1 / 22

ความ ต้องการสารสนเทศ

ความ ต้องการสารสนเทศ. อ.วร พจน์ พรหมจักร. Guideline ความต้องการสารสนเทศ. ความต้องการ. ความหมาย 1

Download Presentation

ความ ต้องการสารสนเทศ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ความต้องการสารสนเทศ อ.วรพจน์ พรหมจักร

  2. Guideline ความต้องการสารสนเทศ

  3. ความต้องการ ความหมาย 1 • ประยูรศรี มณีสร (2532, 99-100)กล่าวว่า ความต้องการ หมายถึง ความอยากได้อยากมี มนุษย์มีความต้องการตามธรรมชาติหากได้รับการตอบสนองตามความต้องการนั้น ก็จะมีความสุขในชีวิต เกิดความเชื่อมั่นในตนเองและเกิดความพยายามที่จะทำประโยชน์ต่อไป แต่ถ้าไม่ได้รับการตอบสนองอย่างที่มุ่งหวังไว้ ก็ย่อมจะทำให้เกิดปัญหาทั้งด้านร่างกายและอารมณ์ขึ้น

  4. ทฤษฎีความต้องการ • ทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการของ Maslow (1974) Hierachy of Needs • ความต้องการทางด้านร่างกาย • ความต้องการความปลอดภัย • ความต้องการความรักและความเป็นเจ้าของ • ความต้องการการยอมรับนับถือ • ความต้องการบรรลุศักยภาพสูงสุดแห่งตน • ทฤษฎีความต้องการ ERG ของ Alderfer(1969) • ความต้องการที่จะดำรงชีวิต • ความต้องการด้านความสัมพันธ์ • ความต้องการด้านความเจริญเติบโต

  5. ลำดับขั้นความต้องการของมนุษย์ตามแนวคิดของมาสโลว์(Maslow, 1974)

  6. ทฤษฎีความต้องการ ERGของอัลเดอร์เฟอร์ (Alderfer, 1969)

  7. ความต้องการสารสนเทศ ความหมาย 1 อัครพร สุทธิกุญชร (2534, 17) ให้ความหมายว่า หมายถึง ความอยากได้อยากมีข้อมูล ข้อเท็จจริง ความรู้ เรื่องราวต่างๆ เพื่อนำมาใช้ในการตอบปัญหาหรือตัดสินใจเรื่องใดเรื่องหนึ่ง

  8. ความต้องการสารสนเทศ ความหมาย 2 ความต้องการสารสนเทศหมายถึง การตระหนักรู้ถึงความไม่รู้หรือความไม่แน่ใจที่มีอยู่ของสารสนเทศ และต้องการสารสนเทศเพื่อช่วยให้สามารถดาเนินการต่าง ๆ ได้ เช่น เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ เพื่อเสริมสร้างความแน่ใจ เพื่อแก้ไขปัญหา และเพื่อตัดสินใจ เป็นต้น

  9. วัตถุประสงค์ของความต้องการสารสนเทศวัตถุประสงค์ของความต้องการสารสนเทศ • เพื่อตอบสนองความอยากรู้อยากเห็น • เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ • เพื่อการศึกษาและพัฒนาทั้งในส่วนตนและสังคม • เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการปฏิบัติงานหรือการบริหารงาน • เพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในชีวิตส่วนตัวและการงาน • เพื่อสนับสนุนการค้นคว้าวิจัยให้มีประสิทธิภาพ

  10. ประเภทของสารสนเทศที่บุคคลต้องการประเภทของสารสนเทศที่บุคคลต้องการ • สารสนเทศที่ต้องรู้ เช่น กฎหมาย หน้าที่ และความรับผิดชอบของประชาชนต่อประเทศชาติ • สารสนเทศที่ควรรู้ เช่น ข่าวความเคลื่อนไหวในสังคม เพื่อจะได้ทราบว่าควรปฏิบัติตัวอย่างไรจึงจะเหมาะสม • สารสนเทศที่อยากรู้ เช่น ความสนใจเกี่ยวกับเรื่องราวหรือเหตุการณ์แวดล้อม เพื่อสนองความต้องการแต่ละบุคคล

  11. การกำหนดความต้องการสารสนเทศการกำหนดความต้องการสารสนเทศ • เข้าใจวัตถุประสงค์ในการใช้สารสนเทศ • กำหนดกรอบความต้องการ กำหนดคำถามเพื่อหาคำตอบได้ว่า ใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อไร อย่างไร • เชื่อมโยง สารสนเทศที่ต้องการ กับความรู้เดิมที่มีอยู่ • กำหนดหรือตั้งคำถามได้ว่า ความต้องการนั้นเป็นแบบปลายเปิด หรือการแสวงหาทางเลือก หรือต้องการคำตอบว่าใช่ หรือไม่ใช่

