1 / 23

การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด

การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด. : Nursing Care for Pregnant’s Woman with Preterm Labor Pain . โดย :. ธนิมา สังข์สุวรรณ์ โรงพยาบาลหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 2541. นิยาม. * การเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด หมายถึง :

Lucy
Download Presentation

การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนดการพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด : Nursing Care for Pregnant’s Woman with Preterm Labor Pain .

  2. โดย : ธนิมา สังข์สุวรรณ์ โรงพยาบาลหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 2541

  3. นิยาม * การเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด หมายถึง : • การเจ็บครรภ์คลอดระหว่างอายุครรภ์ 20 สัปดาห์ถึงก่อน 37 สัปดาห์ หรือ 259 วันนับจากการมีประจำเดือนปกติครั้งสุดท้าย ( LMP ) โดยใช้อายุครรภ์เป็นเกณฑ์ ไม่คำนึงถึง น้ำหนักทารกแรกเกิด

  4. การเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนดการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด ความสำคัญ : * เป็นสาเหตุการเสียชีวิตหรือทุพพลภาพของทารกแรกเกิด ( Mortality or Morbidity ) 75 - 85 % • น้ำหนักทารกแรกเกิดน้อย • จากขาดสาร surfactant ในถุงลมปอด --> RDS !

  5. พยาธิสรีรวิทยา • เชื่อว่าเกิดจากการลดระดับของ Progesterone จากการเชื่อมต่อระหว่างสตรีตั้งครรภ์และทารกในครรภ์ ( Chorion & Decidua ) ถูกกระตุ้นให้หลั่งสาร arachidonic acid ถูกเปลี่ยนให้กลายเป็น prostaglandins platelet - activating factors และ monokines ซึ่งเป็นตัวกระตุ้นทำให้เกิดการคลอด

  6. สาเหตุ • ประวัติทางสูติกรรม • ลักษณะเฉพาะของมารดา • ทางระบาดวิทยา เศรษฐานะ เชื้อชาติ • สาเหตุชักนำที่เกิดเนื่องจากการตั้งครรภ์ • ไม่ทราบสาเหตุ : 50 %

  7. ประวัติทางสูติกรรม • น้ำหนักผู้คลอด • น้ำหนัก & ประวัติภาวะแทรกซ้อนทารก • ประวัติการแท้ง • ประวัติความผิดปกติของเนื้อเยื่อปากมดลูก : Incompetent cervix • ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด : PROM อื่นๆ

  8. ลักษณะเฉพาะของมารดา • ความวิตกกังวล • น้ำหนักน้อยก่อนการตั้งครรภ์ • อายุ < 16 ปี หรือ > 30 ปี • สูบบุหรี่ > 10 มวนต่อวัน อื่น ๆ

  9. สาเหตุที่เกี่ยวกับระบาดวิทยา เศรษฐานะ เชื้อชาติ • ฐานะยากจน • กลุ่มผู้ใช้แรงงาน • คนผิวดำ จะมีอุบัติการณ์สูง !

  10. การวินิจฉัย • อายุครรภ์ระหว่าง 20 - 37 สัปดาห์ • มดลูกหดรัดตัวอย่างน้อย 1 ครั้งใน 10 นาทีและนานอย่างน้อย 30 วินาที • มีการบางตัวและการเปิดขยายของปากมดลูก

  11. การวินิจฉัยหาสาเหตุ • การซักประวัติ • การตรวจร่างกาย • การตรวจทางห้องปฏิบัติการ • การตรวจด้วยเครื่องเสียงความถี่สูง • การตรวจสภาวะของทารกในครรภ์ • การเจาะตรวจน้ำคร่ำ

  12. แนวทางการรักษา • นอนพักอย่างเพียงพอช่วยได้ถึง 80 % • ยับยั้งการเจ็บครรภ์ หรือ การหดรัดตัวของมดลูก : Stop labor or Tocolysis • ถ้ายับยั้งไม่ได้ พิจารณาให้ยากระตุ้นปอดสร้างสาร Surfactant เช่น Glucocorticoid เพื่อลดอุบัติการการเกิด RDS ! • การดูแลทารกในขณะคลอดและหลังคลอด

  13. ข้อบ่งชี้ • ทารกในครรภ์ต้องมีสุขภาพดี • อายุครรภ์อยู่ระหว่าง 20 - 37 สัปดาห์ • มีการเจ็บครรภ์ เนื่องจากการหดรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูกอย่างน้อย 1 ครั้งใน 10 นาทีและนานอย่างน้อย 30 วินาที • มีการบางตัวของปากมดลูกน้อยกว่า ร้อยละ 80 และการเปิดขยายของปากมดลูกน้อยกว่า 4 เซนติเมตร • ถุงน้ำคร่ำยังไม่แตก

