1 / 12

หัวเรื่อง : หน้าต้อนรับเข้าสู่บทเรียน

File : tu110_welcome_12.swf. หัวเรื่อง : หน้าต้อนรับเข้าสู่บทเรียน. รหัสวิชา TU110 สหวิทยาการมนุษยศาสตร์ ( Integrated Humanities). ยินดีต้อนรับเข้าสู่. Enter Course. บทที่ 12 สถาปัตยกรรมกับการสร้างรัฐชาติไทย (สถาปัตยกรรมไทยประยุกต์-ชาตินิยม). คลิก Enter เพื่อเข้าสู่บทเรียน.

Download Presentation

หัวเรื่อง : หน้าต้อนรับเข้าสู่บทเรียน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. File :tu110_welcome_12.swf หัวเรื่อง : หน้าต้อนรับเข้าสู่บทเรียน รหัสวิชา TU110 สหวิทยาการมนุษยศาสตร์ (Integrated Humanities) ยินดีต้อนรับเข้าสู่ Enter Course บทที่ 12 สถาปัตยกรรมกับการสร้างรัฐชาติไทย (สถาปัตยกรรมไทยประยุกต์-ชาตินิยม) คลิก Enter เพื่อเข้าสู่บทเรียน Music Bg • คลิก enter link ลิงค์ไปยังไฟล์ tu110_12_Objective.swf

  2. File :tu110_Objective_12.swf หัวเรื่อง : หน้าวัตถุประสงค์การเรียนรู้ประจำบทเรียน วัตถุประสงค์การเรียนรู้ • ……………………………………………………………………………………… • ……………………………………………………………………………………… • ……………………………………………………………………………………… • ……………………………………………………………………………………… • ……………………………………………………………………………………… • ……………………………………………………………………………………… Enter Course คลิก Enter เพื่อเข้าสู่บทเรียน • เมื่อคลิกปุ่ม Enter Course เข้าสู่ไฟล์tu110_home_12.swf

  3. File :tu110_home_12.swf หัวเรื่อง : หน้าสารบัญประจำบทเรียน สารบัญบท สถาปัตยกรรมก่อนสมัยใหม่ สถาปัตยกรรมยุค 2475 สถาปัตยกรรมยุคกรุงเทพ คลิกเลือกหัวข้อที่ต้องการศึกษา Music Background • เมื่อคลิกปุ่ม สถาปัตยกรรมก่อนสมัยใหม่ ลิงค์ไปยังไฟล์ • tu110_12_ 01.swf • เมื่อคลิกปุ่ม สถาปัตยกรรมยุค 2475 ลิงค์ไปยังไฟล์ • tu110_12_03 .swf • เมื่อคลิกปุ่ม สถาปัตยกรรมยุคกรุงเทพ ลิงค์ไปยังไฟล์ • tu110_12_08 .swf

  4. File :tu110_12_01.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา สถาปัตยกรรมก่อนสมัยใหม่ 1 2 • ชาติถูกสร้างขึ้นมาจากจินตนาการ 3 ส่วน คือ ขอบเขต (พื้นที่-มีเส้นแบ่งเขตแดน) ประวัติศาสตร์ และ สัญลักษณ์ 1 3 ประวัติศาสตร์ 4 ขอบเขต (พื้นที่-มีเส้นแบ่งเขตแดน) สัญลักษณ์ สวัสดีครับครั้งนี้เราจะมาศึกษากันถึงสถาปัตยกรรมกับการสร้างชาติไทยนั้นมีความเกี่ยวข้องกัน อย่างไร ก่อนอื่นเราต้องมาทำความเข้าใจกันก่อนว่าว่า ชาติถูกสร้างขึ้นมาจากจินตนาการ 3 ส่วนคือ ขอบเขต ของเขตก็คือ พื้นที่มีเส้นแบ่งเขตแดน มีประวัติศาสตร์ที่ยาวนาน และ ต้องมีสัญลักษณ์ • แสดงภาพ เสียง และข้อความตามลำดับหมายเลขที่นำเสนอ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพและข้อความลำดับที่ การนำเสนอให้แสดงภาพแผนที่โลกขึ้นมา จากนั้นเมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงเส้นประรอบๆแผนที่ประเทศไทย จากนั้นให้ซูมออกมาเป็นประเทศไทยเต็มๆตามลำดับภาพที่ จากนั้นภาพที่หนึ่งเฟดหายไป • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงภาพลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงภาพลำดับที่ 1 2 1 3 4 1 2 2 3 3 4 4

