670 likes | 1.14k Views
การประเมินตนเอง. หัวใจ ของการพัฒนาคุณภาพ. การเน้นผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง การประเมินตนเอง การทำงานเป็นทีม. ความมุ่งหมายของแบบประเมิน. วิเคราะห์หาโอกาสพัฒนา บันทึกความก้าวหน้าในการพัฒนา สื่อสารกับผู้เยี่ยมสำรวจ . แบบประเมินตนเอง. ภาพรวมระดับโรงพยาบาล ทีมนำทางด้านคลินิก ระดับหน่วยงาน
E N D
หัวใจ ของการพัฒนาคุณภาพ • การเน้นผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง • การประเมินตนเอง • การทำงานเป็นทีม
ความมุ่งหมายของแบบประเมินความมุ่งหมายของแบบประเมิน • วิเคราะห์หาโอกาสพัฒนา • บันทึกความก้าวหน้าในการพัฒนา • สื่อสารกับผู้เยี่ยมสำรวจ
แบบประเมินตนเอง • ภาพรวมระดับโรงพยาบาล • ทีมนำทางด้านคลินิก • ระดับหน่วยงาน • คู่มือวางแผนพัฒนาตามมาตรฐาน HA (ไม่ต้องส่ง พ.ร.พ.)
ข้อมูลสำคัญระดับโรงพยาบาลข้อมูลสำคัญระดับโรงพยาบาล ทิศทางขององค์กร สถิติเครื่องชี้วัดขององค์กร รายละเอียดการปฏิบัติตามมาตรฐาน ความมุ่งมั่นในการพัฒนาคุณภาพ ทรัพยากรและการจัดการทรัพยากร กระบวนการคุณภาพ การรักษามาตรฐานและจริยธรรมวิชาชีพ สิทธิผู้ป่วยและจริยธรรมองค์กร ทิศทางขององค์กร พันธกิจ (mission) ขอบเขตของบริการ (scope of service) เป้าประสงค์ (goals) แผนยุทธศาสตร์และเป้าหมาย จุดเน้นในการพัฒนา/เข็มมุ่ง เครื่องชี้วัด ผลงานเด่นและความภาคภูมิใจของโรงพยาบาล ส่วนที่ 1 : ข้อมูลระดับโรงพยาบาล
สรุปข้อมูลสำคัญของการดูแลผู้ป่วยสรุปข้อมูลสำคัญของการดูแลผู้ป่วย หน้าที่เป้าหมายวัตถุประสงค์ กระบวนการทำงานและโอกาสพัฒนา กิจกรรมการทบทวนทางคลินิก การบรรลุเป้าหมายและการพัฒนาต่อเนื่อง รายละเอียดการปฏิบัติตามมาตรฐานHA บทที่ 1-3- 4- 5- 6- 7- 8- 9- 10 บทที่ 13 –14- 15- 16- 17- 18- 19- 20 เจตจำนง/ความมุ่งหมาย ขอบเขตบริการ ความต้องการของผู้รับบริการ ความต้องการของผู้ร่วมงานในโรงพยาบาล เป้าหมาย (goal) เครื่องชี้วัดในภาพรวม เครื่องชี้วัดทางคลินิกเฉพาะโรค จุดเน้นในการพัฒนา/เข็มมุ่ง วัตถุประสงค์ของแผนปฏิบัติการ วัตถุประสงค์/กลยุทธ เครื่องชี้วัด เป้า ระดับที่ปฏิบัติได้ ส่วนที่ 2: ข้อมูลระดับทีมนำทางคลินิก
