370 likes | 979 Views
บทที่4 ความสัมพันธ์ของภาคการเกษตรกับอุตสาหกรรมเกษตร. เกษตรกร. ประเทศเกษตรกรรม. ปัจจัยในการผลิต. องค์ประกอบของการเกษตร. ปัจจัยที่จำเป็นต่อการผลิตทางการเกษตร. 1. ลมฟ้าอากาศ 2. ดินและปุ๋ย 3. แหล่งน้ำ การจัดการน้ำ การชลประทาน 4. พันธุ์ 5. ระบบการปลูกพืช 6. การเก็บเกี่ยว.
E N D
บทที่4ความสัมพันธ์ของภาคการเกษตรกับอุตสาหกรรมเกษตรบทที่4ความสัมพันธ์ของภาคการเกษตรกับอุตสาหกรรมเกษตร
เกษตรกร ประเทศเกษตรกรรม ปัจจัยในการผลิต องค์ประกอบของการเกษตร
ปัจจัยที่จำเป็นต่อการผลิตทางการเกษตรปัจจัยที่จำเป็นต่อการผลิตทางการเกษตร 1. ลมฟ้าอากาศ2. ดินและปุ๋ย3. แหล่งน้ำ การจัดการน้ำ การชลประทาน4. พันธุ์5. ระบบการปลูกพืช6. การเก็บเกี่ยว
ความเกี่ยวข้องของการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตรความเกี่ยวข้องของการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร องค์ประกอบของการเกษตร องค์ประกอบอุตสาหกรรม ประเทศเกษตรกรรม ปัจจัยการผลิต เกษตรกร การจัดหาหรือผลิตวัตถุดิบ การผลิตระบบอุตสาหกรรม การจัดจำหน่าย ผลิตภัณฑ์ ผลพลอยได้ ของเหลือ คุณภาพราคา การใช้ประโยชน์
วัตถุดิบอุตสาหกรรมเกษตรจากการเกษตรกรรมวัตถุดิบอุตสาหกรรมเกษตรจากการเกษตรกรรม ประเทศเกษตรกรรม สภาพแวดล้อมและอิทธิพลของธรรมชาติปัจจัยการผลิตทางการเกษตร สิ่งที่ทำให้เกิดประสิทธิผล เกษตร การดูแลรักษาและสร้างประสิทธิภาพ ปริมาณวัตถุดิบ คุณภาพวัตถุดิบ ราคาวัตถุดิบ
การเกษตรและเศรษฐกิจของประเทศไทยการเกษตรและเศรษฐกิจของประเทศไทย ก่อนการปฏิวัติอุตสาหกรรม - ทำการเกษตรแบบธรรมชาติเพื่อเลี้ยงครอบครัวหลังการปฏิวัติอุตสาหกรรม - การทำเกษตรแบบเดิมเพื่อส่งออกผลิผลเศรษฐกิจการปฏิวัติ - การทำเกษตรแบบการค้าการพัฒนาประเทศอุตสาหกรรมใหม่ - การลดพื้นที่และการลดจำนวนเกษตรกรการแก้วิกฤตเศรษฐกิจ - เกษตรกรซึ่งเป็นประชากรส่วนใหญ่ยากจนเพิ่มขึ้น ช่องว่าง ระหว่างคนมีกับคนจนมากขึ้น
ประเทศเกษตรกรรม1. พื้นดินที่เหมาะสมกับการเพาะปลูก2. สภาพของดินฟ้าอากาศที่เหมาะสมกับการเกษตรกรรม3. มีแหล่งน้ำ4. มีปัจจัยพื้นฐานทางเศรษฐกิจ5. มีเกษตรกร ประเทศเกษตรกรรมได้แก่ ไทย นิวซีแลนด์ ออสเตรเลีย บราซิล อาร์เจนตินาร์ เปรู ประเทศในทวีปอเมริกันกลาง ซึ่งเป็นแหล่งอาหารทั้งอุปโภคและบริโภคยกเว้นประเทศ จีน พม่า ญวน
1. สภาพแวดล้อมธรรมชาติที่เหมาะสมแก่การเกษตร2. เกษตรกร3. มีปัจจัยพื้นฐาน (Infra Structure) ของเศรษฐกิจการเกษตร4. ปัจจัยการผลิตทางการเกษตร5. การควบคุมสมดุลธรรมชาติ ( Balance of nature )6. สังคมเกษตรกรรม7. การพัฒนาอุตสาหกรรมเกษตร สิ่งที่จำเป็นของประเทศเกษตรกรรม
โครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจการเกษตร (Agro – Infrastructure) หมายถึง ทุนทางกายภาพและองค์กรต่างๆที่คนตั้งขึ้นมา เพื่อจัดหาบริหารทางเศรษฐกิจให้แก่ส่วนการเกษตร แต่เป็นสิ่งที่อยู่ภายนอก (external) ของแต่ละไร่นาหรือแต่ละบริษัท ในส่วนการเกษตรมีอยู่ 2 ชนิด คือ โครงสร้างเศรษฐกิจที่ต้องใช้ทุนมากแต่ทรัพยากรมนุษย์น้อย (Capital extensive) โครงสร้างทางเศรษฐกิจที่ใช้ทุนน้อยแต่ใช้ทรัพยากรมนุษย์มาก(Capital intensive)Capital External 1. หน่วยผลิต- แหล่งน้ำ ชลประทาน - พลังงานไฟฟ้า
- ถนน - ศูนย์ข้อมูลข่าวสารเกษตรและการตลาด 2. หน่วยการจัดการ - ตลาดกลาง - สินเชื่อการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร Capital Intensive 1. หน่วยผลิต - การส่งเสริมเผยแพร่การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร - การวิจัยและพัฒนา 2. หน่วยจัดจำหน่าย - การมาตรฐาน - การวิจัยตลาด
Green Revolution : การเปลี่ยนระบบการผลิตจากดั้งเดิมไปเป็นการผลิตแบบเกษตรใหม่ซึ่งสามารถผลิตผลผลิตได้มากขึ้นโดยใช้พันธุ์ใหม่ ยากำจัดศัตรูพืช เครื่องจักรกล การใช้ระบบจัดฟาร์มและการชลประทานสิ่งสำคัญคือ - การปฏิวัติเขียวมีจุดเด่นที่ใช้ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรอย่างได้ผลชัดเจน จุดอ่อนคือ - ละเลยผลกระทบต่อด้านอื่นเช่นสังคม และสิ่งแวดล้อม ผลกระทบต่อระบบนิเวศวิทยาต่างๆ Green Revolution
ระบบการเกษตรปัจจุบันอยู่บนหลักการใหญ่ๆ 2 ประการ คือ 1. ความมักง่าย แสดงออกโดยการมองเห็นทุกสิ่งแยกส่วน 2. ความรุนแรง ใช้สารเคมีมีพิษฆ่าหรือทำลายโดยตรง ระบบการเกษตรปัจจุบันพยายามแตกตัวออกจากธรรมชาติโดยใช้วิธีการควบคุมและบังคับธรรมชาติไปในทิศทางที่มนุษย์ต้องการเพียงเพื่อตอบสนองความต้องการที่ไม่ใช่ความต้องการที่แท้จริง
เกษตรกร 1. เป็นคนงานมีฝีมือ ใช้ความชำนาญ 2. ความรู้น้อย 3. ส่วนใหญ่ยากจน 4. ขาดอำนาจต่อรอง 5. ขาดข้อมูลข่าวสาร 6. ต้องพึ่งพาธรรมชาติโดยเฉพาะฝน 7. เป็นผู้ต้องยอมรับในชะตากรรม
ความสำคัญของเกษตรกร 1. เป็นผลิตอาหารและวัตถุดิบ2. เป็นผู้สร้างคุณภาพแก่วัตถุดิบ3. เป็นผู้ประกอบการและแรงงาน4. เป็นผู้ใช้และผู้บริโภค5. เป็นผู้สร้างความเจริญรุ่งเรืองให้แก่สังคมมนุษย์ “ ความเจริญเดินตามรอยไถ (Civilization Follow the Plow) ”
การเปลี่ยนแปลงสถานะภาพของเกษตรกรการเปลี่ยนแปลงสถานะภาพของเกษตรกร เกษตรกรเจ้าของที่ดินและผู้ประกอบการอิสระ พอมีพอกิน เลี้ยงครอบครัว เกษตรกรผู้เช่าที่ดินและผู้ประการอิสระ ยากจนแต่ไม่อดอยาก ลูกจ้างทำการเกษตรเกษตรผู้ยากไร้ ยากไร้ไม่มีกินกรรมกรรับจ้าง ทิ้งถิ่นเพื่อขายแรงงาน เก็บเงินส่งกลับบ้าน
ขบวนการเกษตรผู้ยากไร้ขบวนการเกษตรผู้ยากไร้ 1. แนวคิดเพิ่มรายได้ด้วยวิธีผลิตแบบการค้า2. หาทุนเพื่อใช้ดำเนินงาน3. กู้เงินจากธนาคารพาณิชย์ หรือนายทุนโดยใช้ที่ดินเป็นหลักทรัพย์ค้ำประกันการกู้4. ธนาคารพาณิชย์ สนับสนุนให้สินเชื่อตามโควต้าและเพื่อกำไรโดยให้กู้ต่ำกว่าราคาจริงของหลักทรัพย์
