1 / 69

การจัดทำสมรรถนะ และแผนพัฒนารายบุคคล (Competency and Individual Development Plan)

การจัดทำสมรรถนะ และแผนพัฒนารายบุคคล (Competency and Individual Development Plan). ดร.ณัฐวัฒน์ นิปกากร, DMS. วิธีการบริหาร กิจการ บ้านเมือง ที่ดี. ระบบการบริหาร งานบุคคลที่ ส่งเสริม คนเก่ง/ คนดี. ประชาชน เป็นศูนย์กลาง. การบริหาร ราชการแบบ บูรณาการ. การบริหารจัดการ ภาครัฐแนวใหม่.

zena
Download Presentation

การจัดทำสมรรถนะ และแผนพัฒนารายบุคคล (Competency and Individual Development Plan)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจัดทำสมรรถนะ และแผนพัฒนารายบุคคล(Competency and Individual Development Plan) ดร.ณัฐวัฒน์ นิปกากร, DMS.

  2. วิธีการบริหาร กิจการ บ้านเมือง ที่ดี ระบบการบริหาร งานบุคคลที่ ส่งเสริม คนเก่ง/ คนดี ประชาชน เป็นศูนย์กลาง การบริหาร ราชการแบบ บูรณาการ การบริหารจัดการ ภาครัฐแนวใหม่ มีประสิทธิภาพ วัดผลได้ โปร่งใส ทบทวน บทบาท ภารกิจต่อเนื่อง E - government รูปแบบใหม่ ขององค์กร ของรัฐ องค์กร กะทัดรัด/ matrix

  3. เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ลักษณะสำคัญขององค์กร มาตรา 8-9, 12-20, 22, 33-34 มาตรา 11 , 26-28, 33-34, 47-49 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล มาตรา 8, 27-28 1. การนำ องค์กร 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 6. การจัดการ กระบวนการ 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มาตรา 9, 20, 22, 45-46 มาตรา 8, 24-25, 29-32, 41-42 มาตรา 8, 10, 21, 23-25, 30-32, 35-38 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ มาตรา 11, 26, 39-40, 43-44

  4. หลักการในการออกแบบระบบจำแนกตำแหน่งและค่าตอบแทนใหม่หลักการในการออกแบบระบบจำแนกตำแหน่งและค่าตอบแทนใหม่ หลักคุณธรรม (Merit) หลักผลงาน (Performance ) หลักสมรรถนะ (Competency) กระจายความรับผิดชอบ ในการบริหารทรัพยากรบุคคล

  5. ระบบสมรรถนะ(Competency Based Approach)

  6. สมรรถนะ (Competency) หมายถึง ความรู้ (Knowledge) ทักษะ (Skills) และคุณลักษณะเชิงพฤติกรรม (Attributes) ของบุคคล ซึ่งจำเป็นในการปฏิบัติงานตำแหน่งต่างๆ ให้ประสบความ สำเร็จ โดยได้ผลงานที่สูงกว่ามาตรฐาน และโดดเด่นกว่าเพื่อนร่วมงานในสถานการณ์ที่หลากหลายกว่า

  7. Competency Approach ขีดสมรรถนะ (Competency) คือ ความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะส่วนบุคคลที่ทำให้บุคคลผู้นั้นทำงานในความรับผิดชอบของตนได้ดีกว่าผู้อื่น โดยแบ่งออกเป็น • สมรรถนะหลัก (Core Competency) • สมรรถนะตามหน้าที่ (Functional Competency)

  8. ความรู้ที่เป็นสมรรถนะความรู้ที่เป็นสมรรถนะ • ความรู้ (Knowledge) อย่างเดียวไม่ถือเป็นสมรรถนะ เว้นแต่ความรู้ในเรื่องนั้นจะถูกนำมาประยุกต์ใช้กับงานให้ประสบผลสำเร็จจึงถือเป็นส่วนหนึ่งของสมรรถนะ • ตัวอย่างเช่น ความรู้และความเข้าใจในความไม่แน่นอนของ “ราคา” ในตลาด ถือเป็นความรู้ แต่ความสามารถในการนำความรู้และความเข้าใจในความไม่แน่นอนของ“ราคา” ในตลาด มาพัฒนารูปแบบการกำหนด “ราคา” ได้นั้น จึงจะถือเป็นสมรรถนะ