สรุปข้อมูลสำคัญของการดูแลผู้ป่วยสรุปข้อมูลสำคัญของการดูแลผู้ป่วย หน้าที่เป้าหมายวัตถุประสงค์ กระบวนการทำงานและโอกาสพัฒนา กิจกรรมการทบทวนทางคลินิก การบรรลุเป้าหมายและการพัฒนาต่อเนื่อง รายละเอียดการปฏิบัติตามมาตรฐาน HA บทที่ 1- 3- 4- 5- 6- 7- 8- 9- 10 บทที่ 13-14 -15- 16- 17- 18 - 19 -20 กระบวนการของหน่วยงาน (Top down flow chart) การวิเคราะห์โอกาสพัฒนา กระบวนการ จุดมุ่งหมาย/คุณค่า/เป้าหมาย ความเสี่ยง/ปัญหา/โอกาสพัฒนา แนวทางการป้องกันความเสี่ยงที่สำคัญ ความเสี่ยง แนวทางป้องกัน ส่วนที่ 2: ข้อมูลระดับทีมนำทางคลินิก
สรุปข้อมูลสำคัญของการดูแลผู้ป่วยสรุปข้อมูลสำคัญของการดูแลผู้ป่วย หน้าที่เป้าหมายวัตถุประสงค์ กระบวนการทำงานและโอกาสพัฒนา กิจกรรมการทบทวนทางคลินิก การบรรลุเป้าหมายและการพัฒนาต่อเนื่อง รายละเอียดการปฏิบัติตามมาตรฐาน HA บทที่ 1 3 4 5 6 7 8 9 10 บทที่ 13 14 15 16 17 18 19 20 การเสียชีวิต การติดเชื้อ ภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ คำร้องเรียน อุบัติการณ์ที่สำคัญอื่นๆ การใช้ยา การใช้เลือด การใช้ทรัพยากร เวชระเบียน การปฏิบัติตาม evidence การส่งต่อผู้ป่วย ส่วนที่ 2: ข้อมูลระดับทีมนำทางคลินิก
การทบทวนการดูแลผู้ป่วยการทบทวนการดูแลผู้ป่วย การทบทวนความคิดเห็นและคำร้องเรียน การทบทวนการส่งต่อ การทบทวนการตรวจรักษาโดยผู้ไม่ใช่แพทย์ การค้นหาและป้องกันความเสี่ยง การเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล การเฝ้าระวังความคลาดเคลื่อนทางยา การทบทวนการดูแลผู้ป่วยจากเหตุการณ์สำคัญ การทบทวนความสมบูรณ์เวชระเบียน การทบทวนการใช้ความรู้ทางวิชาการ การทบทวนการใช้ทรัพยากร การติดตามเครื่องชี้วัดที่สำคัญ พันธกิจ ความมุ่งหมายหน่วยงาน กลุ่มผู้รับบริการที่สำคัญ การเสียชีวิต การติดเชื้อ ภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ คำร้องเรียน อุบัติการณ์ที่สำคัญอื่นๆ การใช้ยา การใช้เลือด การใช้ทรัพยากร เวชระเบียน การปฏิบัติตาม evidence การส่งต่อผู้ป่วย
สรุปข้อมูลสำคัญของการดูแลผู้ป่วยสรุปข้อมูลสำคัญของการดูแลผู้ป่วย หน้าที่เป้าหมายวัตถุประสงค์ กระบวนการทำงานและโอกาสพัฒนา กิจกรรมการทบทวนทางคลินิก การบรรลุเป้าหมายและการพัฒนา ต่อเนื่อง รายละเอียดการปฏิบัติตามมาตรฐาน HA บทที่ 1 3 4 5 6 7 8 9 10 บทที่ 13 14 15 16 17 18 19 20 ผลงานเด่นและความภาคภูมิใจของหน่วยงานที่สามารถเป็นแบบอย่างได้ สรุปกิจกรรมพัฒนาคุณภาพ การพัฒนาระบบงานและกิจกรรมพัฒนาคุณภาพซึ่งกำลังดำเนินการหรือมีแผนจะดำเนินการต่อไป ส่วนที่ 2: ข้อมูลระดับทีมนำทางคลินิก
