310 likes | 652 Views
สำนักงานสรรพสามิตภาคที่ 3. ส่วนตรวจสอบและปราบปราม. การบริหารภาครัฐแนวใหม่ ( New Public Management=NPM ). Max Weber ( 1864-1920 ). ระบบราชการ ( Bureaucracy ) ที่ดีจะต้องประกอบด้วยปัจจัยสำคัญดังต่อไปนี้
E N D
สำนักงานสรรพสามิตภาคที่ 3 ส่วนตรวจสอบและปราบปราม
การบริหารภาครัฐแนวใหม่(New Public Management=NPM)
Max Weber (1864-1920) • ระบบราชการ (Bureaucracy) ที่ดีจะต้องประกอบด้วยปัจจัยสำคัญดังต่อไปนี้ • มีการแบ่งหน้าที่กันทำงาน เพื่อให้เกิดการทำงานเฉพาะด้าน และให้มีการบรรจุคนเข้าทำงานความความชำนาญเฉพาะด้านนั้น ๆ • มีการกำหนดสายบังคับบัญชา และอำนาจหน้าที่ของแต่ละสายบังคับบัญชา • มีการกำหนดสิทธิหน้าที่ของตำแหน่งต่าง ๆ ในแต่ละสายบังคับบัญชา เช่นการจัดทำคู่มือการทำงาน (Job Description)
มีขบวนการในการแก้ไขบัญหาการทำงาน เช่น ปัญหาการทุจริตในการทำงาน ความล่าช้าของงานเป็นต้น • มีระบบของความสัมพันธ์ภายในที่เป็นทางการ เป็นการติดต่อทางสายการบังคับบัญชา • มีระบบการเลื่อนขั้นตำแหน่งที่อยู่บนพื้นฐานการแข่งขัน เช่นการสอบบรรจุ การสอบเลื่อนระดับ เป็นต้น
ระบบราชการ (ของไทย) • หมายถึงองค์กรขนาดใหญ่ซึ่งประกอบด้วยโครงสร้างของการบริหารภายในที่ซับซ้อน มีสายการบังคับบัญชา มีการแบ่งแยกหน้าที่กันทำงาน มีการระบุถึงอำนาจหน้าที่ของตำแหน่งต่าง ๆ มีระบบการเลื่อนขั้นเลื่อนตำแหน่ง และมีความสัมพันธ์ภายในที่เป็นทางการ ระบบราชการจึงเป็นองค์กรขนาดใหญ่ที่ประกอบด้วยบุคคลเป็นจำนวนมากที่เข้ามาทำงานร่วมกันโดยอาศัยระเบียบวินัย และกฎเกณฑ์ขององค์การเป็นเครื่องมือในการทำงานร่วมกัน ระบบราชการจึงมักมีการทำงานที่ล่าช้า มีการเลี่ยงความรับผิดชอบ มีอิทธิพลเกิดขึ้นในทุกขั้นตอนของการทำงาน
พจนานุกรมศัพท์สังคมวิทยาได้ให้ความหมายของระบบราชการไว้ว่าพจนานุกรมศัพท์สังคมวิทยาได้ให้ความหมายของระบบราชการไว้ว่า “เป็นระบบการปกครองโดยเจ้าหน้าที่หรืออำมาตยาธิปไตย มีลักษณะยึดมั่นในหน้าที่ประจำ มีกฎตายตัวซึ่งดัดแปลงได้ยาก มีระเบียบที่ทำให้ล่าช้า มีการผัดวันประกันพรุ่ง การไม่เต็มใจรับผิดชอบ และไม่ยอมทดลอง”
CHANGE (การเปลี่ยนแปลง)
We must change before we have to(เราควรที่จะเปลี่ยนตัวเอง ก่อนที่คนอื่นจะเปลี่ยนเรา)ดร.เฉลิม ศรีผดุง Change before we are forced to change (เปลี่ยนก่อนที่เราจะถูกบังคับให้เปลี่ยน) Jack Welch
ทำอะไรไม่ได้ก็ให้ไปอยู่สายตรวจทำอะไรไม่ได้ก็ให้ไปอยู่สายตรวจ Change หากทำไม่ได้อย่ามาอยู่สายตรวจ
ค่านิยมของสายตรวจ เกียรติ ศักดิ์ศรี ประสิทธิภาพ
พระบรมราโชวาท พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เกียรติและความสำเร็จ เกิดจากผลการปฏิบัติงาน และการปฏิบัติตัวของแต่ละคนที่สามารถปฏิบัติงาน ในความรับผิดชอบให้ได้ผลสมบูรณ์ ตรงตามวัตถุประสงค์ และปฏิบัติตัวให้สุจริต เที่ยงตรง พอควรพอดี แก่ตำแหน่งหน้าที่ที่ดำรงอยู่ นพ.สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ
การปรับเปลี่ยนค่านิยมและวัฒนธรรมในการทำงาน * คิดในกรอบ * ติดกับความเคยชิน • สรุป • *คิดนอกกรอบ • * มุ่งทางเลือกใหม่ อ.ธัญญารัตน์พฤนท์พิตรทานสถาบันพัฒนาข้าราชการพลเรือนสำนักงานก.พ.