  9. ทักษะที่เป็นสมรรถนะ • ทักษะ (Skill) อย่างเดียวไม่ถือเป็นสมรรถนะ แต่ทักษะที่ก่อให้เกิดผลสำเร็จอย่างชัดเจนถือเป็นสมรรถนะ • ตัวอย่างเช่น ความสามารถในการนำเสนอผลิตภัณฑ์ใหม่ เป็นทักษะ แต่ความสามารถในการวางตำแหน่งผลิตภัณฑ์ใหม่ (Positioning) ในตลาดให้แตกต่างจากคู่แข่ง ถือเป็น สมรรถนะ

  10. คุณลักษณะเชิงพฤติกรรม (Attributes) • สมรรถนะไม่ใช่แรงจูงใจหรือทัศนคติ แต่เป็นแรงขับภายในที่ทำให้บุคคลแสดงพฤติกรรมที่ตนมุ่งหวัง ไปสู่สิ่งที่เป็นเป้าหมายของเขา • ตัวอย่างเช่น การต้องการความสำเร็จ เป็นแรงจูงใจที่ก่อให้เกิดแนวคิดหรือทัศนคติที่ต้องการสร้างผลงานที่ดี แต่ความสามารถในการทำงานให้สำเร็จได้ตรงตามเวลาที่กำหนด ถือเป็นสมรรถนะ

  11. การจัดทำ Competency Model ในโครงการนี้มุ่งเก็บข้อมูลจากกลุ่มประชากรผู้มีผลงานดีเด่น การศึกษา Competency Modelควรจะศึกษาบุคลากรทั้ง 2 กลุ่มนี้ ผู้มีผลงานดีเด่น (Superior performers) ผู้มีผลงานระดับปรกติทั่วไป (Typical performers) ผู้ไม่มีผลงาน (Non-performers) Competency Models ส่วนใหญ่เพียงแยกแยะผู้ไม่มีผลงานออกจากพนักงานกลุ่มอื่นในองค์กรเท่านั้น Baseline performance Differentiating performance

  12. ผลกระทบของ Competency ต่อผลสัมฤทธิ์ที่งานต้องการ Number of People A B C D Low Performance Average Performance Superior Performance ความแตกต่างระหว่างผลสัมฤทธิ์ที่ได้จากผู้ปฏิบัติงานปานกลางกับยอดเยี่ยม Differences Between Average and Superior Performers งานที่มีความซับซ้อนน้อย (Low-complexity jobs) งานที่มีความซับซ้อนปานกลาง(Moderate-complexity jobs) งานที่มีความซับซ้อนสูง (High-complexity jobs) งานขาย (Sales) 19% 32% 48% 48% –120% Ref: J.E. Hunter, F.L. Schmidt, and M.K. Judiesch, “Individual Differences in Output Variability as a function of Job Complexity” Journal of Applied Psychology 75 (1990): 28-42.

  13. คุณลักษณะสำคัญของสมรรถนะคุณลักษณะสำคัญของสมรรถนะ • ประกอบด้วย 2 ส่วน ส่วนที่เห็นได้ชัดเจนคือ พฤติกรรมที่เกิดจากทักษะ และความรู้ ซึ่งบริหารจัดการได้ง่าย และอีกส่วนหนึ่งที่ซ่อนเร้นอยู่คือ พฤติกรรมที่สะท้อนจากค่านิยม อุปนิสัย ทัศนคติ และแรงจูงใจ • สมรรถนะต้องแสดงให้เห็นถึงผลงาน และเชื่อมโยงไปสู่ผลงาน • ผลงานนั้นต้องสามารถวัดค่าได้ หรือ KPIs • ต้องสามารถเรียนรู้และพัฒนาได้ (Acquisition Development)