1 หน้าที่ เป้าหมาย วัตถุประสงค์ • เจตจำนง ความมุ่งหมาย (Purpose) • ขอบเขตบริการ • ความต้องการของผู้รับบริการ • ความต้องการของผู้ร่วมงานในโรงพยาบาล • เป้าหมาย • เครื่องชี้วัด • จุดเน้นในการพัฒนา • วัตถุประสงค์ของแผนปฏิบัติการ • วัตถุประสงค์/กลยุทธ เครื่องชี้วัด เป้าหมาย ระดับที่ปฏิบัติได้
ข้อความที่บอกหน้าที่ของหน่วยงาน เพื่อบอกว่าหน่วยงานทำหน้าที่อะไร แก่ใคร เพื่อให้เกิดคุณค่าอะไร ผู้ป่วยนอก ให้บริการดูแลรักษา ส่งเสริม ป้องกัน ฟื้นฟู แก่ผู้ป่วยนอกแบบองค์รวมตามมาตรฐานวิชาชีพ อย่างรวดเร็ว ปลอดภัย โดยคำนึงถึงสิทธิผู้ป่วยเป็นสำคัญ อุบัติเหตุ ให้การดูแลผู้ป่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉิน อย่างรวดเร็ว ถูกต้อง ปลอดภัย การเงิน ให้บริการรับจ่ายเงิน จัดระบบข้อมูลทางการเงินบัญชี อย่างรวดเร็ว ถูกต้อง รัดกุม โปร่งใส ตรวจสอบได้ ความมุ่งหมาย (Purpose)
จัดขึ้นให้บริการกับกลุ่มใด อะไรที่สามารถทำได้ อะไรทำไม่ได้ (ชัดเจนว่าให้บริการแก่ใคร ไม่ให้แก่ใคร) ให้บริการผู้ป่วยทุกโรค ทุกวัย ในเวลาราชการ ไม่สามารถให้บริการผู้ป่วยอุบัติเหตุฉุกเฉินได้ ให้บริการผู้ป่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉินตลอด 24 ชั่วโมง ให้บริการอาหารเฉพาะโรคและอาหารทั่วไปที่มีคุณค่าทางโภชนาการแก่ผู้ป่วยและเจ้าหน้าที่ในโรงพยาบาล ขอบเขตบริการ
ระบุความต้องการที่สำคัญของผู้รับบริการระบุความต้องการที่สำคัญของผู้รับบริการ ความต้องการของผู้ป่วย Implicit need Explicit need การเน้นผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง ศึกษา ตอบสนอง ความต้องการของผู้ป่วย รวมทั้งรับฟังเสียงสะท้อน ดูแลผู้ป่วยแบบองค์รวม ดูแลอย่างเต็มความรู้ความสามารถ คุ้มครองสิทธิและศักดิ์ศรีของผู้ป่วย ความต้องการของผู้รับบริการ
กระบวนการ ผู้ส่งมอบ ผู้รับผลงานกระบวนการ ผู้ส่งมอบ ผู้รับผลงาน การสั่งยา แพทย์ ห้องยา การจัดยา ห้องยา แพทย์ Nurse ผู้ป่วย การซักผ้า ซักฟอก หอผู้ป่วย ผู้ป่วย การตรวจเลือด ห้องLab แพทย์ผู้ป่วย
การวิเคราะห์ในฐานะผู้รับผลงาน • เรารับงานนี้จากใคร • เราต้องการให้งานมีลักษณะอย่างไร • เราได้สิ่งที่ต้องการหรือไม่ • เราจะบอกความต้องการหรือสิ่งที่เราได้รับได้อย่างไร • ให้ยกกระบวนการทำงานมา ๑ กระบวนการแล้ววิเคราะห์
การวิเคราะห์ในฐานะผู้ส่งงานการวิเคราะห์ในฐานะผู้ส่งงาน • เราส่งงานอะไรให้ใคร • ผู้รับผลงานเราต้องการงานลักษณะใด • เราจะรับทราบความต้องการได้อย่างไร • เราจะส่งผลงานที่ดีขึ้นให้ผู้รับผลงานได้อย่างไร ให้ยกกระบวนการทำงานมา ๑ กระบวนการแล้ววิเคราะห์
