310 likes | 712 Views
มาตรฐานการวัด คุณภาพตัวชี้วัด และ สถิติ. อาจารย์ นาวาโท ดร.บุญเรือง เกิดอรุณเดช สถาบันนวัตกรรมการจัดการ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. แนวคิด Causal Relationship Model. ตัวแปรภายใน ( Endogenous Factors) I, J, K,. ตัวแปรมาก่อน (Antecedent Variables) A, B, C,. Z. X. ตัวแปรภายนอก
E N D
มาตรฐานการวัด คุณภาพตัวชี้วัด และ สถิติ อาจารย์ นาวาโท ดร.บุญเรือง เกิดอรุณเดช สถาบันนวัตกรรมการจัดการ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แนวคิด Causal Relationship Model ตัวแปรภายใน (Endogenous Factors) I, J, K,... ตัวแปรมาก่อน (Antecedent Variables) A, B, C,... Z X ตัวแปรภายนอก (Exogenous Factors) Q, R, S,…. Y ตัวแปรอิสระ (X) คือ ตัวแปรต้น ตัวแปรที่มีค่าเปลี่ยนแปลงได้อย่างอิสระไม่ได้ถูกกำหนดจากตัวแปรอื่นๆ ที่ผู้วิจัยกำลังศึกษา หรือตัวแปรที่เป็นสาเหตุให้ตัวแปรอื่นเปลี่ยนแปลงตามตัวแปรตาม (Y)คือ ตัวแปรตาม หรือ ตัวแปรที่ผันแปรค่าไปตามการเปลี่ยนแปลงของตัวแปรอื่นๆ (ตัวแปรอิสระ หรือ ตัวแปรต้น)
Effect/Relation การสร้างกรอบแนวคิดเพื่อพิสูจน์สมมุติฐานทางสถิติ หลักในการสร้างกรอบแนวความคิดเพื่อพิสูจน์สมมุติฐานทางสถิติ • สร้างแบบกรอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระ ตัวแปรกลาง ตัวแปรตาม Cause Consequence Direct Effect Indirect Effect X1 X1 X2 Y X3 Y X2 X3 Observed
การนำเสนอกรอบในการวิจัยการนำเสนอกรอบในการวิจัย ความรู้ ค่านิยม การติดเชื้อเอดส์ ฐานะทางบ้าน อิทธิพลเพื่อน ความรู้ การติดเชื้อเอดส์ ฐานะทางบ้าน ค่านิยม อิทธิพลเพื่อน Y = f(P, Q, R, S)
การนำเสนอกรอบในการวิจัยการนำเสนอกรอบในการวิจัย ลักษณะส่วนบุคคล • เพศ • อายุ • ระดับการศึกษา • ประสบการณ์ทำงาน ลักษณะงาน ความผูกพันต่อองค์กร • ความหลากหลายในงาน • ความมีอิสระในงาน • การรับรู้ลักษณะงาน • ความน่าสนใจของงาน บทบาทหน้าที่
ตัวแปร (Variable) • ความหมาย: • “สิ่งต่างๆ หรือลักษณะต่างๆ ที่แสดงให้เห็นถึงสถานการณ์ที่ปรากฏในประเด็นที่ต้องการศึกษา โดยมีค่าที่แปรเปลี่ยนกันไปในแต่ละหน่วยของประชากรที่ศึกษา”
การวัดตัวแปร • การนิยามตัวแปร • ตัวแปรที่มีลักษณะเป็นรูปธรรม รายได้ • ตัวแปรที่มีลักษณะเป็นนามธรรม ความยากของข้อสอบ • นิยามเชิงทฤษฎี:ความรู้สึกของผู้สอบที่ทำข้อสอบไม่ได้ • นิยามเชิงปฏิบัติการ: สัดส่วนของจำนวนผู้ที่ตอบข้อสอบถูกต่อจำนวนผู้สอบทั้งหมด
การวัดตัวแปร • ระดับมาตรวัดตัวแปร(Steven, 1960) • มาตรนามบัญญัติ (Nominal Scale) • ค่าตัวแปรเป็นการจำแนกประเภทหรือการจัดหมวดหมู่ของสิ่งต่างๆ • ไม่สามารถเรียงลำดับ หรือบอกปริมาณความแตกต่างได้ • เช่น เพศ (ชาย หญิง) • มาตรอันดับ (Ordinal Scale) • ค่าตัวแปรเรียงลำดับได้ แต่ไม่สามารถบอกปริมาณความแตกต่างระหว่างแต่ละค่าได้อย่างชัดเจน • การจัดลำดับต้องมีเกณฑ์ช่วย • เช่น ความสามารถในการร้องเพลง(การใช้เสียง ออกเสียงถูกต้อง การแสดงออกที่น่าประทับใจ)
การวัดตัวแปร • ระดับมาตรวัดตัวแปร(Steven, 1960) • มาตรอันตรภาค (Interval Scale) • ค่าตัวแปรสามารถเรียงลำดับและบอกปริมาณความแตกต่างระหว่างแต่ละค่าได้อย่างชัดเจน แต่ไม่มีค่าเป็นศูนย์แท้ • เช่น ความแตกต่างของคะแนนสอบ10-20 มีความแตกต่างของคะแนนสอบ 20-30 แต่นักเรียนสอบได้ 0 ไม่ได้หมายความว่านักเรียนคนนั้นไม่มีความรู้ เพราะคำถามไม่ตรงกับที่ตนรู้ • มาตรอัตราส่วน (Ratio Scale) • ค่าตัวแปรสามารถเรียงลำดับและบอกปริมาณความแตกต่างระหว่างแต่ละค่าได้อย่างชัดเจน และมีค่าเป็นศูนย์แท้ (บอกอัตราส่วนของค่าหนึ่งต่ออีกค่าหนึ่งได้) • เช่น ความสูง น้ำหนัก อายุ
การใช้สถิติ.........ต้องใช้ให้เป็นการใช้สถิติ.........ต้องใช้ให้เป็น ภาคพรรณา ภาคอ้างอิง ค่าร้อยละฐานนิยมมัธยฐานค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบน T-test/F-testPost Hoc testmancova/manovaCorrelationetc.
