1 / 25

บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฟิสิกส์

บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฟิสิกส์. วฟ.401 ฟิสิกส์1. การแบ่งวิชาวิทยาศาสตร์ออกเป็นวิทยาศาสตร์แขนงต่าง ๆ. ความหมายของคำว่า “ ฟิสิกส์ ”. ฟิสิกส์ ( PHYSICS ) มาจากภาษากรีก มีความหมายว่า “ธรรมชาติ”. ฟิสิกส์ เป็นส่วนหนึ่งของวิทยาศาสตร์ (science)

Download Presentation

บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฟิสิกส์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฟิสิกส์ วฟ.401 ฟิสิกส์1

  2. การแบ่งวิชาวิทยาศาสตร์ออกเป็นวิทยาศาสตร์แขนงต่าง

  3. ความหมายของคำว่า “ ฟิสิกส์ ” • ฟิสิกส์ (PHYSICS) มาจากภาษากรีก • มีความหมายว่า “ธรรมชาติ” ฟิสิกส์ เป็นส่วนหนึ่งของวิทยาศาสตร์ (science) เป็นวิทยาศาสตร์กายภาพซึ่งว่าด้วยสิ่งไม่มีชีวิต ในธรรมชาติโดยเน้นถึงกิจกรรม การค้นคว้า หาความจริงจากธรรมชาติ

  4. ตัวอย่างแขนงวิชาของฟิสิกส์ตัวอย่างแขนงวิชาของฟิสิกส์ • พลังงาน • อิเล็กทรอนิกส์ • ดาราศาสตร์ • นิวเคลียร์

  5. ปริมาณทางฟิสิกส์ • หมายถึง สิ่งที่เราสามารถวัดค่าได้ บอกค่าได้แน่นอน • และใช้แสดงกฎเกณฑ์ต่าง ๆ ได้ • ปริมาณทางฟิสิกส์ได้กำหนดหน่วยสำหรับปริมาณ • นั้นๆ โดยองค์กรระหว่างชาติเพื่อการมาตรฐาน • เพื่อใช้เป็นมาตรฐานเดียวกันทั่วโลก เรียกระบบนั้นว่า • ระบบเอสไอ ( SI Unit: International System of Unit )

  6. ปริมาณทางฟิสิกส์ จำแนกตามหน่วยได้ 2 พวก ได้แก่ • 1.หน่วยฐาน เป็นฐานของหน่วยทั้งหลาย • 2.หน่วยอนุพันธ์ เป็นหน่วยที่เกิดจากหน่วยฐาน • หลายๆ หน่วยประกอบกัน

  7. หน่วยฐาน ในระบบ SI7 หน่วย

  8. หน่วยอนุพันธ์ ในระบบ SI ที่ควรทราบ

  9. คำอุปสรรค ( ตัวนำหน้าหน่วย )

  10. การวัด การวัดปริมาณต่าง ๆ จะถูกต้องและเที่ยงตรงมากน้อยเพียงใด ขึ้นอยู่กับหลาย ๆ ปัจจัย ปัจจัยสำคัญ ได้แก่ - เครื่องมือวัด - วิธีการวัด - ตัวผู้วัด - สภาพแวดล้อมขณะทำการวัด

  11. เลขนัยสำคัญ คือ ปริมาณเลขที่ได้จาการวัด หรือ การทดลอง หลักการนับเลขนัยสำคัญ 1.ไม่ใช่ศูนย์นับทั้งหมด 2. เลขศูนย์ที่อยู่ระหว่างตัวเลขนัยสำคัญ ถือเป็น เลขนัยสำคัญ 3.เลขศูนย์ทางซ้ายไม่นับ 4.เลขศูนย์ทางขวา หลังจุดทศนิยมนับทั้งหมด 5.เลขศูนย์ทางขวาจำนวนเต็มอาจนับหรือไม่นับก็ได้

  12. การบันทึกเลขนัยสำคัญ 1.เลขตัวสุดท้ายได้จากการคาดคะเน 2.เลขทุกตัวก่อนตัวสุดท้าย อ่านได้จากสเกล 3.ต้องบอกความไม่แน่นอนในการคาดคะเน เช่นบอกความละเอียด

  13. การคำนวณเลขนัยสำคัญ 1.การบวกลบ ผลลัพธ์ ควรมีจำนวนตัวเลขหลังจุดทศนิยมเท่ากับจำนวนตัวเลขหลังจุดทศนิยมที่น้อยที่สุดในกลุ่มที่นำมาบวกหรือลบกัน 2.การคูณหารกัน ผลลัพธ์ ควรมีจำนวนตัวเลขนัยสำคัญเท่ากับจำนวนตัวเลขนัยสำคัญที่น้อยที่สุดในกลุ่มที่นำมาคูณหารกัน