เสนอในที่ประชุมประจำเดือนเสนอในที่ประชุมประจำเดือน เสนอต่อหัวหน้าเมื่อไรก็ได้ เสนอในที่ประชุมทีมคุณภาพ สรุปจากการพูดคุยที่ไม่เป็นทางการ มีสมุดรับความคิดเห็น มีบอร์ดให้เขียนความคิดเห็น ตั้งประเด็นให้เสนอความเห็น เขียนใบข้อเสนอแนะ บันทึกดักจับความคิดตลอดเวลา สร้างช่องทางรับความคิดเห็น
การตอบสนองความต้องการของผู้รับผลงานการตอบสนองความต้องการของผู้รับผลงาน • ผู้รับบริการของเราคือใคร , โรคหรือหัตถการที่ดูแล • เรามีช่องทางการรับรู้ความต้องการและความเห็นของผู้รับบริการอะไรบ้าง • ปัญหาหรือความต้องการที่สำคัญของผู้รับบริการคืออะไร • เราตอบสนองความต้องการหรือแก้ปัญหาได้ดีหรือยัง • ตอบสนองทันทีในเรื่องที่หน่วยงานทำได้ • ประสานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหากเป็นเรื่องคร่อมสายงาน • เสนอผู้บริหารระดับสูงหากต้องการสนับสนุนด้านนโยบายหรือทรัพยากร
การตอบสนอง หัตถการ • ทันที • ประสาน • ทีมนำ โรคที่พบบ่อย เสียงสะท้อน • แก้ปัญหาความเดือนร้อน • ตอบสนองสิ่งที่จำเป็นแต่ผู้ป่วยไม่รู้ • ตอบสนองเกินความคาดหวัง ปัญหา+ความต้องการ
ความต้องการของผู้รับบริการความต้องการของผู้รับบริการ • ผู้ป่วยต้องการความรวดเร็ว ปลอดภัยจาก ภาวะแทรกซ้อน ทราบว่าเป็นอะไร • ญาติ ข้อมูลการเจ็บป่วย วิธีการรักษา รวดเร็ว บริการประทับใจ
ความต้องการของผู้ร่วมงานในโรงพยาบาลความต้องการของผู้ร่วมงานในโรงพยาบาล • แพทย์ต้องการให้ปฏิบัติตามแผนรักษาอย่างครบถ้วน มีการเฝ้าระวังการเปลี่ยนแปลง รายงานปัญหา ในเวลาที่เหมาะสม • ชันสูตร ต้องการให้เก็บ specimen ส่งตรวจ อย่างถูกต้อง เขียนใบส่งตรวจชัดเจน • ห้องยา ใบสั่งยาที่ชัดเจน เห็นลายมือแพทย์ ส่งใบสั่งยา มาในเวลาที่กำหนด
ผลลัพธ์ของบริการซึ่งระบุกว้างๆ โดยครอบคลุมประเด็นสำคัญของคุณภาพทั้งหมด หอผู้ป่วย ผู้ป่วยได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องแบบองค์รวม อย่างรวดเร็ว ปลอดภัย มีประสิทธิภาพตามมาตรฐานวิชาชีพ จ่ายกลาง มีเครื่องมือและอุปกรณ์ปราศจากเชื้อสำหรับบริการผู้ป่วยอย่างเพียงพอ ปลอดภัย และรวดเร็ว อุบัติเหตุ ผู้ป่วยได้รับการแก้ปัญหาวิกฤติ อย่างรวดเร็ว เหมาะสม ถูกต้องและปลอดภัย เป้าหมาย
เครื่องชี้วัดคุณภาพ ใช้วัด คัดกรอง ส่งสัญญาณในการเฝ้าติดตาม ประเมิน ปรับปรุงคุณภาพ กระบวนการ ปัจจัยนำเข้า ผลลัพธ์ ผลกระทบ มี? ทำ? ทำถูก? ทำดี? ทำทัน? ถูกที่? โดยคนทึ่ควร? คน เครื่องมือ ข้อมูลข่าวสาร หาย, ตาย แทรกซ้อน วันนอน ค่าใช้จ่าย ความรู้ เจตคติ พฤติกรรม พึงพอใจ คุณภาพชีวิต สถานะสุขภาพ สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Indicator:02
ประเภทของเครื่องชี้วัดคุณภาพประเภทของเครื่องชี้วัดคุณภาพ • เครื่องชี้วัดคุณภาพการให้การดูแลทางคลินิกClinical quality indicators • เครื่องชี้วัดคุณภาพการให้บริการService quality indicators • เครื่องชี้วัดคุณภาพการบริหารจัดการManagement quality indicators
เครื่องชี้วัดคุณภาพทางคลินิก(Clinical quality indicators) • เครื่องชี้วัดคุณภาพทางคลินิกเฉพาะโรคหรือกลุ่มโรค • หอบหืด (Asthma) • ระยะเวลาวันนอนผู้ป่วยในโรงพยาบาล • อัตราการรับเข้าโรงพยาบาลของผู้ป่วยโรคหอบหืดที่มาที่ห้องฉุกเฉิน • เบาหวาน (DM) • อัตราการได้รับการตรวจเรตินาในผู้ป่วยโรคเบาหวาน • อัตราการได้รับการตรวจ HbA1c ในผู้ป่วยโรคเบาหวาน
เครื่องชี้วัดคุณภาพการบริการ(Service quality indicators) • ติดตามประเมินคุณภาพของกระบวนการและผลลัพธ์ของการบริการทั่วไป • ระยะเวลา การให้บริการ การรอคอย • ความพึงพอใจ บริการทั่วไป บุคลากร สถานที่ ความสะอาด • อุบัติการณ์ความเสี่ยงทางกายภาพ และกระบวนการบริการ
เครื่องชี้วัดคุณภาพการบริหารจัดการ(Management quality indicators) • ติดตามประเมินคุณภาพของกระบวนการและผลลัพธ์ของการบริหารจัดการ • การจัดการบุคลากร* อัตราการลา-สาย-ขาด-ป่วยของบุคลากร • การจัดการทางการเงิน* อัตราส่วนสินทรัพย์สภาพคล่อง • การจัดการทรัพยากร* อุบัติการณ์ยาขาดคราว (Out of stock)
การคัดเลือกเครื่องชี้วัดการคัดเลือกเครื่องชี้วัด • ง่าย วัดได้ง่าย • วัดสิ่งสำคัญ ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลง • มีความไวต่อการเปลี่ยนแปลง วัดสิ่งสำคัญ 10 วัดง่าย 1 5 10 1 สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Indicator:07
เกณฑ์การคัดเลือกเครื่องชี้วัดที่ดีของหน่วยงานเกณฑ์การคัดเลือกเครื่องชี้วัดที่ดีของหน่วยงาน • วัดในสิ่งที่สำคัญ • สะท้อนพันธกิจ/กระบวนการหลัก กระบวนการที่มีความเสี่ยงสูงและพบปัญหาความผิดพลาดได้บ่อย • สะท้อนมุมมองของผู้ใช้ประโยชน์ เช่น ผู้ใช้บริการ ผู้ให้บริการ ผู้บริหาร และนโยบายสุขภาพและสาธารณสุขที่สำคัญ • สิ่งที่ต้องการพัฒนาและส่งผลให้เกิดความเปลี่ยนแปลงได้ • มีความถูกต้อง น่าเชื่อถือ ไวต่อการเปลี่ยนแปลง • วัดได้ง่าย • มีศักยภาพเพียงพอที่จะเก็บข้อมูลได้อย่างถูกต้อง สามารถวิเคราะห์ข้อมูล และนำไปใช้ประโยชน์ได้ • เครื่องชี้วัด ให้เห็นภาพรวมของการปฏิบัติงาน
