1 / 5

การศึกษาเชิงทดลองและแบบจำลองของการกลั่นเอทานอลแบบแบ่ง ครั้งด้วยพลังงานแสงอาทิตย์

การศึกษาเชิงทดลองและแบบจำลองของการกลั่นเอทานอลแบบแบ่ง<br>ครั้งด้วยพลังงานแสงอาทิตย์

Download Presentation

การศึกษาเชิงทดลองและแบบจำลองของการกลั่นเอทานอลแบบแบ่ง ครั้งด้วยพลังงานแสงอาทิตย์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 1 บทนํา จากความตองการการใชน้ํามันที่เพิ่มสูงขึ้นตลอดเวลาในขณะเดียวกันปริมาณเชื้อเพลิง ฟอสซิลมีปริมาณลดลงเปนผลใหปริมาณสํารองที่ผลิตออกมาไดไมเพียงพอตอความตองการสงผล ใหการปรับตัวของราคาเพิ่มสูงขึ้นอยางรวดเร็วจึงมีความสนใจที่จะหาพลังงานจากแหลงอื่นมา ทดแทนการใชพลังงานจากปโตรเลียมและพลังงานที่นาสนใจอีกตัวหนึ่งก็คือพลังงานจากชีวมวล ที่ไดจากพืชผลการเกษตรที่มีอยูภายในประเทศดวยเหตุนี้เองจึงไดมีการนําเอาพืชผลการเกษตรมา ผลิตเปนเอทานอลและนําเอทานอลมาทําการผสมกับน้ํามันเบนซินในอัตราสวนที่เหมาะสม สามารถใชเปนเชื้อเพลิงของเครื่องยนตสันดาปภายในไดไมกอใหเกิดปญหากับเครื่องยนตทําให ใชปริมาณน้ํามันนอยลงลดการนําเขาน้ํามันเชื้อเพลิงของประเทศไดและในขั้นตอนการกลั่นเอทา นอลใหมีความเขมขนสูงขึ้นนี้เองจะตองมีการใหความรอนเพื่อที่จะใหเกิดการกลั่นปริมาณ พลังงานที่ใชในกระบวนการกลั่นในการใหความรอนนี้เองจะทําใหเกิดความไมคุมคากับการ ลงทุนเพื่อเปนการลดตนทุนในการผลิตเอทานอลจึงไดนําเอาพลังงานจากแสงอาทิตยมาใชในการ ใหความรอนที่จะทําใหเกิดการกลั่นอีกทั้งในขั้นตอนการกลั่นนี้เองเพื่อยืนยันประสิทธิภาพของ ระบบการกลั่นจึงไดสรางแบบจําลองทางคณิตศาสตรขึ้นมาใชในการคํานวณหาปริมาณการกลั่น เพื่อเปรียบเทียบกับการทดลองหาประสิทธิภาพใหเกิดความคุมคาตอการลงทุนมากที่สุด 1.1 ที่มาและความสําคัญของโครงงาน ในปจจุบันความตองการใชน้ํามันเชื้อเพลิงมีปริมาณเพิ่มสูงขึ้นมากในทุกๆปและอัตรา การใชเชื้อเพลิงยังไมมีความหลากหลายมากนักและในไมชาปริมาณเชื้อเพลิงที่สํารองที่มีอยูมี ปริมาณนอยลงจึงเปนผลใหราคาที่มีแนวโนมจะเพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆซึ่งสงผลกระทบกับประเทศ และดานความมั่นคงของพลังงานในประเทศจึงทําใหตองหันไปพึ่งพาเชื้อเพลิงจากตางประเทศที่ ตองมีการนําเขามาในรูปแบบตางๆอยางหลีกเลี่ยงไมไดทําใหสูญเสียเงินตราตางประเทศและเปน การขาดดุลทางการคาดวยดังนั้นการศึกษาและพัฒนาหาแหลงพลังงานทดแทนใหมมาเพื่อเปน แนวทางในการเลือกใชพลังงานใหกวางขวางขึ้นจึงเปนแนวทางใหหันมาทําการผลิตเอทานอล จากผลผลิตทางการเกษตรเพื่อนํามาใชเปนเชื้อเพลิงที่มีราคาถูกลงและนอกจากเปนการแกปญหา ทางดานพลังงานโดยตรงแลวยังสามารถชวยแกปญหาราคาพืชผลทางการเกษตรไดดวยเปนการ เพิ่มมูลคาของผลผลิตทางการเกษตรอีกดวยโดยในกระบวนการผลิตจะเริ่มตนจากการนําผลิตผล ทางการเกษตรมาหมักใหเกิดการยอยสลายของจุลินทรียที่มีอยูในธรรมชาติจะไดสารละลายเอทา นอลที่มีความเขมขนประมาณ 8 – 10 เปอรเซ็นตโดยปริมาตรจากนั้นก็จะนําไปผานกระบวนการ

