1 / 22

เสนอโดย นางสาวซูลีนี ดอโละมะ รหัส 404741017 โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร

การเพาะเลี้ยงสาหร่าย. เสนอโดย นางสาวซูลีนี ดอโละมะ รหัส 404741017 โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร. การเพาะเลี้ยงสาหร่าย.

Leo
Download Presentation

เสนอโดย นางสาวซูลีนี ดอโละมะ รหัส 404741017 โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การเพาะเลี้ยงสาหร่าย เสนอโดย นางสาวซูลีนี ดอโละมะ รหัส 404741017 โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร

  2. การเพาะเลี้ยงสาหร่าย • คือการเลี้ยงสาหร่ายด้วยอาหารที่ใช้ในการเลี้ยงสาหร่าย 2 ชนิดคืออาหารเหลว อาหารแข็งหรืออาหารวุ้นเพื่อใช้เป็นอาหารสัตว์น้ำวัยอ่อนหรือผลิตเป็นอุตสาหกรรม สาหร่ายมีหลายชนิดผู้เลี้ยงจะต้องศึกษารายละเอียดเพื่อจะได้ประสบความสำเร็จในการเลี้ยงสาหร่าย

  3. ระยะเวลาของการเลี้ยง • การเลี้ยงระยะยาว • -วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 เพื่อเก็บหัวเชื้อสาหร่าย (stock culture)ปัจจัยที่สำคัญคือรูปแบบของอาหารคืออาหารวุ้น (nutrient agar)ข้อเสียของอาหารวุ้นคือการเลี้ยงต้องเลี้ยงแบบปลอดเชื้อ(axenic culture)อาหารที่ใช้ได้นอกจากน้ำคือสารละลายที่เตรียมจากดิน(soil - water medium)ปัจจัยอื่นอุณหภูมิและความเข้มของแสง

  4. วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 เพื่อผลิตอุตสาหกรรม 2 ประเภทคือ • 1. การเลี้ยงประเภทเก็บเกี่ยวครั้งเดียว (Batch culture) • 2.การเลี้ยงประเภทต่อเนื่อง(Continuous culture)

  5. การเลี้ยงระยะสั้น • เป็นการเลี้ยงที่ใช้ศึกษาในห้องเรียนเป็นครั้งคราวหรือใช้ในอุตสาหกรรมในระยะสั้นใช้อาหารแตกต่างกันตามความเหมาะสม

  6. รูปแบบของการเพาะเลี้ยง มี 3 แบบ คือ • 1. การเลี้ยงชนิดเดียวไม่มีชนิดอื่นปนอาจมีแบคทีเรียหรือโปรโตซัวอยู่ด้วย • 2. การเลี้ยงชนิดเดียวหรือหลายชนิดต้องไม่มีแบคทีเรียปน • 3. กรเลี้ยงชนิดเดียวเท่านั้นไม่มีสิ่งมีชีวิตอื่นใดปนเลย

  7. อาหารในการใช้เลี้ยงสาหร่ายอาหารในการใช้เลี้ยงสาหร่าย • 1. อาหารเหลว(Liquid media)ประกอบด้วย 2 ประเภทคือ • 1.1 ธาตุอาหารหลัก(Macronutrients) • 1.2 ธาตุอาหารรอง(Micronutrients) • - ธาตุอาหารรองอนินทรีย์(Inorganic micronutrients) • - ธาตุอาหารรองอินทรีย์(Organic micronutrients)แบ่งได้ 3 กลุ่มคือ • 1.คาร์โบไฮเดรต • 2.เกลืออินทรีย์หรือสารประกอบที่มีเกลืออินทรีย์อยู่ด้วย • 3.วิตามิน

  8. 2. อาหารแข็งหรืออาหารวุ้น (Solid or agar media)ทำโดยเตรียมอาหารเหลวที่เพาะเลี้ยงก่อนแล้วเติมวุ้นลงไป 0.5 % วุ้นที่ใช้เป็นวุ้นที่บริสุทธ์เรียกว่า (Bacto - agar)การแยกเชื้อสาหร่ายควรเตรียมวุ้นให้แข็งหรือถ้าต้องการทำอาหารแบบเอียง(Slant agar)เพิ่มพื้นที่ในหลอดใส่วุ้นประมาณ 1 - 1.5 % วุ้นที่มีคุณภาพดี Bacto - agar อาหารวุ้นที่เตรียมจะใส่ขวดกลมและแบนราวครึ่งหนึ่งภาชนะ