  14. ใช้สัญลักษณ์ แทนค่าความคลาดเคลื่อนของ A ความคลาดเคลื่อนของการวัด คือ โอกาสที่ผลการวัดจะคลาดเคลื่อนจากความเป็นจริง เกิดขึ้นที่เลขตัวสุดท้ายของผลการบันทึก ซึ่งได้จากการคาดคะเน

  15. -การบวก - การลบ - การคูณ - การหาร การบวกลบ,คูณหารความคลาดเคลื่อน

  16. % การหาเปอร์เซ็นต์ความคลาดเคลื่อนแต่ละตัว(%A) เปอร์เซ็นต์ความคลาดเคลื่อนของปริมาณ (A)

  17. ปริมาณทางฟิสิกส์ จำแนกตามคุณลักษณะเฉพาะได้ 2 ชนิด ได้แก่ • 1.ปริมาณสเกลาร์ คือ ปริมาณที่บอกเฉพาะขนาด • ของปริมาณนั้น ๆ • 2.ปริมาณเวกเตอร์ คือ ปริมาณที่มีทั้งขนาดและทิศทาง • โดยใช้สัญลักษณ์หัวลูกศรแสดงทิศทาง • ความยาวลูกศรแทนขนาดของปริมาณเวกเตอร์

  18. เวกเตอร์ • การหาผลลัพธ์ของปริมาณเวกเตอร์ ต้องอาศัยวิธีการทางเวกเตอร์ โดยต้องหาผลลัพธ์ทั้งขนาดและทิศทาง • เวกเตอร์ที่เท่ากัน : เวกเตอร์ 2 เวกเตอร์จะเท่ากันได้ • ต้องมีขนาดเท่ากัน และมีทิศทางไปในทางเดียวกันด้วย • เวกเตอร์ตรงข้ามกัน : เวกเตอร์ 2 เวกเตอร์จะตรงข้ามกัน • เมื่อเวกเตอร์ทั้งสองมีขนาดเท่ากัน

  19. การบวกลบเวกเตอร์ • การบวก-ลบเวกเตอร์ หรือการหาเวกเตอร์ลัพธ์ • สามารถทำได้ 2 วิธีคือ 1. วิธีการเขียนรูป 2. วิธีการคำนวณ

  20. วิธีการเขียนรูปแบบหางต่อหัววิธีการเขียนรูปแบบหางต่อหัว • มีขั้นตอนดังนี้ 1. เขียนลูกศร แทนเวกเตอร์แรกตามขนาดและทิศทาง 2. นำหางของเวกเตอร์ที่ 2 ต่อกับหัวลูกศรของ เวกเตอร์แรก 3. ถ้ามีเวกเตอร์ย่อยๆ อีกให้กระทำเหมือนข้อ2 จนครบ 4. เวกเตอร์ลัพธ์ หาได้โดยการลากลูกศรจากหางของ เวกเตอร์แรกไปยังหัวลูกศรของเวกเตอร์อันสุดท้าย

  21. การหาเวกเตอร์ลัพธ์ด้วยวิธีการคำนวณการหาเวกเตอร์ลัพธ์ด้วยวิธีการคำนวณ แบ่งเป็น 2 ลักษณะ • 1.เมื่อมีเวกเตอร์ 2 เวกเตอร์ เท่านั้น - เวกเตอร์ทั้งสองไปทางเดียวกัน R=A+B - เวกเตอร์ทั้งสองสวนทางกัน R=A-B เมื่อA>B R=B-A เมื่อB>A

  22. คำนวณหาทิศทางได้จากสมการคำนวณหาทิศทางได้จากสมการ คือมุมระหว่าง Rกับ A - เวกเตอร์ทั้งสองทำมุม ต่อกัน

  23. - หาขนาดของเวกเตอร์ลัพธ์ได้จาก • 2.เมื่อมีเวกเตอร์ย่อยมากกว่า 2 เวกเตอร์ - ตั้งแกนตั้งฉากกัน 2 แกน ที่จุดตัดของเวกเตอร์เหล่านั้น ( x , y ) - แยกเวกเตอร์เหล่านั้นให้อยู่บนแกน x และ y - เวกเตอร์ที่อยู่บนแกน x และ y แล้วไม่ต้องแยก - รวมเวกเตอร์

  24. หาทิศทางของเวกเตอร์ลัพธ์ ได้จาก เมื่อ คือมุมที่เวกเตอร์ลัพธ์กระทำกับแกน X

  25. การแปลความหมายข้อมูล การบันทึกข้อมูลทางฟิสิกส์ สามารถทำได้หลายแบบด้วยกันคือ 1.การบันทึกข้อมูลในตาราง 2.การนำเสนอข้อมูล สามารถทำได้หลายแบบ เช่น แผนภูมิแท่ง แผนภูมิวงกลม เป็นต้น 3.การเขียนกราฟระบบพิกัดฉาก เป็นการแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณเป็นตัวแปรสองตัว แล้วนำค่าทั้งสองมาพล๊อตลงในกราฟของแกน x และ y

More Related