  2. 2 กลั่นจะไดเอทานอลที่มีความเขมขนสูงขึ้นปจจัยที่สําคัญคือพลังงานความรอนที่ใชในการระเหย เพื่อแยกสารละลายเอทานอลและน้ําที่มีอุณหภูมิจุดเดือดที่ตางกันโดยจุดเดือดของน้ําที่สภาวะ บรรยากาศจะอยูที่ 100 C และจุดเดือดของเอทานอลจะอยูที่อุณหภูมิ 78.3 C เราสามารถแยกสาร ทั้งสองออกไดดวยการใชพลังงานจากแสงอาทิตย ในโครงงานนี้จะไดศึกษาเพื่อทดสอบสมรรถนะของการกลั่นเอทานอลแบบแบงครั้งโดย ใชพลังงานแสงอาทิตยพรอมทั้งสรางแบบจําลองทางคณิตสําหรับทํานายผลของการกลั่นไดตลอด ทั้งปตอไป 1.2 สรุปสาระที่สําคัญจากเอกสารที่เกี่ยวของ แนวทางหลักในการศึกษาคือสรางเครื่องการกลั่นเอทานอลแบบแบงครั้งดวยพลังงาน แสงอาทิตยที่ทํางานภายใตความดันบรรยากาศโดยอาศัยตัวเก็บรังสีอาทิตยแบบแผนเรียบที่มี ขนาดพื้นที่รับรังสีอาทิตย 4.4 ตารางเมตรและทําการทดลองเพื่อหาสมรรถนะของระบบการกลั่น และนําขอมูลที่ไดมาเปรียบเทียบกับผลที่ไดจากการทดลองจากแบบจําลองทางคณิตศาสตร ยืนยันความถูกตองของแบบจําลองทางคณิตศาสตรกอนที่จะนําแบบจําลองทางคณิตศาสตรไป ทํานายผลของการกลั่นเอทานอลที่ใชไดตลอดปตอไป เพื่อ Hot Ethanol Cold Ethanol 1. Boiler 2. Check Valve 3. Solar Collector 4. Condenser No.1 5. Condenser No.2 6. Distillated 7. Thermocouples รูปที่ 1.1 แสดงไดอะแกรมการทํางานของเครื่องกลั่นเอทานอลแบบแบงครั้งดวยพลังงาน แสงอาทิตย

