1 / 38

บทที่ 11 การธำรงรักษาพนักงาน

บทที่ 11 การธำรงรักษาพนักงาน. แนวความคิด. การธำรงรักษาพนักงาน เป็นวิธีการ ผูกใจ พนักงานให้อยู่กับองค์การ. คุณลักษณะพนักงานที่สมควรจะธำรงรักษา. ความมีน้ำใจ. จิตสำนึก. มีความรู้ความสามารถ. มีจรรยาบรรณต่อวิชาชีพ. มีความรับผิดชอบ. ภักดีต่อองค์การ. ความหมาย.

Anita
Download Presentation

บทที่ 11 การธำรงรักษาพนักงาน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 11 การธำรงรักษาพนักงาน แนวความคิด การธำรงรักษาพนักงาน เป็นวิธีการผูกใจพนักงานให้อยู่กับองค์การ

  2. คุณลักษณะพนักงานที่สมควรจะธำรงรักษาคุณลักษณะพนักงานที่สมควรจะธำรงรักษา ความมีน้ำใจ จิตสำนึก มีความรู้ความสามารถ มีจรรยาบรรณต่อวิชาชีพ มีความรับผิดชอบ ภักดีต่อองค์การ

  3. ความหมาย - การใช้วิธีการต่าง ๆ เพื่อจูงใจให้พนักงานที่พึงประสงค์ปฏิบัติงานอยู่กับองค์การได้นานที่สุด

  4. ประโยชน์ 1. รักษาคนดี 2.ประสิทธิภาพการดำเนินงาน 3. ภาพลักษณ์ที่ดีขององค์การ

  5. ความสำคัญของการธำรงรักษาความสำคัญของการธำรงรักษา ต่อองค์การ ต่อพนักงาน - ไม่สูญเสียพนักงาน - มีขวัญและกำลังใจดี - ไม่สิ้นเปลืองงบประมาณในการสรรหาและคัดเลือก - มั่นคงเพราะความต่อเนื่องในการปฏิบัติงาน -ความต่อเนื่องในการปฏิบัติงาน

  6. วัตถุประสงค์ - รักษาคนดีไว้กับองค์การ - ลดปัญหาเข้า - ออกของพนักงาน - ส่งเสริมความจงรักภักดีต่อองค์การ

  7. ประโยชน์ของการธำรงรักษาประโยชน์ของการธำรงรักษา ต่อองค์การ ความเป็นทีมงานที่มีประสิทธิภาพ ภาพลักษณ์ที่ดี ดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ การเพิ่มผลผลิตมากขึ้น

  8. ต่อพนักงาน มีความปลอดภัยจากระบบงานที่ดี ความมั่นคงในการปฏิบัติงาน

  9. หลักการธำรงรักษาพนักงานหลักการธำรงรักษาพนักงาน 1. หลักความเสมอภาค ความเท่าเทียมกันในขอบเขตของการธำรงรักษา

  10. 2. หลักแห่งสิทธิประโยชน์ มีลักษณะการแลกเปลี่ยนกันและกันทั้งองค์การและพนักงาน เช่น ประสิทธิภาพการทำงาน คุณภาพงาน และสิทธิประโยชน์ที่พนักงานพึงได้รับ

  11. 3. หลักแห่งการจูงใจ

  12. 4. หลักแห่งการตอบสนองความต้องการ -การมอบสิทธิประโยชน์ควรจะเป็นสิ่งที่เอื้อประโยชน์ต่อพนักงานอย่างแท้จริง

  13. 5. หลักแห่งประสิทธิภาพ - การมอบสิทธิประโยชน์นั้นควรจะเป็นการคำนึงถึงผลประโยชน์ที่รวดเร็วและดีที่สุดต่อทั้งพนักงานและองค์การ

  14. 6.หลักแห่งความพึงพอใจ เป็นการสมประโยชน์

  15. ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการธำรงรักษาพนักงานทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการธำรงรักษาพนักงาน 1.ทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการของมนุษย์ -การที่องค์การสามารถตอบสนองต่อความต้องการตั้งแต่ขั้นพื้นฐานจนถึงสูงสุด

  16. 2. ทฤษฎีการจูงใจสองปัจจัย

  17. M H เงินเดือน ความมั่นคง ปลอดภัย นโยบายที่จะจ่ายค่าตอบแทน ดูแลความั่นคงและปลอดภัย

  18. 3. ทฤษฎีการจูงใจของแมคเคลนแลนด์ HOPE ค่าตอบแทน ปัจจุบัน

  19. ขอบเขต(วิธีการ)ของการธำรงรักษา 5ประการ • 1. การจ่ายค่าตอบแทนที่เหมาะสม • 2. การจัดสภาพแวดล้อมที่ดีในสถานที่ทำงาน • 3.การให้ประโยชน์และการบริการที่ดีและเป็นไปตามความต้องการของพนักงาน • 4.การป้องกันอุบัติเหตุและส่งเสริมความปลอดภัย • 5. การพัฒนาอาชีพของพนักงาน

  20. 1.หลักการจ่ายค่าตอบแทนที่เหมาะสมกับ ค่าครองชีพ ลักษณะงาน ความยุติธรรม จูงใจ เสมอภาค เป็นไปตามหลักการและหลักเกณฑ์ที่องค์การกำหนด โครงสร้างเงินเดือน

  21. 2. แนวทางการจัดสภาพแวดล้อมที่ดี 2.1 สภาพแวดล้อมทางกายภาพ - แสงสว่างที่เหมาะสมกับลักษณะงาน - การใช้เสียง เสียงดนตรีและเสียงรบกวน - การใช้สีภายในสำนักงาน - การปรับอากาศ ให้มีอุณหภูมิพอเหมาะ