5. เกษตรนำเงินมาลงทุนดำเนินการเกษตรแบบการค้าซึ่งมี ความเสี่ยง6. สภาพการชำระหนี้ 6.1 ปีที่มีกำไร สามารถผ่อนชำระหนี้ได้ ตามสัญญากู้ 6.2 ปีที่ขาดทุนจะค้างชำระ 6.3 จำนวนหนี้จะทบทวีสูงขึ้น จนเกินรายได้ที่จะส่งใช้ 6.4 อาจถูกบังคับให้ขายที่ดินใช้หนี้หรือถูกยึด7. เกษตรกรเปลี่ยนสถานะกลายเป็นเกษตรกรผู้ยากไร้
ขั้นตอนการทำฝนเทียม 1. ก่อกวน = ทำให้เกิดเมฆ • เลี้ยงให้อ้วน = เมฆรวมกันเป็นก้อน • ขั้นโจมตี = ฝนตก
อุณหภูมิกับการเกษตร1. อุณหภูมิของอากาศ 2. มีผลต่อพืชและสัตว์ (Maximum, Optimum, Minimum) 3. มีผลต่อการหายใจ 4. มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืชและสัตว์ 5. อุณหภูมิของดิน 6. มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืชและการงอกของเมล็ดพืช
แหล่งน้ำ- ฝน (น้ำผิวดิน, น้ำใต้ดิน)- น้ำค้าง- หิมะ ระบบชลประทาน1. การให้น้ำ - ผิวดิน - ใต้ดิน (น้ำบาดาล) - ฉีดพ่นฝน2. การระบายน้ำพันธุ์- พันธุ์ธรรมชาติ หรือ พันธุ์พื้นเมือง- พันธุ์จากการคัดเลือก (Select)- พันธุ์จากการปรับปรุง ดินหน้าที่ของดิน- พยุงดันพืช,ให้ความชื้น,ให้อากาศประเภทของปุ๋ย- ปุ๋ยอินทรีย์ : ปุ๋ยคอก, ปุ๋ยหมัก, ปุ๋ยเทศบาล- ปุ๋ยเคมี : แม่ปุ๋ย N, P, K, ปุ๋ยผสม (N: P: K) ปุ๋ย คือ สิ่งที่ใส่ลงไปในดินเพื่อให้อาหารธาตุแก่พืช เพื่อเพิ่มผลผลิต
เทคโนโลยีติดต่อพันธุกรรม = (GMOs) ข้อสนับสนุน GMOs1. พืชGMOs ทำให้เพิ่มผลผลิตถึง 20 % หรือมากกว่า ทำให้โลกมีอาหารมากขึ้น พอเพียงกับประชากร2. GMOs ทำให้พืชแข็งแรง คุณภาพดี ทนทานต่อยาฆ่าแมลงข้อคัดค้าน GMOs1. พืช GMOs อันตราย มีเชื้อโรคร้าย2. พืช GMOs ทำให้สภาพแวดล้อมธรรมชาติเปลี่ยนแปลงไป กระทบสิ่งแวดล้อม3. พืช GMOs ทำให้ภูมิต้านทานถูกทำลาย
ระบบการปลูกพืช1. ปลูกพืชซ้ำ – ทำนา ปลูกผลไม้2. ปลูกพืชแซมดิน – พืชไร่และพืชสวน = พืชคลุมดิน3. ปลูกพืชหมุนเวียน – เพื่อป้องกันดินจืด แต่ทำไม่ได้ ในเนื้อที่จำกัด 4. ปลูกพืชทับทวี – ไม่ให้มีการพักดิน5. ปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์ ระบบการเลี้ยงสัตว์1. กักขัง2. รวมเป็นกลุ่ม3. สหกรณ์4. ตามธรรมชาติ
การเก็บเกี่ยว- การเก็บเกี่ยวตามการใช้ประโยชน์ - อายุ- ความแก่อ่อน - องค์ประกอบของปัจจัยคุณภาพ- วิธีการเก็บเกี่ยว - เครื่องมือ อุปกรณ์ในการเก็บเกี่ยว- การบรรจุและการขนถ่าย การปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว1. หลักปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว2. วิธีปฏิบัติ- ควบคุมการเปลี่ยนแปลงภายในวัตถุดิบ- ทำความสะอาดวัตถุดิบ- คัดเลือกและจัดพวก- เก็บรักษาก่อนการขนสู่โรงงาน 3. การขนส่งและการขนถ่าย- ลักษณะการขนส่ง- กองสุม (ใส่ภาชนะบรรจุ ใส่ตู้คอนเทนเนอร์)