  9. น้ำที่ใช้ในการเลี้ยงสาหร่ายน้ำที่ใช้ในการเลี้ยงสาหร่าย • 1. น้ำจืดโดยทั่วไปใช้น้ำกรองที่ตั้งทิ้งไว้ น้ำกลั่น น้ำบาดาล หรือน้ำที่ปลอดจากวัตถุมีพิษ น้ำที่กรองเพื่อกำจัดสิ่งเจือปนไม่ใช้น้ำประปาเพราะมีคลอรีน • 2. น้ำทะเลใช้น้ำทะเลธรรมชาติตั้งทิ้งไว้ 6 เดือน ในอุณหภูมิต่ำหรือน้ำทะเลเทียมก็ได้ถ้าใช้น้ำทะเลธรรมชาติควรเติมสารอาหารทั้งอินทรีย์สารและอนินทรีย์สาร ส่วนผสมธาตุอาหารที่เติมลงในน้ำทะเลธรรมชาติสามสูตรได้แก่สูตรของ Miquel สูตรของ Allen and Nelson และสูตรของ Ketchum and Redsield Miquel

  10. เทคนิคการแยกเชื้อและการทำให้เชื้อบริสุทธิ์(Isolation and purisication techniques) • การแยกเชื้อให้บริสุทธิ์ต้องทำให้ถูกต้องและเหมาะสมการเก็บเชื้อสาหร่ายต้องคำนึงเป็นประการแรก • การเก็บเชื้อสาหร่าย (Collection)เก็บจากธรรมชาติใช้ถุงแพลงก์ตอนขูดตามก้อนหิน ขูดตามพื้นน้ำ ควรศึกษาทันทีเพื่อป้องกันการเน่าเสียของสาหร่าย • การเก็บธรรมชาติข้อสองเก็บจากดิน ทรายแห้งๆ บริเวณทางน้ำพื้นให้แห้งและหยดน้ำบนดินเล็กน้อย นำจานที่วางทิ้งไว้ 2 ชั่วโมงจะเกิดสาหร่ายและโปรโตซัว

  11. การแยกเชื้อ (Isolation) • 1. เทคนิคการล้างเซลล์ด้วยไมโครปิเปต (Micropipette washing)เป็นการแยกสารขนาดเล็กที่ดูด้วยกล้องจุลทรรศน์โดยใช้ปิเปตขนาดเล็ก Micropipette ดูดสาหร่ายที่เซลล์หรือจำนวนเซลล์ไม่มากนักแล้วล้างด้วยน้ำกลั่นหลายครั้ง • 2. เทคนิคอะตอไมเซอร์ (Atomizer technique)เป็นการแยกเชื้อแล้วทำให้บริสุทธิ์โดยกรปั่นสาหร่ายให้ตกตะกอน (centrifugation) • 3. การเลือกใช้สูตรอาหาร (Selective media)เหมาะแก่สาหร่ายขนาดเล็กที่มองได้ด้วยกล้องจุลทรรศน์ไม่เหมาะกับสาหร่ายขนาดใหญ่โดยการเตรียมเชื้อสาหร่ายที่ต้องการเลี้ยงขจัดสิ่งมีชีวิตอยู่บนสาหร่ายให้หมด

  12. จุดประสงค์เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดไดอะตอมหรือสาหร่ายที่ต้องใช้ ซิลิกาเพื่อการเติบโตในหลอดเลี้ยง • 4. ดุลยภาพทางออสโมติก (Osmotic balance) โดยการล้างสาหร่ายด้วยสารละลายเกลือที่มีความเข้มข้นทางออสโมซิสต่างกันสลับกับล้างตัวอย่างในน้ำกลั่นหลายครั้งการล้างแต่ละครั้งต้องล้างอย่างรวดเร็วเพื่อไม่ให้เสื่อมคุณภาพ • - การทำเชื้อสาหร่ายให้บริสุทธิ์ (Purification) • 1.การล้างด้วยเทคนิคการปั่นให้ตกตะกอน (Washing by centrifugation technique)

  13. 2. เทคนิคทางปฏิชีวนะ (Antibiotic technique)ส่วนผสมยาปฏิชีวนะมี 2 สูตรดังนี้ • สูตรที่ 1 ส่วนประกอบของสต๊อกของสารละลายมีดังนี้ • - เพนิซิลิน จี (1,625 หน่วย / มิลลิกรัม) 0.6 กรัม • - สเตรพโตไมซิน 1.0 กรัม • - น้ำกลั่น 200 มิลลิกรัม • สูตรที่ 2 ส่วนประกอบของสต๊อกมีดังนี้ • - เค เพนนิซิลิน 12,000 หน่วย • - คลอเแรมเฟนิคอล 50 ไมโครกรัม • -โพลีไมซิน 50 ไมโครกรัม • - พีโอไมซิน 60 ไมโครกรัม

  14. 3. เทคนิคการใช้แสงอุลตร้าไวโอเลต (UV Light technique)เหตุที่ใช้แสงอุลตร้าไวโอเลตมาใช้กำจัดแบคทีเรีย • 4. เทคนิคการกรอง(Filter technique) ใช้เครื่องกรองชนิดมัลลิพอร์หรือ member Filter แยกสาหร่ายชนิดเส้นออกจากแบคทีเรีย