  14. จัดกลุ่มตามประเภทของสมรรถนะจัดกลุ่มตามประเภทของสมรรถนะ

  15. จัดกลุ่มตามลำดับชั้นของสมรรถนะจัดกลุ่มตามลำดับชั้นของสมรรถนะ • สมรรถนะองค์การ (Organization Competency) • สมรรถนะหลักของบุคลากรในองค์การ (Core Competency) • สมรรถนะตามหน้าที่งานหรือกลุ่มงาน (Job Family Competency) • สมรรถนะตามสายวิชาชีพ (Technical Competency) • สมรรถนะร่วมของทุกตำแหน่งในสายวิชาชีพ (Common Competency) • สมรรถนะเฉพาะตำแหน่งในสายวิชาชีพ (Specific Technical Competency)

  16. ลำดับชั้นของสมรรถนะ สมรรถนะองค์กร (Organization Competency)

  17. Competency: David McCleland • Skills • Knowledge • Self-concept: Self-confidence, Attitude • Trait: Leaderships, Initiator etc. • Motive: Achievement Orientation

  18. องค์ประกอบของสมรรถนะ • ทักษะ (Skills) หมายถึง ความชำนาญ หรือความเชี่ยวชาญในการปฏิบัติงานจนสำเร็จตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ด้วยความมุ่งมั่นจากจิตใจ และร่างกาย • ความรู้ (Knowledge) หมายถึง ความสามารถในการอธิบาย ถ่ายทอดความรู้ที่มีอยู่ให้เพื่อนร่วมงาน หรือผู้ใต้ บังคับบัญชา และสามารถนำความรู้เหล่านั้นมาประยุกต์ ใช้ในการปฏิบัติงานได้จนเป็นผลสำเร็จ • แนวคิดส่วนตน (Self – concept) ได้แก่ เจตคติ (attitudes) ค่านิยม (values) ความเชื่อ (Beliefs) หรือภาพลักษณ์ส่วนตน (Self – image) ซึ่งสังเกตได้จากพฤติกรรมที่แสดงออกมา

  19. องค์ประกอบของสมรรถนะ • อุปนิสัย (Traits) หมายถึงลักษณะทางกายภาพที่มีการตอบสนองต่อข้อมูล หรือสถานการณ์ต่างๆ อย่างสม่ำเสมอ • แรงจูงใจ (Motive) หมายถึง สิ่งต่างๆ ที่เป็นแรงขับ (Drive) ให้บุคคลแสดงพฤติกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งออกมา เป็นสิ่งที่ซ่อนเร้นอยู่ในความคิด หรือความต้องการซึ่งเป็นต้นเหตุของการแสดงออกในรูปของพฤติกรรม

  20. Competency Pyramid สังเกตเห็นได้ (Observation) เรียนรู้ (Learning) มีอยู่แล้วแต่เดิม (Innate Abilities) และสามารถพัฒนาให้เกิดขึ้นได้ (Acquired Abilities) มีอยู่แล้วแต่เดิม (Innate Abilities)

  21. Competency Application in HRM • Recruitment and Selection • Training and Development • Performance Appraisal • Compensation Management: Reward • Career Path Development • Succession Plan

  22. ขั้นตอนการจัดทำสมรรถนะขั้นตอนการจัดทำสมรรถนะ • วิเคราะห์วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย และแผนยุทธศาสตร์ขององค์การ เพื่อกำหนดสมรรถนะองค์การ และสมรรถนะหลัก(Organization & Core Competency) • วิเคราะห์ภารกิจ หรือบทบาทหน้าที่ของกลุ่มงาน แผนกเพื่อกำหนดสมรรถนะประจำกลุ่มงาน (Functional or Department Competency) • วิเคราะห์หน้าที่ความรับผิดชอบของแต่ละตำแหน่งตามคำพรรณนาลักษณะงาน (Job Description or Role Profile) เพื่อกำหนดสมรรถนะประจำตำแหน่งงาน หรือสายอาชีพ (Position Competency)