  22. 2.2 สภาพแวดล้อมทางจิตวิทยาหรือบรรยากาศในการทำงาน -ความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างพนักงานภายในองค์การจะช่วยให้การธำรงรักษาพนักงานดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ

  23. 3. การให้ผลประโยชน์และการบริการ ความหมายผลตอบแทนต่าง ๆที่องค์การมอบให้ แก่พนักงานในรูปแบบต่างๆ ที่ไม่เกี่ยวข้องกับค่าตอบแทนที่องค์การจ่ายให้พนักงานอยู่เป็นประจำ

  24. ความสำคัญของผลประโยชน์และบริการความสำคัญของผลประโยชน์และบริการ ด้านสังคม : พนักงานมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงเพราะบริการด้านอาชีว อนามัย องค์การ: ลดปัญหาการหมุนเวียนของพนักงาน พนักงาน: รับสิทธิประโยชน์มากขึ้น

  25. ประเภทของการให้ประโยชน์และบริการประเภทของการให้ประโยชน์และบริการ 1. เวลาที่ไม่ต้องทำงาน - วันหยุดประจำปี - พักผ่อนประจำปี ปีละ 10 วัน - วันลา ปกติ ลากิจ ลาป่วย ลาคลอดลาศึกษาต่อ ลาระดมพล

  26. 2. ประโยชน์ด้านสุขภาพและความมั่นคง - ด้านสังคม : ช่วยเหลือบุคคลไม่ต้องพ้นจากงาน • ด้านรายได้ : ลักษณะเหมือนกับการประกันสังคมที่มีใช้กันในต่างประเทศ

  27. 3. สิทธิประโยชน์ด้านอื่น ๆ กองทุน บำเหน็จบำนาญข้าราชการ กองทุนเงินทดแทน ฯลฯ

  28. 4. แนวทางการป้องกันอุบัติเหตุและส่งเสริมความปลอดภัย เป็นไปตามทฤษฎีการบริหาร ความหมายของอุบัติเหตุ ประเภทการเกิดของอุบัติเหตุ - เล็กน้อยไม่อันตรายรุนแรง

  29. สาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุสาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุ 1.สาเหตุจากพนักงาน 2.สาเหตุระบบการบริหารจัดการ 3. สาเหตุจากสภาพแวดล้อม

  30. การส่งเสริมความปลอดภัยการส่งเสริมความปลอดภัย -กำหนดนโยบาย การฝึกซ้อมการหนีภัยต่าง ๆ เอาจริงเอาจังกับผู้ไม่ปฏิบัติตามกฎระเบียบ - การคัดเลือกพนักงานที่มีคุณภาพ - กำหนดผู้รับผิดชอบด้านการดูแลความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน

  31. 5. การพัฒนาอาชีพ ความหมายของอาชีพกิจกรรมการเลี้ยงชีพ การทำมาหากิน และงานที่กระทำอยู่เพื่อการเลี้ยงชีวิต ของตนเองและผู้ที่เกี่ยวข้อง เช่น คนในครอบครัว หรือบุคคลอื่นที่ต้องเลี้ยงดู

  32. Career Path Planning การวางแผนอาชีพ หมายถึงระบบการพิจารณาเลื่อนขั้น ซึ่งพิจารณาจาก 4 ด้านคือ ทักษะ ความรู้ ประสบการณ์ และผลงาน ซึ่งควรมีรีวิวทั้งรายไตรมาสและและรายปี และสำรองคนใน Talent Pool เพื่อเสริมระดับบริหารได้ทุกเมื่อ

  33. ธนาคาร นักศึกษา Job Competency : วุฒิการศึกษา,มนุษยสัมพันธ์,ความซื่อสัตย์,ความรับผิดชอบ

  34. อาชีพทางการบริหารมีคำศัพท์ที่เกี่ยวข้อง 4 คำ คือ 1.สายทางก้าวหน้าของอาชีพ: คือ หนทางที่องค์การกำหนดเส้นทางการเจริญเติบโตในการปฏิบัติงาน เช่น การเลื่อนตำแหน่ง

  35. 2. การวางแผนอาชีพ: วิธีการที่พนักงานแต่ละคนเป็นผู้กำหนดอนาคตในอาชีพของตนเอง โดยการสนับสนุนจากองค์การ 3. การพัฒนาสายงานอาชีพ: เป็นวิธีการจัดระบบเพื่อให้พนักงานเกิดความมั่นใจในการปฏิบัติงาน

  36. 4. การบริหารจัดการงานอาชีพ: เป็นกิจกรรมและโอกาสต่าง ๆ ที่องค์การจัดทำขึ้นเพื่อให้มีความมั่นใจว่าจะมี กำลังคนมากเพียงพอต่อการปฏิบัติงาน

  37. วัตถุประสงค์ของการพัฒนาอาชีพวัตถุประสงค์ของการพัฒนาอาชีพ -พัฒนาความรู้และประสบการณ์ในการทำงานของพนักงาน ด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่นการฝึกอบรมให้สอดคล้องกับแผนการพัฒนาอาชีพ

  38. การพัฒนาอาชีพ ( Career Development) การวางแผนงานอาชีพ (บุคคล) การวางแผนงานอาชีพ (องค์การ) • การเลือกอาชีพที่ตนถนัด- การเลือกหน่วยงาน • -การเลือกลักษณะงานที่ได้รับมอบหมาย- การพัฒนาตนเองเพื่อเข้าสู่อาชีพ • การสรรหาและการคัดเลือกนักงาน • การสรรหาพนักงานลงสู่ตำแหน่ง • การจัดสายทางก้าวในอาชีพของพนักงาน • การประเมินผลการปฏิบัติงานและศักยภาพของพนักงาน การพัฒนาและการฝึกอบรม

More Related