การใช้ประโยชน์จากเครื่องชี้วัดการใช้ประโยชน์จากเครื่องชี้วัด • ตัวเลขของคนอื่นเป็นอย่างไร • ตัวเลขในอดีตของเราเป็นอย่างไร • ทำไมตัวเลขของเราจึงอยู่ในระดับนั้น • ตัวเลขควรเป็นเท่าไร • เรื่องใดที่ควรปรับปรุง • ที่ผ่านมาเราทำอะไรสำเร็จบ้างแล้ว
เครื่องชี้วัดคุณภาพที่สะท้อนถึงการบรรลุตามหน้าที่เครื่องชี้วัดคุณภาพที่สะท้อนถึงการบรรลุตามหน้าที่ หน้าที่ของหน่วยงาน คำสำคัญ ผลงานตามหน้าที่ ประเด็นคุณภาพ เครื่องชี้วัดคุณภาพ
อุบัติเหตุ ให้การดูแลผู้ป่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉินอย่างรวดเร็ว ถูกต้อง ปลอดภัย ประทับใจผู้รับบริการ ระยะเวลารอคอย อัตราการเกิดปฏิกิริยาจากการให้เลือด ความผิดพลาดจากการรักษา อัตราตายของผู้ป่วยที่ป้องกันได้ อัตราการเกิดปฏิกิริยาไม่พึงประสงค์จากยา ความพึงพอใจของผู้ป่วยและญาติ อัตราความสมบูรณ์ของเวชระเบียน อัตราการกลับมารักษาซ้ำใน 48 ชั่วโมง เครื่องชี้วัด
เขียนความมุ่งหมายของหน่วยงานเขียนความมุ่งหมายของหน่วยงาน เราจะใช้อะไรเป็นตัวบอกว่าเราทำงานได้บรรลุความมุ่งหมายของหน่วยงาน
การวิเคราะห์ความสอดคล้องการวิเคราะห์ความสอดคล้อง • ความมุ่งหมาย เจตจำนง • ขอบเขตบริการ • ความต้องการของผู้รับผลงาน • ความต้องการของผู้ร่วมงาน • เป้าหมาย • เครื่องชี้วัด
ตัวอย่าง งานอุบัติเหตุ • ความมุ่งหมาย ให้การดูแลผู้ป่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉินอย่างรวดเร็ว ถูกต้อง ปลอดภัย ประทับใจผู้รับบริการ • ขอบเขตบริการให้บริการผู้ป่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉินตลอด 24 ชั่วโมง • ความต้องการของผู้รับผลงาน ความรวดเร็ว ทราบว่าเป็นอะไร • เป้าหมายผู้ป่วยได้รับการแก้ปัญหาวิกฤติ อย่างรวดเร็ว เหมาะสม ถูกต้องและปลอดภัย • เครื่องชี้วัด 1 ความผิดพลาดจากการรักษา 2 อัตราตายของผู้ป่วย 3 อัตราการเกิดปฏิกิริยาไม่พึงประสงค์จากยา 4 ความพึงพอใจของผู้ป่วยและญาติ 5 ระยะเวลารอยคอย
2 กระบวนการทำงานและโอกาสพัฒนา • กระบวนการของหน่วยงาน • วิเคราะห์โอกาสพัฒนา • แนวทางป้องกันความเสี่ยงที่สำคัญ