  23. ขั้นตอนการจัดทำสมรรถนะขั้นตอนการจัดทำสมรรถนะ • กำหนดชื่อสมรรถนะหลัก และสมรรถนะประจำกลุ่มงานตามที่ ก.พ. กำหนดและองค์กรกำหนดเอง • กำหนดว่าสมรรถนะรายการนั้นควรแบ่งเป็นระดับพฤติกรรม (Leveled) หรือเหมือนกันทั้งองค์การ (Non-Leveled) • กำหนดคำจำกัดความของสมรรถนะแต่ละรายการ (Competency Definition) • กำหนดลักษณะของพฤติกรรมหลักที่ต้องการในแต่ละระดับของสมรรถนะ (Key Result Area) เพื่อให้สอดคล้องกับของ ก.พ. ควรกำหนด 5 – 6 ระดับ

  24. ขั้นตอนการจัดทำสมรรถนะขั้นตอนการจัดทำสมรรถนะ • กำหนดรายละเอียดของพฤติกรรม (bullets or items) ในแต่ละระดับ (levels) ภายใต้ลักษณะพฤติกรรมหลักที่ต้องการ (Key Result Area) • กำหนดเกณฑ์มาตรฐานในการประเมินสมรรถนะ (Competency Mapping) • ประเมินสมรรถนะสำหรับบุคลากร และจัดทำแผนพัฒนารายบุคคล (Competency Assessment and Individual Development Planning – IDP)

  25. ขั้นตอนการจัดทำสมรรถนะประจำตำแหน่งงานขั้นตอนการจัดทำสมรรถนะประจำตำแหน่งงาน • สำรวจข้อมูลเกี่ยวกับหน้าที่และความรับผิดชอบของงานที่ทำ (Job Description or Role Profile) • วิเคราะห์หาตัวชี้วัดผลงานตามตำแหน่ง (KPIs) • วิเคราะห์หาสมรรถนะที่จำเป็นในการปฏิบัติงานและสนับสนุนให้เกิดผลงานตามที่คาดหวัง • วางน้ำหนักและกำหนดระดับความคาดหวังของแต่ละสมรรถนะ • ประเมินผลความเหมาะสมอีกครั้งหนึ่ง • นำสมรรถนะไปใช้งานและติดตามผล

  26. การวิเคราะห์เพื่อกำหนดชื่อสมรรถนะการวิเคราะห์เพื่อกำหนดชื่อสมรรถนะ ในขั้นตอนนี้จะเป็นการวิเคราะห์จากเอกสารต่างๆ โดยบุคลากรในองค์กร กลุ่มงาน ฝ่ายงาน หรือแต่ละตำแหน่ง เพื่อกำหนดชื่อสมรรถนะที่ต้องการ

  27. ต้นแบบสมรรถนะ (Competency Model)จำแนกตามกลุ่มงาน ...

  28. การมุ่งผลสัมฤทธิ์ บริการที่ดี การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ จริยธรรม ร่วมแรงร่วมใจ ความเข้าใจองค์กร การคิดวิเคราะห์ การประสานงาน การสื่อสารประชาสัมพันธ์ ความรู้เกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล ทักษะการออกแบบ การแก้ปัญหาและตัดสินใจ ตัวอย่างชื่อสมรรถนะ

  29. ตัวอย่าง: ตำแหน่งเจ้าหน้าที่การเงิน • วิเคราะห์ข้อมูลทางการเงินบัญชี หรือด้านเทคนิคเพื่อตรวจดูความถูกต้อง เชื่อถือได้ของข้อมูล ภายในเวลาที่กำหนด • ความรู้ • ความรู้ด้านการเงินและบัญชี • ความรู้เกี่ยวกับระเบียบงบประมาณ • ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

  30. ตัวอย่าง: ตำแหน่งเจ้าหน้าที่การเงิน • ทักษะ • ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ • ทักษะการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางบัญชี • ทักษะการคำนวณ • คุณลักษณะเชิงพฤติกรรม • ความถูกต้องของงาน • การคิดวิเคราะห์