  5. File :tu110_12_02.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา สถาปัตยกรรมก่อนสมัยใหม่ พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท ในพระบรมมหาราชวัง 2 • ชาติถูกสร้างขึ้นมาจากจินตนาการ 3 ส่วน คือ ขอบเขต (พื้นที่-มีเส้นแบ่งเขตแดน) ประวัติศาสตร์ และ สัญลักษณ์ • การรับอิทธิพลจากสถาปัตยกรรมแบบตะวันตก ทำให้มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบทางสถาปัตยกรรมไทยตามแบบจารีตประเพณี จากเดิมมีชั้นเดียว ได้รับอิทธิพลสถาปัตยกรรมตะวันตกโดยสร้างเพิ่มเป็นตึก 2-3 ชั้น แต่ยังคงหลังคาครอบตามแบบสถาปัตยกรรมไทยแบบจารีต 1 1 คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 4 2 3 5 พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท ในพระบรมมหาราชวัง วัดเบญจมบพิตร ตัวอย่างรูปแบบทางสถาปัตยกรรมไทย ตามแบบจารีตประเพณีที่มีชั้นเดียว เมื่อเราได้รับอิทธิพลจากสถาปัตยกรรมแบบตะวันตก ทำให้มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบทางสถาปัตยกรรมไทยตามแบบจารีตประเพณี จากเดิมมีชั้นเดียว เมื่อได้รับอิทธิพลสถาปัตยกรรมตะวันตกโดยสร้างเพิ่มเป็นตึก 2-3 ชั้น แต่ยังคงหลังคาครอบตามแบบสถาปัตยกรรมไทยแบบจารีต เช่น พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท ในพระบรมมหาราชวัง, โรงเรียนวชิราวุธราชวิทยาลัย, คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นต้น ซึ่งเป็นต้นแบบของสถาปัตยกรรมไทยประยุกต์ และสถาปัตยกรรมสองแห่งหลังสร้างในสมัยรัชกาลที่ 6 ซึ่งเรียนจบจากต่างประเทศ • แสดงภาพ เสียง และข้อความตามลำดับหมายเลขที่นำเสนอ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพลำดับที่ และข้อความลำดับที่ จากนั้นเฟดภาพลำดับที่หนึ่งไป • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงภาพลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงภาพลำดับที่ • กระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงภาพลำดับที่ • กระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงภาพลำดับที่ • กระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงภาพลำดับที่ • กระพริบ 1 2 3 1 1 4 5 2 2 2 3 6 4 5 6 3 2 3 4 6 5 4 5 6 4 5 6 6 โรงเรียนวชิราวุธราชวิทยาลัย 6 คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โรงเรียนวชิราวุธราชวิทยาลัย