  12. การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศการวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ กำหนดหัวข้อ หรือ Topic โดย • ค้นหาความสนใจ/ความต้องการของตนเองที่มีต่อเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่ง ซึ่งความสนใจ/ความต้องการนั้นยังอาจยังไม่ได้รับคำตอบหรือไม่ได้รับคำตอบเพียงพอ • (งานกลุ่ม)ปรึกษาหารือกันในกลุ่ม หรือ กับอาจารย์ผู้สอน เพื่อกำหนดหัวข้อหรือ Topic ที่ต้องการศึกษาค้นคว้า

  13. การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศการวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ • ขยายประเด็นแนวคิด ของสารสนเทศที่ต้องการตาม Topic ที่กำหนด โดย • ใช้แหล่งสารสนเทศ เพื่อช่วยเพิ่มความเข้าใจเกี่ยวกับหัวข้อที่ต้องการค้นคว้า • ใช้ความรู้พื้นฐานที่มีอยู่ในตนเอง เพื่อขยายไปสู่ความรู้ใหม่ • กำหนดขอบเขตหรือกรอบความต้องการสารสนเทศ โดยให้ประเด็นแนวคิดต่างๆมีความสัมพันธ์กัน โดยควรทำในรูปแบบของ แผนที่ความคิด(Concept mapping) จะช่วยให้เห็นความสัมพันธ์ของแนวคิดที่เกิดจากการระดมสมองในกลุ่มได้ง่าย

  14. Concept Mapping • Mind Map • Mind Mapping • แผนที่ความคิด • ผังมโนทัศน์ • แผนที่มโนทัศน์

  15. วิธีการในการเรียนรู้ Concept Mapping • เรียนรู้วิธีคิด/ฝึกคิด • มองกว้าง มองลึก มองทั้งสองแบบสลับไปมา • แบ่งความคิดเป็นช่วงชั้น ฝึกการคิดเป็นช่วงชั้น

  16. องค์ประกอบในการเขียน Concept Mapping • กระดาษแผ่นเดียว • สีสันหลากหลายและเป็นระบบ • โครงสร้างตามธรรมชาติที่แผ่กระจายออกมาจุดศูนย์กลาง • มีเส้นโยง เครื่องหมาย สัญลักษณ์ และรูปภาพที่ผสมผสานร่วมกันอย่างเรียบง่าย

  17. วิธีการเขียน Concept Mapping • กระดาษเปล่าที่ไม่มีเส้นบรรทัด โดยวางกระดาษในแนวนอน • วาดภาพหรือเขียนข้อความที่สื่อถึงเรื่องที่จะทำไว้กลางหน้ากระดาษ โดยใช้สีอย่างน้อย 3 สี และต้องไม่ตีกรอบด้วยรูปทรงเรขาคณิต • เขียนเป็นคำที่มีลักษณะเป็นหน่วย หรือเป็นคำสำคัญ (Key Word) สั้น ๆ ที่มีความหมาย • แตกความคิดหลักของหัวเรื่องสำคัญแต่ละเรื่องออกเป็นกิ่ง ๆ • แตกความคิดรองลงไปที่เป็นส่วนประกอบของแต่ละกิ่ง

  18. ข้อพึงปฏิบัติในการเขียน Concept Mapping • การเขียนคำ ควรเขียนด้วยคำที่เป็นคำสำคัญ (Key Word) หรือคำหลักที่มีความหมายชัดเจน • คำ วลี สัญลักษณ์ หรือรูปภาพใดที่ต้องการเน้น อาจใช้วิธีการทำให้เด่น เช่น การตีกรอบ • ควรตกแต่ง Mind Map ที่เขียนด้วยความสนุกสนานทั้งภาพและแนวคิดที่เชื่อมโยงต่อกัน

  19. การกำหนดคุณลักษณะของสารสนเทศการกำหนดคุณลักษณะของสารสนเทศ • Content • Nature • Quantity • Format • Data Range • Quality • Language

  20. คุณลักษณะของสารสนเทศ • สารสนเทศที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้ • สารสนเทศที่มีลักษณะสอดคล้องกับค่านิยม ความเชื่อ และ ทัศนคติของบุคคล • สารสนเทศที่ได้มาด้วยความสะดวก • สารสนเทศที่มีลักษณะเฉพาะสามารถตอบสนองความต้องการ เฉพาะอย่างของบุคคลได้ • สารสนเทศที่มีความหลากหลาย ถูกต้องและครบถ้วน

  21. การวางแผนในการค้นหาสารสนเทศการวางแผนในการค้นหาสารสนเทศ • ห้วงระยะเวลาในการแสวงหาสารสนเทศ • แหล่งสารสนเทศที่จะใช้ค้นหา • ทรัพยากรสารสนเทศที่จะใช้

More Related