  31. การคัดเลือกสมรรถนะ ในความเป็นจริง สมรรถนะหลัก สมรรถนะประจำกลุ่มงาน และสมรรถนะประจำตำแหน่งงานจะมีจำนวนมากมาย แต่คำถามที่องค์การส่วนใหญ่คือ ควรมีจำนวนเท่าไร ให้ยึดหลักเกณฑ์ดังนี้ • สำคัญที่สุด (The most importance) • มีผลกระทบต่อองค์กรมากที่สุด (The organization impact) • มีผลต่อความสำเร็จของงานในกลุ่มงาน หรือตำแหน่งงานนั้นๆมากที่สุด (The performance impact) เทคนิคที่ใช้คือการจัดกลุ่มความสำคัญ (Hierarchy of Competencies) หรือการจัดกลุ่มตามค่าเฉลี่ย

  32. Quantitative Matrix - QM

  33. Level vs. Non Level สมรรถนะที่จัดระดับพฤติกรรม (Leveled Competency) หมายถึง สมรรถนะที่มีความแตกต่างกันตามประสบการณ์การทำงานของบุคลากร ซึ่งผู้ที่ปฏิบัติงานมานานกว่า ควรมีระดับพฤติกรรมสูงกว่าผู้ที่เริ่มปฏิบัติงาน สมรรถนะที่ไม่จัดระดับ (Non – leveled Competency) หมายถึง สมรรถนะที่บุคลากรทุกคนควรมีพฤติกรรมเหมือนกันในสมรรถนะนั้น โดยไม่จำเป็นต้องอิงประสบการณ์การทำงาน

  34. องค์ประกอบพจนานุกรม (Dictionary) • รายชื่อสมรรถนะ (Competency Name) • รหัสอ้างอิง (Code) • คำจำกัดความ (Definition) • ระดับความสามารถ (Proficiency Level) • คำอธิบายระดับความสามารถ (Proficiency Description)

  35. แบบฟอร์มตัวอย่าง Excellence Training Institution ชื่อสมรรถนะ (Competency Name) รหัสอ้างอิง (Code) คำจำกัดความ (Definition)

  36. การกำหนดคำจำกัดความของสมรรถนะการกำหนดคำจำกัดความของสมรรถนะ เป็นการตกลงร่วมกันเพื่อให้ความหมายของชื่อสมรรถนะต่างๆ ตามที่บุคลากรในแต่ละองค์กร กลุ่มงาน ฝ่ายงาน หรือตำแหน่งงานมีความเข้าใจตรงกัน ใช้ภาษา หรือศัพท์เทคนิคที่เป็นแบบแผนเดียวกัน และทำให้เกิดความเข้าใจในภาพรวมของพฤติกรรมในแต่ละสมรรถนะได้อย่างถูกต้องตรงกัน

  37. ตัวอย่างคำจำกัดความของสมรรถนะ (ประเภทคุณลักษณะเชิงพฤติกรรม) การวางแผนกลยุทธ์ (Strategic Planning – SP) ความสามารถในการกำหนดแผนกลยุทธ์ทั้งในระดับองค์กร และระดับหน่วยงานเพื่อตอบสนองต่อวิสัยทัศน์ ภารกิจ และเป้าหมายในการดำเนินงานของกรมชลประทาน และหน่วยงานที่ถูกกำหนดขึ้น

  38. ตัวอย่างคำจำกัดความของสมรรถนะ (ประเภทความรู้) ความรู้ด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource Management Knowledge – HRMK) ความสามารถในการอธิบายถึงแนวคิด หลักการ วิธีการและขั้นตอนการทำงานในด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ รวมทั้งการตอบข้อซักถามในประเด็นต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานการบริหารทรัพยากรมนุษย์ได้ พัฒนา และปรับปรุงขั้นตอนการทำงานการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ให้มีประสิทธิภาพ

  39. ตัวอย่างคำจำกัดความของสมรรถนะ (ประเภททักษะ) ทักษะด้านการวิเคราะห์และประมวลผลข้อมูล (Data Processing Skills – DPS) ความสามารถในการปฏิบัติงานด้านการวิเคราะห์ และประมวลผลข้อมูล เพื่อการจัดทำฐานข้อมูล และการเผยแพร่ข้อมูลการบริหารจัดการระบบสารสนเทศ ตลอดจนสนับสนุนข้อมูลให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยใช้ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศที่จำเป็น

