650 likes | 2.06k Views
โรคปอดจากการทำงาน. รู้ได้อย่างไรว่าปอด“ป่วย” - ไม่มีอาการ. สิ่งที่ทำให้ปอด“ป่วย” . เส้นใย แอสเบสทอส ฝุ่น ซิลิก้า ฝ้าย ชานอ้อย สารเคมี กรดกำมะถัน เบอริลเลียม แคดเมียม ก๊าซคลอรีน ไอด่าง ฟูมสังกะสี เชื้อโรค วัณโรค ไวรัส ซาร์ส ไข้หวัดนก. ชนิด ขนาด ปริมาณ ระยะเวลา.
E N D
รู้ได้อย่างไรว่าปอด“ป่วย” - ไม่มีอาการ
สิ่งที่ทำให้ปอด“ป่วย” • เส้นใย แอสเบสทอส • ฝุ่น ซิลิก้า ฝ้าย ชานอ้อย • สารเคมี กรดกำมะถัน เบอริลเลียม แคดเมียม ก๊าซคลอรีน ไอด่าง ฟูมสังกะสี • เชื้อโรค วัณโรค ไวรัส ซาร์ส ไข้หวัดนก ชนิด ขนาด ปริมาณ ระยะเวลา
โรคปอดจากการทำงาน • Pneumoconiosis ได้แก่ โรคปอดใยหิน โรคแอสเบสโตสิส • โรค Byssinosis • โรคหอบหืดจากการทำงาน • โรคปอดอักเสบจากการทำงาน • โรคมะเร็ง
ขนาดของอนุภาคที่ตกในระบบทางเดินหายใจขนาดของอนุภาคที่ตกในระบบทางเดินหายใจ 10 um and above 5.8 - 10 4.7 - 5.8 3.3 - 4.7 2.1 - 3.3 1.1 - 2.1 0.43 - 1.1
โรคฝุ่นสิลิกา(Silicosis) • ประวัติการสัมผัส • การทำงานสัมผัสฝุ่นหินเป็นประจำตั้งแต่ 6 เดือนขึ้นไปใน อุตสาหกรรมแก้ว เซรามิค ครกหิน อิฐ กระเบื้องทนไฟ การพ่นทรายเพื่อทำความสะอาดผิวโลหะ การใช้หินขัดผิวโลหะ การระเบิดหิน โม่หิน ขัดหิน ซีเมนต์ เหมืองแร่
อาการและอาการแสดง • ไอ • มีเสมหะ • ไอเป็นเลือด • หอบเหนื่อย • มะเร็งปอด
โรคฝุ่นสิลิกา(Silicosis) • ลักษณะทางคลีนิก แบบเฉียบพลัน มีอาการหลังได้รับฝุ่นมากระยะเวลาเป็นเดือน แบบเรื้อรัง มีอาการหลังได้รับฝุ่นเป็นเวลามากกว่า 15 ปี แบบเร่ง มีอาการแบบเรื้อรังหลังได้รับฝุ่นในระยะเวลา 1-15 ปี • การตรวจเพื่อยืนยัน ภาพรังสีทรวงอก
โรคปอดฝุ่นหิน (Silicosis) • เกณฑ์การวินิจฉัยโรค ประวัติการสัมผัสฝุ่นหิน ภาพรังสีทรวงอกมีเงาผิดปกติเข้าได้กับโรคฝุ่นหิน อาการและอาการแสดงดังกล่าวข้างต้น
โรคปอดใยหิน (Asbestosis) แอสเบสตอส
โรคปอดใยหิน (Asbestosis) • เป็นภาวะปอดเนื้อพังผืดที่เกิดจากการหายใจฝุ่นใยหินเข้าไป • อาชีพ ทำเกี่ยวกับแร่ใยหิน, อู่ซ่อมเรือ, ผ้าเบรก • เอกลักษณ์ มักเริ่มที่ส่วนล่างของปอด • อาการมักหลังจากการสัมผัสไม่น้อยก่วา 7-10ปี • อาการเริ่มช้าๆ หอบเมื่อออกกำลัง, ไอแห้งๆ, เจ็บหน้าอก • ระยะแรกไม่พบอาการแสดง • ระยะหลัง หอบรุนแรงขึ้น, ผิวเขียว, นิ้วปุ้ม, หัวใจล้มเหลว
โรคฝุ่นฝ้าย (Byssinosis) • ประวัติการสัมผัส ทำงานหรือสัมผัสฝุ่นใยฝ้าย ป่าน ปอ หรือลินิน ในอุตสาหกรรมสิ่งทอ โดยเฉพาะที่มีฝุ่นใยฝ้ายดิบ เช่น การสาง และปั่นด้าย โดยหายใจเข้าไปอย่างต่อเนื่องเป็นเวลามากกว่า 2 ปีขึ้นไป • ลักษณะทางคลีนิก ในระยะแรกมีอาการไอ แน่นหน้าอก หายใจขัด ในวันแรกของการทำงานในแต่ละสัปดาห์ อาการจะทุเลาลงตอนเลิกงาน และหายในวันถัดไป มีอาการดังกล่าวอยู่หลายปี และหายเมื่อหยุดงาน
จันทร์ เสาร์ อาฑิตย์
โรคฝุ่นฝ้าย (Byssinosis) • อาการทางคลีนิกแบ่งเป็นสี่ระดับ ระดับที่ 1/2 ไอ แน่นหน้าอก หายใจไม่สะดวก หรืออาการระคายเคืองของทางเดินหายใจเป็นครั้งคราว ในวันแรกของการกลับทำงาน ระดับที่ 1 ไอ แน่นหน้าอก หายใจไม่สะดวก หรือหายใจเร็วกว่าปกติ ทุกวันแรกของการกลับเข้าทำงาน ระดับที่ 2 ไอ แน่นหน้าอก หายใจไม่สะดวก หรือหายใจเร็วกว่าปกติ ทุกวันแรกของการกลับเข้าทำงาน และวันอื่นๆของสัปดาห์ ระดับที่ 3 มีอาการแบบขั้น 2 ร่วมกับสมรรถภาพปอดลดลงอย่างถาวร
