1 / 57

ประวัติวิทยากร

เอกสารประกอบคำบรรยาย หัวข้อ การจัดการงบประมาณตามระเบียบบริหารงบประมาณแบบบูรณาการ โดย นายสรวิชญ์ กนกวิจิตร สำนักงบประมาณ. ประวัติวิทยากร. ชื่อ-นามสกุล นาย สรวิชญ์ กนกวิจิตร ตำแหน่ง ผู้อำนวยการส่วนพัฒนาระบบงบประมาณและการจัดการที่ 6 สถานที่ทำงาน สำนัก พัฒนาระบบงบประมาณและการจัดการ

Download Presentation

ประวัติวิทยากร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เอกสารประกอบคำบรรยายหัวข้อการจัดการงบประมาณตามระเบียบบริหารงบประมาณแบบบูรณาการโดยนายสรวิชญ์ กนกวิจิตรสำนักงบประมาณ

  2. ประวัติวิทยากร ชื่อ-นามสกุลนาย สรวิชญ์ กนกวิจิตร ตำแหน่ง ผู้อำนวยการส่วนพัฒนาระบบงบประมาณและการจัดการที่ 6 สถานที่ทำงาน สำนักพัฒนาระบบงบประมาณและการจัดการ สำนักงบประมาณ ซอยอารีย์สัมพันธ์ ถนนพระรามที่ 6 พญาไท กรุงเทพฯ 10400 ประวัติการศึกษา ๑. นิติศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง ๒. เนติบัณฑิตไทย สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา ๓. Master of Public Administration (Public Policy : Evaluation Major) Roosevelt University ประเทศสหรัฐอเมริกา ๔. Cert. Budgeting for Public Work (Jica.) ประเทศญี่ปุ่น

  3. ประวัติการอบรม/ดูงาน ๑. ระบบงบประมาณรัฐบาลกลางและท้องถิ่น ของประเทศญี่ปุ่น ๒. การประมาณราคาค่าก่อสร้างงานภาครัฐ ของประเทศญี่ปุ่น ๓. การประเมินผลของรัฐบาลกลางประเทศสหรัฐอเมริกา ๔. การใช้เครื่องมือประเมินผล PART ประเทศสหรัฐอเมริกา ๕.การจัดการงบประมาณของประเทศ เยอรมัน ฝรั่งเศส และอังกฤษ ประสบการณ์การทำงาน - สำนักประเมินผล (ด้านการเกษตร การศึกษาและด้านความมั่นคง) - สำนักมาตรฐานงบประมาณ (ส่วนมาตรฐานสิ่งก่อสร้าง) - สำนักกฎหมายและระเบียบ

  4. การงานพิเศษ : 1.วิทยากรของสำนักงบประมาณ - วิทยากรบรรยาย วิชาการจัดการงบประมาณ หลักสูตร เจ้าหน้าที่บริหาร/ เจ้าหน้าที่การเงิน กรมบัญชีกลาง - วิทยากรบรรยายวิชา การงบประมาณ หลักสูตร ผู้กำกับการ สำนักงานตำรวจ แห่งชาติ - วิทยากรบรรยาย วิชาการจัดการงบประมาณ หลักสูตรอัยการจังหวัด - วิทยากรบรรยาย วิชา การจัดการงบประมาณและการประเมินผลการ ดำเนินงาน หลักสูตรผู้ตรวจสอบภายใน กรมบัญชีกลาง - วิทยากรบรรยายวิชาการงบประมาณ หลักสูตร นายทหารการเงิน กองบัญชาการทหารสูงสุด - ฯลฯ

  5. 2. คณะทำงานที่สำคัญของสำนักงบประมาณ - คณะทำงานฝ่ายสำนักงบประมาณ จัดทำคู่มือมาตรฐานการเงิน 7 ประการ : SPBB กับผู้เชี่ยวชาญจากประเทศออสเตรเลีย - คณะทำงานฝ่ายสำนักงบประมาณ พัฒนาเครื่องมือ PART กับคณะที่ปรึกษาจากประเทศไทย และประเทศสหรัฐอเมริกา - คณะทำงานบริหารองค์ความรู้ (KM.) ของสำนักงบประมาณ - คณะกรรมการพัฒนากฎหมาย - ฯลฯ