  40. ตัวอย่างคำจำกัดความของสมรรถนะ (ประเภทคุณลักษณะเชิงพฤติกรรม การประสานงาน (Co-ordination – COOR) ความสามารถในการระบุได้ถึงบุคคล และวันเวลาที่เหมาะสมในการติดต่อประสานงาน รวมทั้งความ สามารถในการติดต่อประสานงานกับผู้อื่น ทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน ตลอดจนการให้คำแนะนำแก่ผู้อื่นถึงเทคนิคและวิธีการในการติดต่อประสานงานกับหน่วยงานต่างๆ

  41. การกำหนดลักษณะของพฤติกรรมหลักที่ต้องการการกำหนดลักษณะของพฤติกรรมหลักที่ต้องการ เป็นการกำหนดลักษณะพฤติกรรมในรูปของความรู้ ทักษะ หรือคุณลักษณะเฉพาะเป็นภาพรวมซึ่งองค์การคาดหวังให้บุคลากรปฏิบัติได้ ทั้งนี้ จะมีความแตกต่าง ยากง่าย หรือสลับซับซ้อนมากขึ้นตามลำดับในแต่ละระดับ

  42. รูปแบบการจัดระดับ (Pattern 4 – 6) Pattern – 6 กลยุทธ์ (Strategize) Pattern – 5 เชี่ยวชาญ (Expert) กลยุทธ์ (Strategize) Pattern – 4 การนำ (Lead) ชำนาญ (Master) การนำ (Lead) กำกับดูแล (Supervise) กำกับดูแล (Supervise) ชำนาญ (Master) ประยุกต์ใช้ (Apply) ประยุกต์ใช้ (Apply) ประยุกต์ใช้ (Apply) ผู้เริ่มต้น (Beginner) ผู้เริ่มต้น (Beginner) ผู้เริ่มต้น (Beginner)

  43. ตัวอย่างการกำหนดลักษณะของพฤติกรรมหลักที่ต้องการตัวอย่างการกำหนดลักษณะของพฤติกรรมหลักที่ต้องการ

  44. ตัวอย่างการกำหนดลักษณะของพฤติกรรมหลักที่ต้องการตัวอย่างการกำหนดลักษณะของพฤติกรรมหลักที่ต้องการ

  45. ตัวอย่างการกำหนดลักษณะของพฤติกรรมหลักที่ต้องการตัวอย่างการกำหนดลักษณะของพฤติกรรมหลักที่ต้องการ

  46. การกำหนดรายละเอียดพฤติกรรมการกำหนดรายละเอียดพฤติกรรม รายละเอียดพฤติกรรมในแต่ละ Key Result Area ควรเขียนด้วยถ้อยคำที่แสดงพฤติกรรม สามารถสังเกตเห็น และวัดได้อย่างชัดเจน เช่น วางแผน ชี้แจง สอนงาน ให้คำแนะนำ ถ่ายทอดความรู้ สร้างการมีส่วนร่วม ควรหลีกเลี่ยงถ้อยคำซึ่งเป็นนามธรรม และไม่สามารถวัด หรือสังเกตเห็นได้ เช่น มีความรู้ เข้าใจสภาพความเปลี่ยนแปลง มีทัศนคติที่ดีต่อการปฏิบัติงาน หรือมีมุมมองที่ถูกต้องตรงกับความเป็นจริง

  47. ตัวอย่างการกำหนดรายละเอียดพฤติกรรมตัวอย่างการกำหนดรายละเอียดพฤติกรรม

  48. ตัวอย่างการกำหนดรายละเอียดพฤติกรรมตัวอย่างการกำหนดรายละเอียดพฤติกรรม

  49. ตัวอย่างการกำหนดรายละเอียดพฤติกรรมตัวอย่างการกำหนดรายละเอียดพฤติกรรม

  50. ตัวอย่างการกำหนดรายละเอียดพฤติกรรมตัวอย่างการกำหนดรายละเอียดพฤติกรรม

More Related