  14. ข้อบ่งห้าม • การเจ็บครรภ์เข้าสู่ระยะ Active : Cx > 4 cm. • ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนครบกำหนดคลอด • มีภาวะแทรกซ้อนรุนแรงที่ควรให้คลอด • มีภาวะแทรกซ้อนของทารกในครรภ์ • มีภาวะแทรกซ้อนซึ่งเป็นข้อห้ามในการใช้ยา กลุ่ม Sympathomimetic drugs

  15. Tocolytic Agents • Beta- adrenergic receptor agonists * Terbutaline ( Bricanyl R ) • Calcium channel blocking drugs * Verapamil • Magnesium Sulfate • Antiprostaglandins or prostaglandin synthetase inhibitor * Salicylate • other :* Ritrodrine ,* Progesterone ,* Ethanol ,* Diazoxide

  16. Beta - adrenergic receptor agonists • เป็น Beta 2 agonist แต่มีฤทธิ์ส่วนหนึ่งต่อ Beta 1 receptors ด้วย • Beta 1 receptor : หัวใจ ,ลำไส้ ,เนื้อเยื่อไขมัน • Beta 2 receptor : มดลูก ,กล้ามเนื้อเรียบของหลอดลม , กล้ามเนื้อเรียบของหลอดเลือด ,ตับและกล้ามเนื้อ

  17. * หยุดให้การยับยั้งด้วยยาเมื่อ : • อัตราการเต้นของหัวใจสตรีตั้งครรภ์เร็วกว่า 140 ครั้งต่อนาที • ความดันโลหิตลดต่ำลง : Ps > 20 mmHg , Pd > 10 mmHg • หลังให้ยาไปหลายชั่วโมงแล้ว ยังมีการหดรัดตัวของมดลูก • ทารกในครรภ์มีภาวะเครียด : Fetal distress !

  18. แนวทางการพยาบาลการยับยั้งการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนดด้วยยาในสถานพยาบาลแนวทางการพยาบาลการยับยั้งการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนดด้วยยาในสถานพยาบาล • ก่อนให้การยับยั้งการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด • ขณะให้การยับยั้งการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด • หลังให้การยับยั้งการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด

  19. * ก่อนให้การยับยั้งฯ • เตรียมตัวและมีความพร้อมในการให้การดูแล รวมถึงการบริหารยาอย่างถูกต้อง • ประเมินสภาพสตรีตั้งครรภ์และทารกในครรภ์ : จากการซักประวัติ การตรวจร่างกาย และการประเมิน สภาพทารกในครรภ์

  20. *ขณะให้การยับยั้ง ฯ • อธิบายให้ทราบ วิธีการและขั้นตอนโดยสังเขป • การเตรียมร่างกาย • จัดสภาพแวดล้อม ให้รู้สึกผ่อนคลาย • นอนพัก ท่านอนตะแคงซ้าย • ดูแลให้รับการยับยั้งฯ ตามแผนการรักษา • เฝ้าสังเกตอาการเปลี่ยนแปลงอย่างใกล้ชิด • ให้กำลังใจ, คำแนะนำการปฏิบัติตัว ฯลฯ

  21. * หลังให้การยับยั้ง ฯ • ประเมินและสังเกตอาการอย่างใกล้ชิด รวมทั้งอาการข้างเคียงจากการรับยา ทุก 1 - 2 ชั่วโมง • สอบถามและรับฟังปัญหา ฯ • ดูแลความสุขสบายทั่วไป ตลอดจนความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง

  22. การให้คำแนะนำก่อนกลับบ้านการให้คำแนะนำก่อนกลับบ้าน • การมาฝากครรภ์ตามนัด, การมีเพศสัมพันธุ์ • การพักผ่อน อย่างน้อย 8 - 10 ชั่วโมง • การทำงาน … หลีกเลี่ยงการทำงานหนัก • การรับประทานอาหาร, การรับประทานยาตามแผน ฯ • การขับถ่าย … ฝึกการขับถ่ายให้เป็นเวลา • การออกกำลังกาย, การเดินทาง • ความสะอาดของร่างกาย • อาการผิดปกติที่ต้องมาพบแพทย์

  23. มีปัญหาหรือข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด : * http://start.at/noina * E-mail : thanima@usa.net * ICQ # 5403640 Thank You !

More Related