2.1 กระบวนการของหน่วยงาน • เขียนกระบวนการหลักๆ ของการทำงานไว้ตารางข้างบน • เขียนกระบวนการย่อยๆ ของการทำงานแต่แต่ละกระบวนการ • เขียนเป็น Top down flow chart • เขียนจากการแกะรอยกระบวนการ • หอผู้ป่วย ตามผู้ป่วยตั้งแต่แรกรับจนจำหน่าย • ซักฟอกตามตั้งแต่รับผ้าจนส่งออก • จ่ายกลาง ตามตั้งแต่รับของจนส่งของออก • ยา ตั้งแต่แพทย์สั่งจนผู้ป่วยได้รับยา • ชันสูตร ตั้งแต่ได้รับ specimen จนผลตรวจออก
5.ประเมินซ้ำ 5.1เฝ้าระวัง 5.2รายงาน 5.3ตรวจเยี่ยม 5.4สังเคราะห์ข้อมูล 5.5ให้ข้อมูลผู้ป่วย 4.ดูแลรักษา 2.ประเมิน&วินิจฉัยโรค 3.วางแผน 4.1แก้ปีญหาฉุกเฉิน 2.1ซักประวัติ 3.1วางแผนของแต่ละวิชาชีพ 4.2ยา 2.2ตรวจร่ายกาย 3.2ประสานแผน 4.3พยาบาล 2.3ตรวจชันสูตร 3.3การมีส่วนร่วมของผู้ปวย/ญาติ 4.4อาหาร 2.4ตรวจทางรังสี 1.เตรียม 3.4สั่งการรักษา 4.5ผ่าตัดและระงับความรู้สึก 2.5Investigate อื่นๆ 1.1จัดลำดับความรุนแรง 3.5มอบหมายความรับผิดชอบ (ก่อน-ระหว่าง-หลัง) 2.6วินิจฉัยโรค 1.2ให้ข้อมูลทั่วไป 3.6เตรียมเครื่องมือ/อุปกรณ์ 4.6หัตถการอื่นๆ 7.จำหน่าย 2.7วินิจฉัยปัญหาอื่น 1.3ลงนามยินยอม 4.7การดูแลอื่นๆ 7.1เตรียมการดูแลที่บ้าน 1.4Patient Identification 7.2ส่งต่อ 1.5ส่งต่อหากรักษาไม่ได้ 7.3นัดติดตาม 1.6เตรียมสถานที่ 6.กิจกรรมคู่ขนาน 1.7เตรียมอุปกรณ์ 6.1บันทึก 1.8เตรียมเจ้าหน้าที่ 6.2ให้ข้อมูล/สุขศึกษา 6.3วางแผนจำหน่าย 6.4เรียกชำระเงิน กระบวนการดูแลผู้ป่วย
การเบิกจ่ายพัสดุ การรับและลงบัญชี การจ่าย การอนุมัติ • การจัดและตัดบัตรควบคุม • การตรวจสอบ • การรับ • การจัดเก็บเอกสาร • การจำแนกและเสนอ • การอนุมัติ • การรับในเบิก • การตรวจสอบความครบถ้วนของเอกสาร • การตัดบัญชี • การจัดทำใบค้างจ่าย
5.ประเมินซ้ำ 5.1เฝ้าระวัง 5.2รายงาน 5.3ตรวจเยี่ยม 5.4สังเคราะห์ข้อมูล 5.5ให้ข้อมูลผู้ป่วย 4.ดูแลรักษา 2.ประเมิน&วินิจฉัยโรค 3.วางแผน 4.1แก้ปีญหาฉุกเฉิน 2.1ซักประวัติ 3.1วางแผนของแต่ละวิชาชีพ 4.2ยา 2.2ตรวจร่ายกาย 3.2ประสานแผน 4.3พยาบาล 2.3ตรวจชันสูตร 3.3การมีส่วนร่วมของผู้ปวย/ญาติ 4.4อาหาร 2.4ตรวจทางรังสี 1.เตรียม 3.4สั่งการรักษา 4.5ผ่าตัดและระงับความรู้สึก 2.5Investigate อื่นๆ 1.1จัดลำดับความรุนแรง 3.5มอบหมายความรับผิดชอบ (ก่อน-ระหว่าง-หลัง) 2.6วินิจฉัยโรค 1.2ให้ข้อมูลทั่วไป 3.6เตรียมเครื่องมือ/อุปกรณ์ 4.6หัตถการอื่นๆ 7.จำหน่าย 2.7วินิจฉัยปัญหาอื่น 1.3ลงนามยินยอม 4.7การดูแลอื่นๆ 7.1เตรียมการดูแลที่บ้าน 1.4Patient Identification 7.2ส่งต่อ 1.5ส่งต่อหากรักษาไม่ได้ 7.3นัดติดตาม 1.6เตรียมสถานที่ 6.กิจกรรมคู่ขนาน 1.7เตรียมอุปกรณ์ 6.1บันทึก 1.8เตรียมเจ้าหน้าที่ 6.2ให้ข้อมูล/สุขศึกษา 6.3วางแผนจำหน่าย 6.4เรียกชำระเงิน กระบวนการหลัก ความเสี่ยง โอกาสพัฒนา