ค่านิยมสร้างสรรค์ของเจ้าหน้าที่ ของรัฐ 5 ประการ 1.กล้ายืนหยัดทำในสิ่งที่ถูกต้อง 2.ซื่อสัตย์และมีความรับผิดชอบ 3.โปร่งใส ตรวจสอบได้ 4.ไม่เลือกปฏิบัติ 5.มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน อ.ธัญญารัตน์พฤนท์พิตรทานสถาบันพัฒนาข้าราชการพลเรือนสำนักงานก.พ.
การบริหารภาครัฐแนวใหม่การบริหารภาครัฐแนวใหม่ • เน้นการบริหารแบบมืออาชีพ • กำหนดวัตถุประสงค์ และตัวชี้วัดผล การดำเนินงานอย่างชัดเจน เป็นรูปธรรม ให้ความสำคัญต่อความรับผิดชอบผลงาน • เน้นผลสัมฤทธิ์ และการเชื่อมโยงเข้ากับการจัดสรรทรัพยากร และการให้รางวัล
การบริหารภาครัฐแนวใหม่ (ต่อ) • ปรับปรุงโครงสร้างองค์กรให้มีขนาดเล็กลง เหมาะสมต่อการปฏิบัติงาน มีการจ้างเหมางานบางส่วนออกไป • เปิดให้มีแข่งขันสาธารณะเพื่อช่วยปรับปรุงประสิทธิภาพ • ปรับเปลี่ยนวิธีการบริหารงานให้ทันสมัย (บริหารยุทธศาสตร์) • เสริมสร้างวินัยในการใช้งบประมาณ ประหยัด และคุ้มค่าในการใช้ทรัพยากร
การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ คือการนำแนวความคิดการบริหารของภาคเอกชนมาใช้ในหน่วยงานของรัฐ เช่น Balance ScoreCard, การบริหารงานมุ่งผลสำฤทธิ์ (Result Based Management ( RBM), การพัฒนาสมรรถนะ (Competencies), การวางแผนยุทธศาสตร์ (Strategic Planning), การวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค์ (SWOT Analysis)
Balanced Scorecard (BSC) เป็นเครื่องมือซึ่งเกิดจากแนวความคิดที่จะช่วยให้องค์กรในการแปลจากกลยุทธ์ให้เป็นการปฏิบัติ โดยเริ่มต้นที่วิสัยทัศน์ ภารกิจ และกลยุทธ์ขององค์กรซึ่งเป็นขั้นของการกำหนดปัจจัยสำคัญต่อความสำเร็จ และจากนั้นก็เป็นการสร้างดัชนีวัดความสำเร็จ (Key Performance Indicators) ขึ้นเพื่อเป็นตัวบ่งชี้ถึงเปาหมายและใช้วัดผลการดำเนินงานในส่วนที่สำคัญต่อกลยุทธ์
BSC VS กพร. มิติลูกค้า มิติประสิทธิผล มิติกระบวน การภายใน มิติคุณภาพ บริการ มิติ การเงิน มิติ ประสิทธิภาพ วิสัยทัศน์ พันธกิจ มิติองค์กรเรียนรู้ มิติพัฒนาองค์กร
มิติการประเมินผลฯ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ 4 ด้าน Internal Work Process Perspective Financial Perspective มิติที่ 1: มิติด้านประสิทธิผล ส่วนราชการแสดงผลงานที่บรรลุวัตถุประสงค์ และเป้าหมายตามที่ได้รับงบประมาณมาดำเนินการ เพื่อให้เกิดประโยชน์สุขต่อประชาชนตามแผนยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด/จังหวัด มิติที่ 2: มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ ส่วนราชการแสดงความสามารถในการปฏิบัติราชการเช่น การลดค่าใช้จ่าย และการลดระยะเวลาการให้บริการ เป็นต้น 70% 10% มิติที่ 3 : มิติด้านคุณภาพการให้บริการ ส่วนราชการแสดงการให้ความสำคัญกับผู้รับบริการในการให้บริการที่มีคุณภาพ สร้างความพึงพอใจแก่ผู้รับบริการ มิติที่ 4: มิติด้านการพัฒนาองค์กร ส่วนราชการแสดงความสามารถในการเตรียมพร้อมกับการเปลี่ยนแปลงขององค์กร เช่น การพัฒนาระบบฐานข้อมูล การบริหารคนและความรู้ในองค์กร เป็นต้น 10% 10% Customer Perspective Learning & Growth Perspective
SWOT Analysis(การวิเคราะห์แข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค์) • เป็นการนำเอาหลักการรู้เขา รู้เรา มาทำการวิเคราะห์เพื่อนำมากำหนดวิสัยทัศน์ (Vision) ขององค์การ
ผู้เชี่ยวชาญการศึก ปฏิบัติการอันใด ย่อมไม่ผิดพลาด ดำเนินการยุทธ ย่อมไม่มีทางอับจน รู้เขา รู้เรา ชัยชำนะจักไม่พลาด หยั่งรู้ดินฟ้าอากาศ ชัยชนะจักสมบูรณ์แล ซุนวู นพ.สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ
วิสัยทัศน์(vision) ของกรมสรรพสามิต บูรณาการจัดเก็บภาษีที่มีมาตรฐาน โปร่งใส และเป็นธรรม ด้วยระบบงานที่ทันสมัย เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมที่ยั่งยืน
สิ่งที่ต้องการให้ทำคือทำ SWOT ของสายตรวจปราบปราม เพื่อ • กำหนดวิสัยทัศน์ (Vision) ของฝ่ายปราบปราม
วิสัยทัศน์ บริษัทปูนซีเมนต์ไทย จำกัด (มหาชน) “เป็นผู้นำผลิตภัณฑ์ปูนซีเมนต์ ในภาคพื้นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้” ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) “จะเป็นธนาคารชั้นนำในภูมิภาคเอเชีย”
วิสัยทัศน์ของกิจการชั้นนำวิสัยทัศน์ของกิจการชั้นนำ โครงการ Apollo ของ NASA “To send a man on the moon before the Soviets” Canon Corporation “To beat Xerox”
วิสัยทัศน์ของฝ่ายปราบปรามคือ?วิสัยทัศน์ของฝ่ายปราบปรามคือ?
การจัดทำยุทธศาสตร์ของหน่วยงานการจัดทำยุทธศาสตร์ของหน่วยงาน • วิเคราะห์สถานการขององค์กร ใช้ SWOT ANALYSIS คือการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส อุปสรรค์ ขององค์กร เพื่อให้รู้ตัวตนของเรา คู่แข่ง และสภาพแวดล้อมขององค์กร • กำหนดสิ่งที่เราอยากให้องค์กรของเราเป็น VISION • กำหนดสิ่งที่เราจะต้องทำ (MISSION) เพื่อให้บรรลุสู่สิ่งที่เราอยากเป็น (VISION) • กำหนดวิธีการที่จะต้องทำ (STRATIGIC) หรือแผนงาน. โครงการต่าง ๆ • กำหนดเป้าหมาย ตัวชีวัด
ระดับองค์กร จุดมุ่งหมาย แผน จุดมุ่งหมาย แผน องค์กร วิสัยทัศน์ พันธกิจ กรม ยุทธศาสตร์ / กลยุทธ์ เป้าหมาย ยุทธวิธี / กลวิธี สำนัก / กอง วัตถุประสงค์ ยุทธการ / กิจกรรม กลุ่ม / ฝ่าย นพ.สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