  6. 3.อาจารย์พิเศษ - อาจารย์พิเศษ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา - อาจารย์พิเศษ วิชาสัมมนาการคลังและงบประมาณ หลักสูตรปริญญาโท คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - อาจารย์พิเศษ หัวข้อการประเมินผลภาครัฐ หลักสูตร MBA (ภาคปกติ) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทรศัพท์ 0 2273 9522 โทรศัพท์มือถือ 081 3454564 โทรสาร 0 2273 9523 E-mail:Soravitch@hotmail.com

  7. ระบบงบประมาณแบบแสดงรายการ (Line Items Budgeting System) ระบบงบประมาณแบบแสดงผลงาน (Performance Budgeting System) ระบบงบประมาณแบบแสดงแผนงาน (Program Budgeting System) ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ (Strategic Performance Based Budgeting System : SPBB) 40 ระบบงบประมาณ(Budget System) OUTPUT-4/ART

  8. ผลงาน (Result) • : ผลลัพธ์สุดท้าย (Ultimate Outcome)เป้าหมายยุทธศาสตร์กระทรวง • : ผลลัพธ์ (Outcome)เป้าหมายการให้บริการระดับกรม • : ผลผลิต (Output) • : กิจกรรมหลัก (Core Activities) • : งบประมาณ (Budget)

  9. ยุทธศาสตร์ • ยุทธศาสตร์ชาติ • ยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ • ยุทธศาสตร์กระทรวง • กลยุทธ์ของกรม

  10. ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ (Stategic Performance Based Budgeting) เปลี่ยนจุดเน้นจากการจัดการงบประมาณ ที่เน้นการควบคุมทรัพยากร (Input Oriented) ที่ใช้ในการดำเนินงาน (Process Oriented) เป็นการมุ่งเน้นผลการดำเนินงาน (Performance Based) หรือ ผลผลิต (Output) และผลลัพธ์ (Outcome) ตามยุทธศาสตร์ (Strategy) ที่มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล และต้องมีการวัดผลสำเร็จของผลงาน (Performance Measures) ด้วยการติดตามผลและประเมินผล (Monitoring and Evaluation) โดยวิเคราะห์จากผลสำเร็จตามตัวชี้วัด ที่กำหนดไว้อย่างสมบูรณ์ชัดเจน มีหน่วยนับที่มี ค่าหรือเกณฑ์การวัดที่ ใช้ได้จริงและเหมาะสมกับเวลา

  11. แนวคิดของระบบงบประมาณแนวคิดของระบบงบประมาณ แบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ การจัดสรรงบประมาณที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด คือ การจัดสรรงบประมาณให้กับองค์กรที่มีศักยภาพ และประสิทธิภาพ ในการบริหารจัดการที่ดีและทำให้เกิดผลงานตามยุทธศาสตร์ ตามเป้าหมาย/ตัวชี้วัดที่กำหนดไว้ได้

  12. ระบบงบประมาณแบบใหม่ให้ความสำคัญเรื่องระบบงบประมาณแบบใหม่ให้ความสำคัญเรื่อง • ผลผลิต ผลลัพธ์(Outputs and Outcomes) • การมอบอำนาจการจัดทำและบริหารงบประมาณ • การเพิ่มขอบเขตความครอบคลุมของงบประมาณ • จัดทำกรอบงบประมาณรายจ่ายล่วงหน้าระยะปานกลาง • ความรับผิดชอบ ความโปร่งใส ตรวจสอบได้ • การติดตามประเมินผลและรายงานผล