  15. การตรวจสอบควาบริสุทธิ์ของเชื้อสาหร่าย(Testing for purity) • เมื่อสาหร่ายผ่านกระบวนการทำให้สะอาดผู้เลี้ยงควรทำการตรวจสอบเพื่อให้แน่ใจว่าสาหร่ายปราศจากแบคทีเรียแล้ว การตรวจสอบทำโดยเลี้ยงสาหร่ายในอาหารมาตรฐานสำหรับเลี้ยงแบคทีเรีย 6 ชนิด อาหารเลี้ยงแบคทีเรียที่ใช้ได้แก่ nutrient broth อาหารวุ้น yeast - dextrose agar , proteose peptona agar , malt agar, sodium casiniata agar และ thiogly collate agar

  16. การฆ่าเชื้อ(Sterilization) • การฆ่าเชื้อ นิยมฆ่าเชื้อในอาหารด้วยหม้อนึ่งความดันที่ความดัน 15 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว นึ่งนาน 15 นาที

  17. การเก็บรักษาเชื้อสาหร่าย(Culture maintenance) • เมื่อได้รับเชื้อสาหร่ายจากแหล่งที่ต้องการแล้วต้องรีบเปลี่ยนอาหารทันทีโดยใช้อาหารที่เจือจางกว่าปกติ ถ้าเป็นสาหร่ายน้ำเค็มต้องใช้น้ำทะเลที่ผ่านการฆ่าเชื้อแล้วและควรใช้แต่อาหารที่มีความเข้มข้นเพียงครึ่งหนึ่งของความเข้มข้นปกติจะช่วยให้สาหร่ายคืนสู่สภาพปกติได้ • การเก็บรักษาพันธุ์สาหร่ายไม่ว่าจะเป็น Unialgal หรือ Pure CULTUREก็ตามจะต้องคอยเปลี่ยนน้ำเลี้ยงใหม่ในระยะที่สาหร่ายเจริญเติบฌตเต็มที่มิฉะนั้นสาหร่ายจะค่อยๆตายหมด

  18. ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของสาหร่ายปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของสาหร่าย • ปัจจัยทางฟิสิกส์ • - แสงสว่าง (Illumination) • - อุณหภูมิ(Temperature) • - ความเป็นกรดเป็นด่าง (PH) • - ความเค็ม (Salinity)

  19. ปัจจัยทางเคมี • อาหารหรือธาตุอาหารซึ่งจำเป็นสำหรับการเจริญเติบโตของสาหร่ายแบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่คือ กลุ่มธาตุอาหารหลัก(macronutrient) และกลุ่มธาตุอาหารรอง(micronutrient) • ธาตุอาหาร( Macronutrient)คือธาตุอาหารที่ประกอบเป็นโครงสร้างของสาหร่ายดังนั้นจึงต้องใช้เป็นปริมาณค่อนข้างมากประกอบด้วยธาตุคาร์บอน ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส ซัลเฟอร์ แคลเซียม โซเดียมโปแตสเซียมและคลอรีน แมกนัเซียม • ธาตุอาหารรอง(Micronutrients) คือธาตุอาหารซึ่งสาหร่ายต้องการใช้น้อย ธาตูอาหารรองเป็นส่วนประกอบของโมเลกุลจำเป็นแบ่งย่อยได้ 2 ประเภท

  20. 1. ธาตุอาหารรองอนินทรีย์(Inorganic micronutrients)ได้แก่ เหล็ก , โบรอน, แมงกานีส ทองแดง และสังกะสี , โมลิบดินัม วานาเดียม โคบอลท์และนิคเกิล , ซิลิกา , เซเลเนียม • 2. ธาตุอาหารรองอินทรีย์(Organic micronutrients)แบ่งได้ 4กลุ่มคือ • 1.คาร์โบไฮเดรต • 2.เกลืออินทรีย์หรือสารประกอบที่มีเกลืออินทรีย์อยู่ด้วย • 3.วิตามิน • 4.อาหารเสริม

  21. ลักษณะของสาหร่ายที่ขาดธาตุอาหารลักษณะของสาหร่ายที่ขาดธาตุอาหาร • 1.ปริมาณสารสี (Pigment )สำหรับใช้ในการสังเคราะห์แสงลดลงเช่น ถ้าขาดธาตุอาหารจะทำให้สีของเซลล์ซีดลง • 2.เซลล์มีการสะสมอาหารเพิ่มขึ้นกว่าปกติเช่นการสะสมแป้งหรือแป้งกับไขมันจะเกิดเมื่อสาหร่ายขาดธาตุอาหารบางชนิอหรือหลายชนิด • 3.เซลล์มีการสังเคราะห์กรดนิวคลีอิกและโปรตีนลดลงทั้งนี้เป็นผลต่อเนื่องจากกรที่เซลล์มีการสะสมแป้งหรือไขมันเพิ่มขึ้น

  22. วิธีวัดมวลชีวภาพและการเจริญเติบโต(Growth and biomass measurements) • การนับเซลล์ (Cell counts) • การวัดการกระจายของแสงหรือความขุ่น (Light sacttering or turbidity) • การวัดน้ำหนักแห้ง (Dry weight measurement) • การวัดคลอรอฟิลล์ (Chlorophyll determination)

More Related