1 / 14

หลักเกณฑ์และแนวทางการคัดเลือกแผนงาน/โครงการ ในการวิเคราะห์ ความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาล

หลักเกณฑ์และแนวทางการคัดเลือกแผนงาน/โครงการ ในการวิเคราะห์ ความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาล. เรื่องสืบเนื่อง. การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วนราชการ

Download Presentation

หลักเกณฑ์และแนวทางการคัดเลือกแผนงาน/โครงการ ในการวิเคราะห์ ความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาล

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หลักเกณฑ์และแนวทางการคัดเลือกแผนงาน/โครงการ ในการวิเคราะห์ความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาล

  2. เรื่องสืบเนื่อง • การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วนราชการ • “บุคลากรของส่วนราชการในฐานะผู้รับผิดชอบ/ผู้บริหารโครงการ (จึง)จำเป็นต้องพัฒนาทักษะและความสามารถในการวางแผนและบริหารโครงการ ทั้งในมิติของการบริหารงานเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Management)และมิติของการบริหารจัดการงบประมาณ (Strategic Performance Based Budgeting)เพื่อให้โครงการบรรลุผลสัมฤทธิ์ตรงตามเจตนารมณ์ที่กำหนดไว้”

  3. การวางแผนและบริหารโครงการการวางแผนและบริหารโครงการ 1. ทบทวน/ ตรวจสอบ/ ประเมินผลการ ดำเนินงานโครงการ ที่ผ่านมา 2. ริเริ่ม โครงการใหม่ และการวิเคราะห์ เบื้องต้น 3. วิเคราะห์และ วางแผน รายละเอียด โครงการ 4. การวิเคราะห์ และจัดสรร งบประมาณ 5. ติดตาม ความก้าวหน้า ของการดำเนิน โครงการ 6. ประเมินผล การใช้งานและ ติดตาม ปรับปรุง/ แก้ไข

  4. 1. การทบทวนและตรวจสอบผลการดำเนินโครงการที่ผ่านมา • ทบทวน/ตรวจสอบสถานภาพของโครงการ 1.1 ความเบี่ยงเบนของคุณภาพงาน 1.2 ความเบี่ยงเบนของระยะเวลาดำเนินการ 1.3 ความเบี่ยงเบนของงบประมาณ • ทบทวน/ตรวจสอบผลผลิต/ผลลัพธ์/ผลกระทบ • ทบทวน/ตรวจสอบกลุ่มเป้าหมายและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • ทบทวน/ตรวจสอบปัญหา อุปสรรคและแนวทางแก้ไข • พิจารณาตัดสินใจ

  5. 2. การริเริ่มโครงการใหม่และวิเคราะห์เบื้องต้น • พิจารณาที่มาและความสำคัญของปัญหา 1.1 ความจำเป็น 1.2 ความเร่งด่วน • พิจารณาลักษณะของโครงการ 2.1 โครงการด้านกายภาพ 2.2 โครงการด้านบริการ 2.3 โครงการด้านการบริหารจัดการ • ระบุกลุ่มเป้าหมายและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • พิจารณาแนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชน • พิจารณาความถูกต้องทางจริยธรรมและความเป็นธรรมในสังคม • ระบุเป้าหมายผลผลิต คาดการณ์ผลลัพธ์หรือผลกระทบ

  6. 2. การริเริ่มโครงการใหม่และวิเคราะห์เบื้องต้น(ต่อ) • พิจารณาผลกระทบต่อโครงการหรือกิจกรรมอื่นที่มีอยู่แล้ว • วิเคราะห์กระบวนการและแนวคิดของโครงการ โดยเฉพาะในเรื่องความสอดคล้องและผลกระทบในมิติเชิงยุทธศาสตร์ (พื้นที่ หน้าที่ วาระ) • วิเคราะห์ความเหมาะสมทางด้านเศรษฐกิจ สังคม ความมั่นคง สิ่งแวดล้อมและคุณภาพชีวิต • ระบุทางเลือกอื่นและวิเคราะห์ความเหมาะสมของเทคโนโลยี 10.1 หนทางที่เลือกเหมาะสมกว่าทางเลือกอื่นอย่างไร 10.2 เทคโนโลยีที่เลือกใช้ เครื่องมือและองค์ความรู้เหมาะสมต่อเวลา กระบวนการ วิธีการ

  7. 2. การริเริ่มโครงการใหม่และวิเคราะห์เบื้องต้น(ต่อ) • วิเคราะห์ความเหมาะสมของระยะเวลา กระบวนการและวิธีการดำเนินงานเบื้องต้น • พิจารณาศักยภาพและข้อจำกัดของพื้นที่ • พิจารณาความพร้อมและความเพียงพอของทรัพยากรและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง • วิเคราะห์ศักยภาพและความเหมาะสมของหัวหน้าโครงการและทีมงาน 14.1 ความน่าเชื่อถือ 14.2 ความสามารถในการขับเคลื่อนงานอย่างมีประสิทธิผล 14.3 สามารถเข้าถึงได้ง่าย 14.4 ภาวะผู้นำ