  13. องค์ประกอบที่สำคัญของระบบงบประมาณ SPBB 1. มุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ • กิจกรรม • ผลผลิต • เป้าหมายการให้บริการระดับกรม • เป้าหมายการให้บริการระดับกระทรวง/ยุทธศาสตร์ • เป้าหมายตามยุทธศาสตร์ชาติ

  14. องค์ประกอบที่สำคัญของระบบงบประมาณ SPBB 2. มุ่งเน้นหลักการธรรมาภิบาล 2.1 โดยแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบทุกระดับ : รัฐบาล(ครม.) : รัฐมนตรี : ปลัดกระทรวง : อธิบดี 2.2 โปร่งใส/ตรวจสอบได้ 2.3 คำนึงถึงความคุ้มค่าของการใช้งบประมาณ

  15. องค์ประกอบที่สำคัญของระบบงบประมาณ SPBB 3. การมอบอำนาจในการบริหารงบประมาณโดยผ่อนคลายระเบียบฯ 4. การเพิ่มขอบเขตความครอบคลุมงบประมาณ : เงินงบประมาณ+เงินนอกงบประมาณ+รัฐวิสาหกิจ+ท้องถิ่น 5.การวางแผนการใช้งบประมาณ :MTEF(Medium Term Expenditure Framwork) :แผนการดำเนินงานและการใช้จ่ายงบประมาณแบบ(สงป.) :แผนการจัดซื้อจัดจ้าง

  16. องค์ประกอบที่สำคัญของระบบงบประมาณ SPBB 6. การติดตามและประเมินผลการใช้งบประมาณ : ระดับกิจกรรม (แบบ สงป.) : ระดับผลผลิต (Q / Q / T / C) : ระดับเป้าหมายการให้บริการกรม(Q / Q ) : ระดับเป้าหมายยุทธศาสตร์กระทรวง (Q / Q ) : ระดับเป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติ (Q / Q )

  17. การมีวินัยทางการคลัง • ความสัมพันธ์ระหว่างรายรับกับราบจ่าย • หนี้สาธารณะและความสามารถการใช้คืน • ความเป็นไปได้ในการดำเนินงานตามเป้าหมายการให้บริการของส่วนราชการ • การวางแผนงบประมาณระยะปานกลาง(5ปี) เพื่อรักษาดุลยภาพระหว่างรายได้กับรายจ่ายขิงรัฐในระยะยาว • ครอบคลุมรายจ่ายทุกประเภท • ลดความเสี่ยงทางการคลัง(รายได้/รายจ่าย/หนี้สาธารณะ) • มีความโปร่งใสและเชื่อถือได้ในการประมาณการ(รายรับและรายจ่าย)

  18. 3 - Dimension Budgeting FUNCTION AGENDA AREA

  19. กรอบรายจ่ายล่วงหน้าระยะปานกลาง : MTEF(Medium Term Expenditure Framwork) • ขอบเขตในการจัดทำ 4 ปี (1+3) • จัดทำแบบ TOP – Down(ระดับชาติ หน่วยงาน) • จัดทำแบบ Bottom – Up(ระดับหน่วยงาน สงป.) *ไม่มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายรัฐบาล*

  20. MTEF : Top - Down • กำหนดวงเงินรายจ่ายของประเทศ 4 ปี ล่วงหน้า : ประมาณเศรษฐกิจ 4ปี : GDP : X-M • ประมาณการรายได้ 4 ปี • ประมาณการหนี้ 4 ปี • นโยบายงบประมาณ (สมดุล/ขาดดุล/เกินดุล) 4 ปี • นโยบาย / แผนพัฒนา / ทิศทางการจัดงบประมาณ

  21. MTEF : Bottom - Up • เป็นการจัดวงเงินงปม. ของหน่วยจัดงปม. 4 ปี ล่วงหน้า • จัดทำแผนยุทธศาสตร์/เป้าหมายยุทธศาสตร์(ระดับกระทรวง) • จัดทำแผนยุทธศาสตร์/เป้าหมายยุทธศาสตร์/ผลผลิต/กิจกรรม(ระดับกรม) • คำนวนต้นทุนผลผลิต