  6. File :tu110_12_03.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา สถาปัตยกรรมยุค 2475 การใช้สถาปัตยกรรมที่ไม่มีหลังคาจั่วแบบคณะราษฎรเป็นฉาก 1 • แกนนำคณะราษฎรได้นำรูปแบบสถาปัตยกรรมตะวันตกมาใช้ในการก่อสร้างอย่างเต็มที่ มีการใช้สัญลักษณ์แทนการเปลี่ยนแปลงการปกครองหลายประการ ได้แก่ รูปพานรัฐธรรมนูญ เช่น อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย อนุสาวรีย์หลักสี่ เป็นต้น • การใช้หลัก 6 ประการกับประตู 6 บานที่ฐานอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย หรือปล้องไฉน 6 ปล้องที่เจดีย์ วัดมหาธาตุ บางเขน และเสา 6 ต้นที่อาคารศาลฎีกา เป็นต้น • อาคารที่สร้างหลัง 2475 นิยมไม่มีหลังคาแบบไทย ซึ่งแสดงถึงการปฏิเสธอดีต 1 คณะราษฎรในการเปลี่ยนแปลง การปกครอง 2475 2 รูปพานรัฐธรรมนูญ อนุสาวรีย์หลักสี่ อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย วัดมหาธาตุ บางเขน 3 ในสมัยของการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 แกนนำคณะราษฎรซึ่งเรียนจบจากต่างประเทศได้นำรูปแบบสถาปัตยกรรมตะวันตกมาใช้ในการก่อสร้างอย่างเต็มที่ มีการใช้สัญลักษณ์แทนการเปลี่ยนแปลงการปกครองหลายประการ ได้แก่ รูปพานรัฐธรรมนูญ เช่น อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย อนุสาวรีย์หลักสี่ เป็นต้น มีการใช้หลัก 6 ประการกับประตู 6 บานที่ฐานอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย หรือปล้องไฉน 6 ปล้องที่เจดีย์ วัดมหาธาตุ บางเขน และเสา 6 ต้นที่อาคารศาลฎีกา เป็นต้น นอกจากนี้ อาคารที่สร้างหลัง 2475 นิยมไม่มีหลังคาแบบไทย ซึ่งแสดงถึงการปฏิเสธอดีต • แสดงภาพ เสียง และข้อความตามลำดับหมายเลขที่นำเสนอ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพลำดับที่ และข้อความลำดับที่ จากนั้นเฟดภาพลำดับที่หนึ่งไป • จากนั้นแสดงภาพลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงภาพลำดับที่ • กระพริบ และภาพอื่นเบลอ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงภาพลำดับที่ • กระพริบและภาพอื่นเบลอ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงภาพลำดับที่ • กระพริบและภาพอื่นเบลอ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงภาพลำดับที่ • กระพริบและภาพอื่นเบลอ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงภาพลำดับที่ • กระพริบและภาพอื่นเบลอ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงภาพลำดับที่ • กระพริบและภาพอื่นเบลอ 1 2 1 3 4 1 5 2 6 2 3 4 5 6 7 6 2 5 7 3 3 การใช้สถาปัตยกรรมที่ไม่มีหลังคาจั่วแบบคณะราษฎรเป็นฉาก 4 2 2 4 5 3 3 6 6 7 5 6 7 7 4

  7. File :tu110_12_04.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา สถาปัตยกรรมยุค 2475 3 1 • ประติมากรรมไทยในสมัยคณะราษฎรสร้างตามแบบตะวันตก รูปปั้นสมัยนี้มีการแสดงออกถึงกล้ามเนื้อตามสัดส่วนแบบสมจริง สร้างเป็นรูปเปลือยชายหญิงเป็นสัญลักษณ์แทนประชาชน เป็นรูปปั้นที่สื่อความหมายทางอุดมการณ์ความคิด 1 รูปปั้นคนที่ทำงานในชีวิตประจำวัน 2 รูปปั้นครุฑ รูปปั้นครุฑและแตรงอนสัญญลักษณ์ของกิจการไปรษณีย์ไทยในอดีต ประดิษฐานอยู่ส่วนยอดของอาคารตึกไปรษณีย์กลางทั้งทิศเหนือและทิศใต้ เป็นฝีมือปั้นของทีมงานศาสตราจารย์ ศิลป พีระศรี - 4 รูปปั้นครุฑ รูปเปลือยชายหญิง ประติมากรรมไทยในสมัยคณะราษฎรก็นิยมสร้างตามแบบตะวันตก โดยเฉพาะรูปปั้นที่สร้างขึ้นในสมัยนี้มีการแสดงออกถึงกล้ามเนื้อตามสัดส่วนแบบสมจริง และนิยมสร้างเป็นรูปเปลือยชายหญิงเป็นสัญลักษณ์แทนประชาชน เป็นรูปปั้นที่สื่อความหมายทางอุดมการณ์ความคิด เช่น มีรูปปั้นคนหลายคนร่วมกันเข็นธรรมจักรขึ้นที่สูง หรือเป็นรูปปั้นคนที่ทำงานในชีวิตประจำวัน กล่าวได้ว่า แม้แต่รูปปั้นครุฑยังมีการแสดงออกถึงกล้ามเนื้อเช่นเดียวกับคนธรรมดา ซึ่งในจิตรกรรมก็มีลักษณะของคนแบบสมจริงเช่นเดียวกัน • แสดงภาพ เสียง และข้อความตามลำดับหมายเลขที่นำเสนอ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงภาพลำดับที่ • กระพริบ และภาพอื่นเบลอ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ ให้แสดงภาพลำดับที่ • กระพริบและภาพอื่นเบลอ 1 1 2 1 2 3 4 3 2 3 4 3 1 2