  3. 3 สําหรับในการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการกลั่นเอทานอลดวยพลังงานแสงอาทิตยที่ผานมาได มีนักวิจัยหลายทานที่ทําการศึกษาโดยการใชวิธีการและเทคนิคการกลั่นที่แตกตางกันออกไป ตัวอยางเชนToure et al. (1999) ทําการศึกษาเครื่องกลั่นเอทานอลพลังงานแสงอาทิตยแบบอางซึ่ง ประกอบไปดวยอางสองอางและมีกระจกเอียงสองดาน Namprakai et al. (1996) พัฒนา แบบจําลองทางคณิตศาสตรสําหรับทํานายอัตราการถายเทความรอนและอัตราการถายเทมวลของ เครื่องกลั่นเอทานอลพลังงานแสงอาทิตยแบบอางที่มีกระจกสองชั้นเอียงดานเดียวเทียบกับผลการ ทดลองวิชาญกองตาวงษ (2526) ศึกษาการกลั่นเอทานอลดวยพลังงานแสงอาทิตยโดยใชตัว เก็บรังสีแสงอาทิตยแบบแผนเรียบดําเนินการภายใตความดันบรรยากาศเกษตรชัยมณีวงษ (2525) ศึกษาการกลั่นเอทานอลดวยพลังงานแสงอาทิตยโดยใชเครื่องกลั่นพลังงานแสงอาทิตยแบบ ขั้นบันไดพรประสิทธิ์คงบุญ (2546) พัฒนาแบบจําลองทางคณิตศาสตรสําหรับทํานายผลการ กลั่นเอทานอลดวยตัวเก็บรังสีแสงอาทิตยแบบทอความรอนเทียบกับผลการทดลองใชระบบกลั่น สองแบบคือระบบกลั่นแบบเติมสารครั้งเดียวและแบบเติมสารอยางตอเนื่องเปนตน ระบบการกลั่นเอทานอลโดยใชพลังงานแสงอาทิตยดวยเทคนิคการกลั่นแบบแบงครั้งที่ ทําการศึกษาหลักการทํางานเริ่มตนจากสารละลายเอทานอลที่มีความเขมขนประมาณ 8 – 10 เปอรเซ็นตโดยปริมาตรซึ่งบรรจุอยูในถังถูกปอนเขาไปรับความรอนที่ตัวเก็บรังสีแสงอาทิตยเมื่อ สารละลายเอทานอลไดรับความรอนก็จะเริ่มเดือดเปนไอและมีความดันสูงขึ้นผลักดันใหของผสม ระหวางไอและของเหลวจะไหลขึ้นไปตามทอในแนวดิ่งเขาสูถังแยกไอ – ของเหลวหลังจากนั้น สวนที่เปนของเหลวจะถูกแยกออกจากไอและไหลออกทางดานลางของถังแยกไอ – ของเหลว สําหรับสวนที่เปนไอจะไหลผานไปตามทอดานบนของถังแยกไอ – ของเหลวเพื่อไประบาย ความรอนที่คอนเดนเซอรและกลั่นตัวไดเอทานอลที่มีความเขมขนสูงขึ้นตอไปและเนื่องจาก ขั้นตอนที่ไดกลาวมาขางตนจะเห็นวาการศึกษาเรื่องการกลั่นเอทานอลดวยพลังงานแสงอาทิตยมี ความยุงยากทั้งในเรื่องปจจัยในเรื่องของสภาพอากาศขั้นตอนการศึกษาที่มีความซับซอนและ ปริมาณของการกลั่นที่แนนกลั่น เพื่อที่จะลดปญหาที่เกิดขึ้นนี้ใหลดนอยลงจึงไดแนวคิดที่จะสรางแบบจําลองทาง คณิตศาสตรของการกลั่นเอทานอลขึ้นมาเพื่อนํามาเปรียบเทียบกับผลการทดลองเปนแนวทางที่ใช ในการออกแบบเครื่องกลั่นเอานอลเพื่อใหเกิดประสิทธิภาพตอไป การศึกษาเชิงทดลองและแบบจําลองทางคณิตศาสตรของการกลั่นเอทานอลแบบแบงครั้ง ดวยพลังงานแสงอาทิตยโดยจะมีรูปแบบฟอรมการทํางานของโปรแกรมชวยในการคํานวณดังรูปที่ 1.2 และแสดงขอมูลออกเปนกราฟเพื่อใหงายตอความเขาใจในการศึกษาดังรูปที่ 1.3

  4. 4 รูปที่ 1.2 แสดงแบบฟอรมการกลั่นเอทานอลแบบแบงครั้งดวยพลังงานแสงอาทิตย รูปที่ 1.3 การแสดงขอมูลออกมาเปนกราฟ

  5. 5 1.3 วัตถุประสงคของโครงงาน 1.3.1 เพื่อสรางแบบจําลองการทํางานของระบบการกลั่นเอทานอลแบบแบงครั้งดวย พลังงานแสงอาทิตย ดวยพลังงานแสงอาทิตย 1.4 ขอบเขตของโครงงาน 1.4.1 สารละลายที่ใชไดมาจากเอทานอลผสมกับน้ํากลั่นจนมีความเขมขน 10 เปอรเซ็นต 1.4.2 ตัวเก็บรังสีอาทิตยแบบแผนเรียบขนาดพื้นที่ 4.4 ตารางเมตร 1.4.3 เวลาที่ทําการทดลอง 08.00 น. – 16.00 น. 1.4.4 ตัวเก็บรังสีหันหนาไปทางทิศใตทํามุมเอียง 14 องศากับแนวระนาบ 1.4.5 ใชคารังสีอาทิตยของจังหวัดกรุงเทพมหานคร 1.5 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับจากโครงงาน 1.5.1 ไดแบบจําลองการกลั่นเอทานอลแบบแบงครั้งดวยพลังงานแสงอาทิตย 1.5.2 สามารถนําเอาขอมูลจากโครงการไปขยายผลเพื่อนําไปพัฒนาการทํางานของ ระบบการกลั่นเอทานอลแบบแบงครั้งดวยพลังงานแสงอาทิตยที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น 1.3.2 เพื่อทดสอบหาสมรรถนะการทํางานของระบบการกลั่นเอทานอลแบบแบงครั้ง

More Related