  22. ตัวอย่าง MTEF(Rolling Plan and Budget) • ปีที่ 1งปม.ปี55 งปม.ปี56 งปม.ปี57 งปม.ปี58 • ปีที่ 2งปม.ปี56 งปม.ปี57 งปม.ปี58 • ปีที่ 3งปม.ปี57 งปม.ปี58 • ปีที่ 4งปม.ปี58 (ปีปัจจุบัน) Review Review Review

  23. OUTPUT SPECIFICATION INTERNAL OUTPUT EXTERNAL OUTPUT INTERMEDIATE OUTPUT FINAL OUTPUT INPUT PROCESS (PROCESS ACTIVITY) PRODUCT SERVICE

  24. ตัวชี้วัดผลสำเร็จ Key Performance Indicators ปริมาณ Quantity คุณภาพ Quality เวลา/สถานที่ Timeliness/Place ต้นทุน(ค่าใช้จ่าย) Cost (Price)

  25. ผลผลิต OUTPUT PRODUCT SERVICE สิ่งของ หรือ บริการ ที่เป็นรูปธรรม/รับรู้ได้ จัดทำหรือดำเนินงานโดยหน่วยงานของรัฐ เพื่อให้บุคคล/องค์กรภายนอกใช้ประโยชน์ หรือการตอบคำถามได้ว่า “ ได้รับอะไรจากการดำเนินงานของรัฐ” ( WHAT ? )

  26. ปัจจัยสำคัญของการจัดการงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานปัจจัยสำคัญของการจัดการงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน ประกอบด้วย 1. การวางแผนงบประมาณระยะปานกลาง (MTEF) • การคำนวณต้นทุนผลผลิต/กิจกรรม • การจัดระบบจัดซื้อจัดจ้างที่มุ่งเน้นประโยชน์ที่ได้รับมากกว่าราคา • การบริหารการเงิน/การควบคุมงบประมาณ • การรายงานทางการเงินและผลดำเนินงาน • การบริหารสินทรัพย์ • การตรวจสอบภายใน

  27. จัดทำงบประมาณ การจัดการงบประมาณ/วิธีการงบประมาณ

  28. แผนปฏิบัติราชการ 1 ปี งบประมาณประจำปี การให้บริการ ผลผลิต / โครงการ กิจกรรมนำส่ง BUDGETING CASCADING ความเชื่อมโยงและเส้นทางการแปลงยุทธศาสตร์เพื่อการจัดสรรงบประมาณ สู่ผลผลิตภายใต้แผนงบประมาณตามยุทธศาสตร์ นโยบายรัฐบาล ยุทธศาสตร์ประเทศ เป้าหมายยุทธศาสตร์ แผนบริหารราชการแผ่นดิน แผนงบประมาณ ULTIMATE GOALS OUTCOMES OUTPUTS ACTIVITIES INPUT ยุทธศาสตร์กระทรวง เป้าหมายการให้บริการกระทรวง แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี และ MTEF กลยุทธ์หน่วยงาน เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน แผนการปฏิบัติงาน แผนการใช้จ่ายงบประมาณ เงินงบประมาณ

  29. การติดตาม การประเมินผลและการรายงาน ที่สอดคล้องกับระบบงบประมาณ แบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ Evaluation as a Strategy Beyond Budgeting การติดตามประเมินผล : กลยุทธ์ในการจัดการงบประมาณ ตามมิติใหม่

  30. PART :Performance assessment rating tool

  31. แนวคิดของ PART 1. Look Forward กระบวนการทำงาน (Delivery System) 2. Look Backward ผลผลิต (Output)

  32. ประเด็นในการประเมินผลตามแนวทางของ PART • 1. จุดมุ่งหมายและรูปแบบ (Purpose and Design) • 2. แผนกลยุทธ์ในการดำเนินงาน (Strategic Planning) • 3. ความเชื่อมโยงงบประมาณ(Budget and Performance Cascade) • การบริหารจัดการ (Management) • ผลการดำเนินงาน • (Result)