  8. File :tu110_12_05.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา สถาปัตยกรรมยุค 2475 ผู้หญิงควรสวมหมวก 1 • ยุคสมัยที่ จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี • การเรียกร้องให้เปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมไทยให้เป็นสากลตามแบบตะวันตกมากยิ่งขึ้น เช่น ผู้หญิงควรสวมหมวก เลิกกินหมาก • การประดิษฐ์ศิลปวัฒนธรรมประจำชาติ เช่น รำวงมาตรฐาน • การกำหนดชุดแต่งกายเมื่อไปติดต่อสถานที่ราชการ ให้มีการทักทายเมื่อพบกันด้วยคำว่า สวัสดี เป็นต้น 2 2 รำวงมาตรฐาน 1 4 3 3 จอมพล ป. พิบูลสงคราม 4 ชุดแต่งกาย ต่อมาในยุคสมัยที่ จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี มีการเรียกร้องให้เปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมไทยให้เป็นสากลตามแบบตะวันตกมากยิ่งขึ้น เช่น ผู้หญิงควรสวมหมวก เลิกกินหมาก มีการประดิษฐ์ศิลปวัฒนธรรมประจำชาติ เช่น รำวงมาตรฐาน มีการกำหนดชุดแต่งกายเมื่อไปติดต่อสถานที่ราชการ ให้มีการทักทาย เมื่อพบกันด้วยคำว่า สวัสดี เป็นต้น • แสดงภาพ เสียง และข้อความตามลำดับหมายเลขที่นำเสนอ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพและข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดง ภาพและข้อความ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดง ภาพและข้อความ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดง ภาพและข้อความ • เมื่อคลิก NEXT ปรากฏสไลด์ถัดไป 1 2 3 4 1 1 2 2 3 3 4 4

  9. File :tu110_12_06.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา สถาปัตยกรรมยุค 2475 • นายปรีดี พนมยงค์ หัวหน้าเสรีไทย ก้าวขึ้นมาเป็นผู้นำทางการเมืองของประเทศไทยหลังจากเกิดการพ่ายแพ้สงครามโลกครั้งที่ 2 ต่อมาต้องลาออกเพื่อแสดงความรับผิดชอบ หลังจากเกิดกรณีกรณีสวรรคตของรัชกาลที่ 8 1 1 2 5 นายปรีดี คณะราษฎรสายทหารบก จอมพล ป. พิบูลสงคราม • เกิดการรัฐประหาร 2490 นายปรีดีต้องเดินทางออกจากประเทศไทย จอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้กลับมาดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีอีกครั้ง • คณะราษฎรสายนายปรีดีและสายทหารเรือ เริ่มเสื่อมบทบาทลงไป ขณะที่คณะราษฎรสายทหารบก กับคณะรัฐประหาร 2490 เริ่มมีบทบาททางการเมืองมากขึ้น 2 3 4 3 พล.ท.ผิน ชุณหะวัณ ผู้นำคณะรัฐประหาร 2490 หลังจากการพ่ายแพ้สงครามโลกครั้งที่ 2 ทำให้ จอมพล ป. พิบูลสงคราม ต้องคดีเป็นอาชญากรระหว่างประเทศ และทำให้นายปรีดี พนมยงค์ หัวหน้าเสรีไทย ก้าวขึ้นมาเป็นผู้นำทางการเมืองของประเทศไทย อย่างไรก็ตาม การเกิดกรณีสวรรคตของรัชกาลที่ 8 ในช่วงที่นายปรีดี ได้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ทำให้นายปรีดีต้องลาออกจากตำแหน่งเพื่อแสดงความรับผิดชอบ ต่อมาภายหลังได้เกิดการรัฐประหาร 2490 ขึ้นมา นายปรีดีต้องเดินทางออกจากประเทศไทย แม้ว่า จอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้กลับมาดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีอีกครั้ง แต่บทบาทของคณะราษฎรสายนายปรีดีและสายทหารเรือ เริ่มเสื่อมบทบาทลงไป ใน ขณะที่คณะราษฎรสายทหารบก กับคณะรัฐประหาร 2490 เริ่มมีบทบาททางการเมืองที่สูงเด่นขึ้น • แสดงภาพ เสียง และข้อความตามลำดับหมายเลขที่นำเสนอ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพและข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดง ภาพ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดง ภาพ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดง ภาพ และข้อความ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดง ภาพ และข้อความ • เมื่อคลิก NEXT ปรากฏสไลด์ถัดไป 1 2 3 1 4 1 2 2 5 3 3 4 4 2 5 5 3

