึ้นไป กฎแห่งการสร้างและดำรงฐานะการเงิน กฎข้อที่ 1 มัธยัสถ์ (frugal = ไม่ใช้จ่ายเงินในเรื่องที่ไม่ควรใช้จ่าย อย่างโง่ ๆ) กฎข้อที่ 2 มัธยัสถ์ กฎข้อที่ 3 ……………………………………..
IV จับจ่ายอย่างไร…..สู่ความสุข (1) เงินเป็นได้ทั้งมิตรและศัตรู (2) “อยู่กินต่ำกว่าฐานะ” (live below your means) (3) ซื้อของเพราะเห็นประโยชน์จากมันอย่างแท้จริง มิใช่เพราะอยากได้มันมา (4) รู้จักตัวเองและบังคับใจตนเอง
(5) กู้ยืมเพื่อซื้อทรัพย์สินที่มูลค่าเพิ่มเท่านั้น เช่น บ้านที่อยู่อาศัย (ในราคาสมฐานะ) ที่อยู่อาศัยให้คน เช่าซื้อ (หลักทรัพย์ที่ให้อัตราผลตอบแทนสูงกว่า อัตราดอกเบี้ย) (6) หลีกเลี่ยงการกู้ยืมเพื่อซื้อสิ่งของที่มูลค่าลดลงให้ มากที่สุด เช่น เสื้อผ้า โทรทัศน์ โทรศัพท์มือถือ (7) หลีกเลี่ยงการใช้บัตรเครดิตให้มากที่สุด (หลีกให้ไกลบัตรที่มีรูปแพะ และแกะ)
(8) ทำให้เกิดเงินออมและทำให้เงินออมทำงานรับใช้เรา (9) แก้ไขปัญหาหนี้เดิมให้ลุล่วงและเริ่มชีวิตใหม่ (10) คิดเสมอว่าจะเลือกอย่างใด : “จนเพื่อรวย” หรือ “รวยเพื่อจน” วางแผน
“……..เงินไม่ได้ทำให้คนรวย แต่มีอำนาจทำให้ทั้งรวยและจนได้ สำหรับคนส่วนใหญ่ยิ่งหาเงินได้มากก็ยิ่งจนมาก หากเงินทำให้คนรวยได้อย่างเดียว เหตุใดคนถูกล๊อตเตอรี่รางวัลใหญ่จึงไม่รวย ………… สิ่งที่ทำให้คนรวยไม่ใช่เงิน หากแต่เป็นอำนาจเหนือเงิน (Power over Money)…..” “พ่อรวยสอนลูก”Rich Dad, Poor Dad
ความสุขที่แท้จริงมีราคาถูก แต่มนุษย์มักแสวงหาความสุขราคาแพงจนหนี้ท่วมตัว
คนที่รู้จักความพอเพียง จะมีอย่างเพียงพอเสมอในชีวิต
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ขอบคุณครับ
พบกันใน • มติชนสุดสัปดาห์ (“อาหารสมอง”) • มติชน (ทุกวันพฤหัส) • แพรว • “รับอรุณ” 891 AM ทุกอังคาร พุธ พฤหัส 05.40 น.