  33. ก. จุดมุ่งหมายและรูปแบบ - ชัดเจน - ตรงตามเป้าหมายระดับสูง จ. ผลผลิต/ผลลัพธ์ - เปรียบเทียบแผนกับผล - ประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น - การใช้เงินคุ้มค่า ข. การวางแผนกลยุทธ์ - เป้าหมายระยะยาวที่ชัดเจน - รายละเอียดแผนกลยุทธ์ ง.การบริหารจัดการ - การบริหารหน่วยงาน - การบริหารการเงิน - การเพิ่มขีดความสามารถ - การเก็บรวบรวมข้อมูล ค. ความเชื่อมโยงงบประมาณ - เป้าหมายประจำปีที่ชัดเจน - งบประมาณสอดคล้องกับกิจกรรม/ผลผลิต - ต้นทุนแท้จริง พิจารณาจากเอกสารประกอบเป็นหลัก

  34. ก. จุดมุ่งหมายและรูปแบบ 5 คะแนน ข. การวางแผนกลยุทธ์ 20 คะแนน จ. ผลผลิต/ผลลัพธ์ 25 คะแนน ค. ความเชื่อมโยงงบประมาณ 20 คะแนน ง.การบริหารจัดการ 30 คะแนน

  35. Evidence Proof การประเมินผลโดยระบบ PART ต้องอาศัยข้อมูลและหลักฐานมา เพื่อยืนยัน (Evidence Proof) ความเป็นจริงของข้อมูลในทุกประเด็น

  36. PART-BSC 36 หน่วยนำส่ง ผลผลิตที่ 1 Input Process Output Outcome Goal PART PART PART PART BSC BSC BSC BSC BSC หน่วยนำส่ง ผลผลิตที่ 2 Input Process Output Outcome Goal PART PART PART PART BSC BSC BSC BSC BSC หน่วยนำส่ง ผลผลิตที่ 3 Input Process Output Outcome Goal PART PART PART PART BSC BSC BSC BSC BSC พัฒนา ศักยภาพ องค์การ คุณภาพ กระบวนการ ให้บริการ ประสิทธิภาพ ของผลผลิต ประสิทธิผล ขององค์การ 36 รศ.ดร. วัฒนา วงศ์เกียรติรัตน์

  37. งบประมาณจังหวัด

  38. แผนบริหารราชการแผ่นดินแผนบริหารราชการแผ่นดิน แนวทางการพัฒนา ระดับชาติ แผนปฏิบัติราชการจังหวัด คำรับรองการ ปฏิบัติราชการ แผนพัฒนาจังหวัด แผนปฏิบัติการตามปกติ ศักยภาพของจังหวัด โครงการ พัฒนาจังหวัด การลงทุนภาค เอกชน โครงการพัฒนา กท/กรม โครงการพัฒนา อปท. กระทรวง/กรม ความต้องการของประชาชนในพื้นที่ ยุทธศาสตร์ ชุมชน Development Contract แผนปฏิบัติการ (คำของบประมาณ ของจังหวัด Area Function Local Gov Private Sector

  39. แหล่งงบประมาณเพื่อการพัฒนาจังหวัดแหล่งงบประมาณเพื่อการพัฒนาจังหวัด Function งบประมาณ กระทรวง กรม โครงการพัฒนา งบดำเนินการ Area Collaborative งบประมาณจังหวัด แผนพัฒนาจังหวัด งบลงทุนภาคเอกชน โครงการพัฒนา งบประมาณตามแผน ชุมชน(อยู่ดีมีสุข) งบประมาณองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น People Partnership

  40. แผน/ยุทธศาสตร์จังหวัดแผน/ยุทธศาสตร์จังหวัด • แผนพัฒนาจังหวัด ยุทธศาสตร์จังหวัด -Function -Areaเป้าหมายยุทธศาสตร์ -People -Partnership กลยุทธ -Collaborative ผลผลิต