โรคฝุ่นฝ้าย (Byssinosis) • การตรวจเพื่อยืนยันการวินิจฉัย -ผู้ป่วยตั้งแต่ ขั้น 1/2 ถึง 2 ต้องตรวจสมรรถภาพปอด 2 ครั้ง คือตรวจครั้งแรกก่อนทำงาน และตรวจซ้ำเมื่อทำงานแล้ว 6-8 ชั่วโมง ผลการตรวจพบค่า FEV1 ลดลงมากกว่า ร้อยละ 10 -ผู้ป่วยขั้น 3 พบสมรรถภาพปอดผิดปกติในวันที่ไม่ได้ทำงาน ค่า FEV1 และ FEV1/FVC ลดลงต่ำกว่าร้อยละ 80 และ 75 ของค่าปกติ ตามลำดับ -ภาพรังสีทรวงอกปกติ โดยเฉพาะในระยะแรก
โรคฝุ่นฝ้าย (Byssinosis) • เกณฑ์การวินิจฉัยโรคเพื่อการรายงาน ประวัติการสัมผัสฝุ่นฝ้ายใยฝ้าย ป่าน ปอ หรือ ลินิน อาการและอาการแสดงดังกล่าวข้างต้น ผลการตรวจสมรรถภาพปอด
โรคหืดเหตุอาชีพ (Occupational asthma) • ประวัติการสัมผัส การทำงานหรือสัมผัสกับสารก่อโรคชนิดน้ำหนักโมเลกุลต่ำ (เกลือพลาทินัม toluene, diisocyanate) หรือชนิดน้ำหนักโมเลกุลสูง (กาแฟ ละหุ่ง) ตั้งแต่สองสัปดาห์ขึ้นไป
โรคหืดเหตุอาชีพ (Occupational asthma) • ลักษณะทางคลีนิก ไอ แน่นหน้าอก หอบเหนื่อย หายใจเสียงวีด หายได้เองหรือเมื่อได้รับยาขยายหลอดลม หืดเฉียบพลัน (immediate asthma) หอบทันที มากที่สุดระยะ 10-30 นาที ดีขึ้น หืดแบบล่า (late asthma) หลังสัมผัสในระยะ 3-8 ชั่วโมงมีอาการนาน กลุ่มอาการทางหายใจมีปฏิกิริยาผิดปกติ (reactive airway dysfunction syndrome: RADS)หอบเรื้อรังหลังหายใจรับควันหรือแก๊สที่มีการระคายเคืองอย่างรุนแรง เช่น ควันไฟ กรดไนตริก
โรคหืดเหตุอาชีพ (Occupational asthma) • การตรวจเพื่อยืนยันการวินิจฉัย -spirometer พบ reversible airflow obstruction -bronchial hyper-reactivity ด้วย methacholine หรือ histamine -Peak expiratory flow rate : PEFR เป็นอนุกรมทุก 2 ชั่วโมงติดต่อ กัน 2 สัปดาห์ พบการเปลี่ยนแปลงของ PEFR มากกว่าร้อยละ 15ในวันทำงานและเปลี่ยนแปลงน้อยกว่าร้อยละ 15 ในวันหยุด
โรคหืดเหตุอาชีพ (Occupational asthma) • เกณฑ์การวินิจฉัย -ประวัติการสัมผัสในงานตั้งแต่ 2 สัปดาห์ขึ้นไป -มีอาการหอบเกิดขึ้นเป็นครั้งคราวหลังทำงานอยู่ในสถานที่มีสารก่อโรค -ผลการตรวจด้วย spirometer หรือ bronchial hyper-reactivity -การเปลี่ยนแปลงของอัตราไหลการหายใจออกสูงสุดดังกล่าวข้างต้น
โรคหลอดลมอักเสบเรื้อรัง (Chronic bronchitis) • เกิดจากการหายใจรับฝุ่นหรือควันฝุ่นสารอินทรีย์ซึ่งมีฤทธิ์ระคายเคืองสูงเข้าไปในทางหายใจเป็นประจำ • ประวัติการสัมผัส สัมผัสสารก่อโรคในงานเช่น ใบชา ใบยาสูบ พริก พริกไทย กระวาน กานพลู • ลักษณะทางคลีนิก ในระยะแรกมีการระคายเฉียบพลัน ไอรุนแรง น้ำตาน้ำมูกไหล ต่อไปทุเลาลงและมีการไอเรื้อรัง มีเสมหะคล้ายนักสูบบุหรี่
โรคหลอดลมอักเสบเรื้อรัง (Chronic bronchitis) • การตรวจเพื่อยืนยัน ตรวจพบสมรรถภาพปอดผิดปกติ ชนิดอุดกั้น • เกณฑ์การวินิจฉัย -ประวัติการสัมผัสสารระคายเคืองต่อทางเดินหายใจ -ไม่สูบบุหรี่หรือสัมผัสสารอื่นที่ทำให้เกิดหลอดลมอักเสบเรื้อรัง -ไอเรื้อรัง -สมรรถภาพปอดผิดปกติชนิดอุดกั้น
ป้องกันไม่ให้ปอด“ป่วย”ป้องกันไม่ให้ปอด“ป่วย” • ใส่ใจสุขภาพ • งดสูบบุหรี่ • ตรวจปอดประจำปี