สถิติเบื้องต้นที่ใช้ในการประมวลผลสถิติเบื้องต้นที่ใช้ในการประมวลผล 1. ค่าความถี่ (Frequency) 2. ค่าเฉลี่ย (Mean) 3. ร้อยละ (Percentage) สถิติเหล่านี้ แสดงลักษณะทั่วไปของข้อมูลเท่านั้น หรือ เป็นเพียงผลการวิเคราะห์เบื้องต้น
แนวคิดเรื่องการใช้สถิติเพื่อการวิจัย 1.) เพื่อพิจารณาการกระจายของข้อมูล และพรรณนาผลเบื้องต้น • ค่าความถี่ (Frequencies) • ค่าร้อยละ (Percent) • ค่าเฉลี่ยมัชฌิมเลขณิต (Mean) • ค่ามัธยฐาน (Median) • ค่าฐานนิยม (Mode) • ค่าต่ำสุด (Minimum) • ค่าสูงสุด (Maximum) • ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation)
การเลือกใช้สถิติ • เปรียบเทียบความแตกต่าง • ความถี่ หรือสัดส่วน • ค่าเฉลี่ย • ความแปรปรวน • 2 -test • t-test, One-way Anova • F-test • บรรยายความสัมพันธ์ • Correlation 4. เพื่อทำนาย • Trend analysis, Regression Analysis จุดมุ่งหมาย • บรรยายลักษณะตัวแปร • แจกแจงความถี่ • จัดลำดับเปรียบเทียบ • วัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง • วัดการกระจาย • วัดความสัมพันธ์ • แผนภูมิ ตาราง • Proportion, Ratio, Percent • Mean, Median, Mode • Standard Deviation, Variance • Correlation
การเลือกใช้สถิติ 2. Ordinal Scale บวกถึงความแตกต่างของหน่วยการวัด แต่ระยะห่างของแต่ละหน่วยไม่สามารถระบุได้ จึง บวก ลบ คูณ หาร กันไม่ได้ • แจกแจงความถี่ • ร้อยละ ตาราง แผนภูมิ • วัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง • Mode, Median • วัดการกระจาย • Range • วัดความสัมพันธ์ • Spearman Rank-order Correlation • 2 -test มาตรของตัวแปร Scale Descriptive Inferential 1. Nominal Scale บวก ลบ คูณ หาร กันไม่ได้ • แจกแจงความถี่ • ร้อยละ ตาราง แผนภูมิ • วัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง • Mode • วัดความสัมพันธ์ • Phi Correlation • 2 -test
การเลือกใช้สถิติ 2. Ratio Scale บวก ลบ คูณ หาร กันได้และมีศูนย์แท้ • แจกแจงความถี่ • ร้อยละ ตาราง แผนภูมิ • วัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง • Mean • วัดการกระจาย • Standard Deviation • วัดความสัมพันธ์ • Pearson Correlation • 2 –test • t-test, F-test, Anova มาตรของตัวแปร Scale Descriptive Inferential 1. Interval Scale บวก ลบ คูณ หาร กันได้ เพราะความแตกต่างของแต่ละหน่วยในตัวแปรมีระยะห่างเท่าๆ กัน • แจกแจงความถี่ • ร้อยละ ตาราง แผนภูมิ • วัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง • Mean • วัดการกระจาย • Standard Deviation • วัดความสัมพันธ์ • Pearson Correlation • 2 –test • t-test, F-test, Anova
สถิติบรรยาย ความถี่ของ A ความถี่ของ B • สัดส่วน (Proportion): • ร้อยละ (Percentage): สัดส่วน x 100 • มัชฌิมเลขคณิต (Mean) X X = • มัธยฐาน (Median) n 6, 8, 12, 21, 24 ความถี่ของส่วนย่อย ความถี่ของทั้งหมด 2, 6, 8, 12, 21, 24 • ฐานนิยม (Mode) 2, 6, 8, 8, 12, 12, 12, 21, 24 • อัตราส่วน (Ratio):