  41. ผลผลิต/โครงการพัฒนาจังหวัดผลผลิต/โครงการพัฒนาจังหวัด • ผลผลิตจังหวัด โครงการหลัก โครงการหลัก โครงการหลัก โครงการย่อย โครงการย่อย โครงการย่อย โครงการย่อย โครงการย่อย โครงการย่อย

  42. 42 รูปแบบการศึกษากฎหมายเกี่ยวกับการงบประมาณ การควบคุม งบประมาณ (Budget Control) (สงป., บ.ก., สตง.) การอนุมัติ งบประมาณ (Budget Adoption) (รัฐสภา) การจัดทำ งบประมาณ (Budget Preparation) (คณะรัฐมนตรี) การบริหาร งบประมาณ (Budget Execution) (ส่วนราชการ,รัฐวิสาหกิจ)

  43. ขั้นตอนการบริหารงบประมาณตามระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. 2548 และที่แก้ไขเพิ่มเติม การรายงานผล ลักษณะ 4 ข้อ 35-ข้อ 36 การโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณ หมวด 4 ข้อ 23-28 งบประมาณรายจ่ายของส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ การดำเนินการขอรับการจัดสรรงบประมาณของส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ หมวด 1 ข้อ11-ข้อ 13 การจัดสรรงบประมาณของสำนักงบประมาณ หมวด 2 ข้อ 14-ข้อ 20 การใช้จ่ายงบประมาณของส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ หมวด 3 ข้อ 21-ข้อ 22 จัดสรรตรง ให้เจ้าหนี้ จัดสรรให้ กรมบัญชีกลาง ข้อ 29 กรมบัญชีกลาง จัดสรรให้ ส่วนราชการ งบกลาง ลักษณะ 3 ข้อ 29-ข้อ 34 จัดสรรผ่าน ส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ จัดสรรตรงให้ ส่วนราชการและ รัฐวิสาหกิจใช้จ่าย ข้อ 30-ข้อ 31 จัดสรรไปยัง สำนักเบิกต่างๆ ข้อ 32 เงินเหลือจ่าย (บรรลุวัตถุประสงค์แล้ว) นำส่งคืนคลัง (เว้นตกลง สงป.) ข้อ 34 การใช้จ่ายตามแผน งาน/โครงการที่ขอ ข้อ 33

  44. การบริหารงบประมาณ ตามระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. 2548

  45. ระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. 2548 หลักเกณฑ์ทั่วไป 1 การจัดทำแผน การจัดสรร 2 3 การใช้จ่าย โอนเปลี่ยนแปลง การรายงาน 4 5

  46. การจัดสรรงบประมาณ การจัดสรรงบประมาณรายจ่าย (ระเบียบฯ ข้อ 14 ) จัดสรรเต็มจำนวน ตามที่ได้รับอนุมัติ จากรัฐสภา และตามแผนฯ ที่สำนักเบิกส่วนกลาง ใช้จ่ายหรือก่อหนี้ได้ถัดจากวันประกาศใช้ พ.ร.บ. งบประมาณฯ แต่ให้มีผลตั้งแต่ วันเริ่มต้นปีงบประมาณ จัดสรรโดยระบุจำนวนเงิน แผนงบประมาณ ผลผลิต/โครงการ งบรายจ่าย และรายการ ยกเว้น : ส่วนราชการ ที่มีที่ตั้งในภูมิภาค ระบุที่สำนักเบิกภูมิภาคตามที่ตั้งส่วนราชการฯ ยกเว้น : ผูกพันข้ามปีงบประมาณ ต้องได้รับอนุมัติ จากคณะรัฐมนตรีตาม พ.ร.บ. วิธีการงบประมาณฯ