  8. 3. การวิเคราะห์และวางแผนรายละเอียดโครงการ • พิจารณาขอบเขตของโครงการ 1.1 มิติเชิงปริมาณ 1.2 มิติเชิงพื้นที่ตั้งโครงการ 1.3 มิติเชิงพื้นที่ให้บริการ • วิเคราะห์รายละเอียดโครงสร้างผลผลิต/ผลลัพธ์/ผลกระทบของโครงการ และประโยชน์ต่อสาธารณชน • พิจารณากฎระเบียบข้อบังคับ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินโครงการ • วิเคราะห์/ทบทวนความคุ้มค่าของโครงการ ความน่าเชื่อถือของสมมุติฐาน และผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ 4.1 ระบุและจำแนกต้นทุน 4.2 วิเคราะห์ความคุ้มค่าของมูลค่าต้นทุนกับผลที่จะได้รับ 4.3 วิเคราะห์ความคุ้มค่าของมูลค่าต้นทุนกับผลที่จะได้รับเป็นที่เรียบร้อยแล้ว

  9. 3. การวิเคราะห์และวางแผนรายละเอียดโครงการ(ต่อ) • ระบุทางเลือก วิเคราะห์เปรียบเทียบและตัดสินใจเลือกเทคโนโลยีที่เหมาะสม 5.1 ต้นทุน –ต้นทุนของระบบ ต้นทุนการดำเนินการ ต้นทุนการบำรุงรักษา 5.2 การใช้งาน 5.3 ประสิทธิภาพ • วิเคราะห์กระบวนการนำส่งผลผลิต 6.1 ระบุกิจกรรมหลัก/ย่อยทั้งหมดในกระบวนการ 6.2 วิเคราะห์ระยะเวลากิจกรรมและความสัมพันธ์ระหว่างกิจกรรม 6.3 วิเคราะห์ระยะเวลาของโครงการ 6.4 วิเคราะห์วิธีการดำเนินกิจกรรม • วิเคราะห์รายละเอียด ศักยภาพและข้อจำกัดของพื้นที่

  10. 3. การวิเคราะห์และวางแผนรายละเอียดโครงการ(ต่อ) วิเคราะห์แผนและความพร้อมในการใช้ทรัพยากรบุคคล ประมาณราคาและทรัพยากรที่ต้องใช้ในการดำเนินกิจกรรม วิเคราะห์ความเสี่ยงของการดำเนินงานและแผนการแก้ไขปัญหาที่อาจเกิดขึ้น*** วิเคราะห์ต้นทุนและทบทวนเปรียบเทียบกับโครงการอื่นที่ใช้ผลผลิตและกิจกรรมในลักษณะเดียวกัน

  11. 4. การวิเคราะห์และจัดทำคำของบประมาณ • จัดลำดับความสำคัญของโครงการตามมิติต่างๆ 1.1 ผลที่คาดว่าจะได้รับ (Desirability) 1.2 ความพร้อม/ความเป็นไปได้ (Feasibility) +ความจำเป็นเร่งด่วน +ความคุ้มค่า +ผลกระทบ • พิจารณาจัดทำคำของบประมาณ

  12. 5. การติดตามความก้าวหน้าของการดำเนินโครงการ • จัดทำและอนุมัติแผนปฏิบัติการและแผนงบประมาณ 1.1 ควรกำหนดรูปแบบและความถี่ในการติดตาม 1.2 ความสอดคล้องของผลงานที่ได้ในช่วงเวลาต่างๆ (milestone) กับงบประมาณที่ใช้จ่าย • พิจารณาความคืบหน้าตามแผนปฏิบัติการและแผนงบประมาณ • ทบทวน/ปรับเปลี่ยนแผนปฏิบัติการ แผนงบประมาณ และระยะเวลาดำเนินงาน • สรุปผลการติดตามปัญหา อุปสรรค วิธีการแก้ไขและบทเรียน

  13. 6. การประเมินผลการใช้งาน และการติดตาม/ปรับปรุง/แก้ไข • ประเมินผลผลิตและกระบวนการบรหารจัดการผลผลิต 1.1 ประเมินผลผลิตที่ได้รับจากโครงการ (output evaluation) 1.2 ประเมินการบริหารจัดการผลผลิต (output utilization evaluation) • ประเมินผลลัพธ์และความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมาย 2.1 ประเมินผลลัพธ์ที่ได้รับจากโครงการ (outcome evaluation) 2.2 ประเมินความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมาย (customers satisfaction evaluation) • ติดตามผลกระทบ/การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทั้งทางบวกและลบ • สรุปปัญหาที่เกิดขึ้นจากการใช้งาน แนวทางการแก้ไขและบทเรียน

  14. การวางแผนและบริหารโครงการ: มุมมองต่อการจัดการเรียนการสอน 1. ทบทวน/ ตรวจสอบ/ ประเมินผลการ ดำเนินงานโครงการ ที่ผ่านมา 2. ริเริ่ม โครงการใหม่ และการวิเคราะห์ เบื้องต้น 3. วิเคราะห์และ วางแผน รายละเอียด โครงการ 4. การวิเคราะห์ และจัดสรร งบประมาณ 5. ติดตาม ความก้าวหน้า ของการดำเนิน โครงการ 6. ประเมินผล การใช้งานและ ติดตาม ปรับปรุง/ แก้ไข ประเมินผลการ จัดการเรียนการ สอนในภาพรวม ที่ผ่านมาโดย QA กำหนดแผนงาน โครงการ กิจกรรม เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์คณะ แผนยุทธศาสตร์ วิเคราะห์และ วางแผนใน รายละเอียด ของโครงการ บูรณาการกิจกรรม วิเคราะห์และ จัดสรร งบประมาณ ประจำปี อนุมัติโครงการ ติดตามข้อมูล ตัวชี้วัด/ ความก้าวหน้า โครงการ KPI/KQI ติดตามผลบัณฑิต/ ผู้ใช้บัณฑิต/ จำนวนบัณฑิต ฯลฯ QA-TQA

More Related