สถิติบรรยาย • พิสัย (Range): คะแนนที่มีค่าสูงสุด - คะแนนที่มีค่าต่ำสุด • Quartile Deviation: Q3 – Q1 2 • Standard Deviation: (X – X)2 • Variance: N (X – X)3 n • Coefficient of Variation: (X – X)2 100 x S.D. S3 N X • Skewness
กราฟที่นิยมใช้ กราฟแท่ง กราฟวงกลม กราฟเส้น
Sampling Instrument Pre-test Collecting Right Way วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล • การใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) • การทดสอบ (Testing) • การสัมภาษณ์ (Interview) • การสังเกต (Observation) • การเข้าไปมีส่วนร่วมในชุมชน (Participation)
3. เทคนิคการเขียนเครื่องมือการวิจัย 3.1 ความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือการวิจัย ความสำคัญของเครื่องมือการวิจัย เครื่องมือการวิจัยมีบทบาทที่สำคัญในขั้นตอนของการเก็บรวบรวมข้อมูล ผลการวิจัยจะเชื่อถือได้มากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับเครื่องมือการวิจัยที่ใช้ ถ้าผู้วิจัยเลือกเครื่องมือการวิจัยได้เหมาะสมกับเรื่องที่จะวิจัย และเครื่องมือการวิจัยนั้นมีคุณภาพสูงก็จะทำให้ได้ผลการวิจัยที่เชื่อถือได้มากด้วย เช่น ใช้การสังเกตแทนที่จะใช้การทดสอบกับเด็กเล็ก ใช้การสัมภาษณ์กับชาวบ้านแทนการใช้แบบสอบถาม ซึ่งอาจมีปัญหาเรื่องการอ่านหนังสือไม่ออก เป็นต้น ลักษณะของเครื่องมือการวิจัยที่ดี 1) ความเที่ยงตรงหรือความตรง (Validity)2) อำนาจจำแนก (Discrimination) 3) ความเชื่อมั่นหรือความเชื่อถือได้หรือความเที่ยง (Reliability)
การได้มาซึ่งเครื่องมือการวิจัยการได้มาซึ่งเครื่องมือการวิจัย 1) ผู้วิจัยสร้างเองทั้งหมด ตามที่นิยามศัพท์เฉพาะไว้ เนื่องจากตัวแปรตามที่สนใจจะศึกษายังไม่มีใครศึกษา 2) ผู้วิจัยสร้างเอง โดยใช้วิธีการปรับปรุงจากเครื่องมือการวิจัยของผู้วิจัยท่านอื่นที่วัดตัวแปรตามเดียวกันหรือคล้ายคลึงกัน 3) ผู้วิจัยใช้เครื่องมือการวิจัยของผู้วิจัยท่านอื่นโดยใช้ทั้งฉบับ เนื่องจากเป็นเครื่องมือวิจัยที่วัดได้ตรงตามนิยามและมีคุณภาพดี และลักษณะกลุ่มตัวอย่างก็เป็นลักษณะเดียวกันหรือคล้ายคลึงกัน
3.2 วิธีการเลือกเครื่องมือ 1) แบบสอบถาม (Questionnaire) 2) การสัมภาษณ์ (Interview) 3) มาตราวัดเจตคติ หรือทัศนคติ (Attitude scale) 4) การสังเกต (Observation) 5) แบบทดสอบ (Test) ผู้วิจัยจะเลือกใช้เครื่องมือการวิจัยชนิดใด พิจารณาจากสิ่งที่ต้องการศึกษาโดยเฉพาะตัวแปรตาม เช่น 1) ตัวแปรตามประเภท ความคิดเห็น ทัศนะ หรือความพึงพอใจ ที่มีต่อสิ่งหนึ่งสิ่งใด ตัวแปรลักษณะเหล่านี้มักนิยมใช้แบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating scale)ซึ่งอาจเป็น 4 ระดับ หรือ 5 ระดับ แล้วแต่ความเหมาะสม
2) ตัวแปรตามประเภท เจตคติ มักนิยมใช้แบบวัดเจตคติ แบบลิเคอร์ท หรือแบบออสกูด เช่น เจตคติต่อวิชาคอมพิวเตอร์ เจตคติต่อนักการเมือง เจตคติต่อสินค้า OTOP เป็นต้น 3) ตัวแปรตามประเภท พฤติกรรมบริโภค เช่น พฤติกรรมการใช้บริการของธนาคาร พฤติกรรมการใช้สบู่สมุนไพร พฤติกรรมการบริโภคไอศกรีม เป็นต้น ตัวแปรลักษณะเช่นนี้ นิยมใช้แบบสอบถามแบบเลือกตอบ ซึ่งจำนวนตัวเลือกในแต่ละข้อคำถามไม่จำเป็นต้องเท่ากันแต่ต้องครอบคลุมคำตอบที่เป็นไปได้ทั้งหมด