  47. กรณีไม่ส่งแผนฯ สงป.ยังคงจัดสรรให้ โดยมีการรายงาน ต่อ ค.ร.ม. แผนฯที่ได้รับ ความเห็นชอบแล้ว เป็นหลัก ในการใช้จ่าย ก่อหนี้ผูกพัน และขอเบิกจ่าย ระหว่างที่ยังไม่ได้รับความเห็นชอบแผนฯ ใช้จ่ายได้เฉพาะ ค่าใช้จ่ายบุคลากร ดำเนินงาน ที่จำเป็นต้องจ่ายตามสัญญา กฎหมาย กองทุนและเงินทุนหมุนเวียน

  48. รายการที่สำนักงบประมาณจัดสรรแล้วรายการที่สำนักงบประมาณจัดสรรแล้ว หัวหน้าส่วนราชการ รับผิดชอบกำหนดรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ รูปแบบ การจัดหา ควบคุมดูแลการจัดหาครุภัณฑ์ ที่ดิน และสิ่งก่อสร้าง ตามความเหมาะสม โปร่งใส ประหยัด คุ้มค่า รวมถึงเป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ มติคณะรัฐมนตรี มาตรฐานของทางราชการ อย่างเคร่งครัด สามารถแก้ไขข้อความในเอกสารประกอบที่ผิดพลาด ที่ไม่ใช่สาระสำคัญ เร่งโอนจัดสรรไปยังสำนักเบิกภูมิภาคโดยไม่ชักช้า (15 วัน) ตามแผนงบประมาณ หรือแผนฯบูรณาการ ผลผลิต โครงการ กิจกรรมงบรายจ่าย รายการ และจำนวนเงิน โดยต้องสอดคล้องกับแผนฯ ยกเว้น งบบุคลากรประเภทเงินเดือน และค่าจ้างประจำ

  49. การใช้รายจ่าย การใช้รายจ่ายจากงบประมาณรายจ่าย (ระเบียบฯ ข้อ 21 วรรคสาม) งบบุคลากร ใช้จ่ายตามรายการตามหลักการจำแนกประเภทรายจ่าย โดยถัวจ่ายกันได้ภายในงบรายจ่าย งบดำเนินงาน ใช้จ่ายตามรายการตามหลักการจำแนกประเภทรายจ่าย โดยถัวจ่ายกันได้ภายในงบรายจ่าย ยกเว้น : ค่าสาธารณูปโภค โอนได้หากไม่ค้างชำระ งบลงทุน ใช้จ่ายตามรายการที่ได้รับจัดสรร หรือที่มีการโอนเปลี่ยนแปลงโดยต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่กำหนดในแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณด้วย งบอุดหนุน อุดหนุนทั่วไป : .ใช้จ่ายตามรายการ และจำนวนเงินที่จัดสรรอุดหนุนเฉพาะกิจ : ใช้จ่ายตามรายการ จำนวนเงิน และรายละเอียดอื่นใดที่กำหนดในการจัดสรร งบรายจ่ายอื่น ใช้จ่ายตามรายการที่ได้รับจัดสรร หรือที่มีการโอนเปลี่ยนแปลงนำวิธีการของ งบบุคลากร งบดำเนินงานและงบลงทุนมาใช้โดยอนุโลม

  50. ●รายการก่อหนี้ผูกพันข้ามปีงบประมาณ●การกำหนดอัตราข้าราชการใหม่● ค่าเดินทางไป ตปท. ที่ไม่ได้กำหนดในแผนฯ●ค่าครุภัณฑ์ ราคาต่อหน่วยเกินกว่า 1 ล้านบาท●ค่าสิ่งก่อสร้าง ราคาต่อหน่วยเกินกว่า 10 ล้านบาท ● รายการค่าที่ดิน ●รายการก่อหนี้ผูกพันข้ามปีงบประมาณ● ต้องไม่มีหนี้สาธารณูปโภค● ต้องไม่มีค่าใช้จ่ายที่ผูกพันตาม กม.ค้างชำระ ข้ามแผนงบประมาณ รายการ งบรายจ่าย ผลผลิต แผนงบประมาณ

More Related