2.2 การวิเคราะห์โอกาสพัฒนา
2.2 การวิเคราะห์โอกาสพัฒนา
5.ประเมินซ้ำ 5.1เฝ้าระวัง 5.2รายงาน 5.3ตรวจเยี่ยม 5.4สังเคราะห์ข้อมูล 5.5ให้ข้อมูลผู้ป่วย 4.ดูแลรักษา 2.ประเมิน&วินิจฉัยโรค 3.วางแผน 4.1แก้ปีญหาฉุกเฉิน 2.1ซักประวัติ 3.1วางแผนของแต่ละวิชาชีพ 4.2ยา 2.2ตรวจร่ายกาย 3.2ประสานแผน 4.3พยาบาล 2.3ตรวจชันสูตร 3.3การมีส่วนร่วมของผู้ปวย/ญาติ 4.4อาหาร 2.4ตรวจทางรังสี 1.เตรียม 3.4สั่งการรักษา 4.5ผ่าตัดและระงับความรู้สึก 2.5Investigate อื่นๆ 1.1จัดลำดับความรุนแรง 3.5มอบหมายความรับผิดชอบ (ก่อน-ระหว่าง-หลัง) 2.6วินิจฉัยโรค 1.2ให้ข้อมูลทั่วไป 3.6เตรียมเครื่องมือ/อุปกรณ์ 4.6หัตถการอื่นๆ 7.จำหน่าย 2.7วินิจฉัยปัญหาอื่น 1.3ลงนามยินยอม 4.7การดูแลอื่นๆ 7.1เตรียมการดูแลที่บ้าน 1.4Patient Identification 7.2ส่งต่อ 1.5ส่งต่อหากรักษาไม่ได้ 7.3นัดติดตาม 1.6เตรียมสถานที่ 6.กิจกรรมคู่ขนาน 1.7เตรียมอุปกรณ์ 6.1บันทึก 1.8เตรียมเจ้าหน้าที่ 6.2ให้ข้อมูล/สุขศึกษา 6.3วางแผนจำหน่าย 6.4เรียกชำระเงิน กระบวนการหลัก ความเสี่ยง โอกาสพัฒนา
ความหมายของความเสี่ยงความหมายของความเสี่ยง • โอกาสที่จะประสบกับความสูญเสียหรือสิ่งที่ไม่พึงประสงค์ เช่น ถูกทำร้าย เหตุร้าย การคุมคาม ความไม่แน่นอน การถูกเปิดเผย
ความเสี่ยงในโรงพยาบาลความเสี่ยงในโรงพยาบาล • ความสูญเสียที่เกิดกับผู้ป่วยและผู้ใช้บริการของรพ. • การเสื่อมเสียชื่อเสียง (ทำให้ไม่ได้รับความไว้วางใจ) • การสูญเสียรายได้ • การสูญเสียหรือความเสียหายต่อทรัพย์สิน (รพ., ผู้ป่วย, จนท.) • การบาดเจ็บหรืออันตรายต่อเจ้าหน้าที่โรงพยาบาล • การทำลายสิ่งแวดล้อม • ภาระในการชดใช้ค่าเสียหาย
ความเสี่ยงต่อผู้ป่วย (pess) • Physical risk เช่น หกล้ม ตกเตียง ติดเชื้อ การตัดอวัยวะผิดไม่จำเป็น การทำร้ายร่างกาย • Emotional riskเช่น การทำร้ายจิตใจ การทำให้อับอาย • Social risk เช่น สิทธิผู้ป่วย (เช่น การ expose ผู้ป่วยต่อหน้าผู้อื่น การรักษาความลับของผู้ป่วย) การจัดการด้านเศรษฐกิจ (เช่น ผู้ป่วยไม่สามารถจ่ายค่ารักษาได้) • Spiritual riskเป็นสิ่งที่เกี่ยวกับความเชื่อ ความรู้สึกมั่นคง