  10. File :tu110_12_07.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา สถาปัตยกรรมยุค 2475 หอประชุมใหญ่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ 1 • การกลับมาของคณะรัฐประหาร 2490 ได้หันเปลี่ยนกระแสการสร้างงานศิลปะไปเป็นแบบไทยประยุกต์ • มรดกผลงานของ เขียน ยิ้มศิริ ได้ชนะในปี 2492 กับ 2494 ทางสถาปัตยกรรมประติมากรรมแนวไทยประยุกต์ • การก่อสร้างในรูปแบบสถาปัตยรรมไทยประยุกต์ ได้แก่หอประชุมใหญ่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ ต่อมาได้กลายเป็นต้นแบบของศาลากลางจังหวัด โรงเรียน อาคารของราชการเป็นจำนวนมาก นับตั้งแต่รัฐบาลจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นต้นมา ประติมากรรมแนวไทยประยุกต์ 1 ตัวอย่างสถาปัตยกรรมไทยประยุกต์ หลัง พ.ศ. 2490 4 5 2 3 6 3 2 ตัวอย่างศาลากลางจังหวัดร้อยเอ็ด ผลงานของ เขียน ยิ้มศิริ เขียน ยิ้มศิริ การกลับมาของคณะรัฐประหาร 2490 ได้หันเปลี่ยนกระแสการสร้างงานศิลปะไปเป็นแบบไทยประยุกต์อีกครั้งหนึ่ง ในทางประติมากรรมแนวไทยประยุกต์ มรดกผลงานของ เขียน ยิ้มศิริ ได้ชนะในปี 2492 กับ 2494 ในทางสถาปัตยกรรมนั้น มีการก่อสร้างหอประชุมใหญ่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ ในรูปแบบสถาปัตยรรมไทยประยุกต์ ซึ่งต่อมาได้กลายเป็นต้นแบบของศาลากลางจังหวัด โรงเรียน อาคารของราชการเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่ได้ก่อสร้างนับตั้งแต่รัฐบาลจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นต้นมา • แสดงภาพ เสียง และข้อความตามลำดับหมายเลขที่นำเสนอ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพ และข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดง ภาพลำดับที่ และข้อความ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพลำดับที่ และข้อความ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพลำดับที่ • เมื่อคลิก NEXT ปรากฏสไลด์ถัดไป 1 2 3 1 1 2 3 4 4 1 2 2 3 2 3 4 5 3 4 6

  11. File :tu110_12_08.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา สถาปัตยกรรมยุคกรุงเทพ 1 • สถาปัตยกรรมแบบไทยประยุกต์ในปัจจุบัน มีความนิยมลดรูปและไร้การประดับตกแต่งตามแบบจารีตประเพณี • อาคารราชการร่วมสมัยมีการสร้างใหม่ตามสถาปัตยกรรมแบบไทยประยุกต์ เช่น ศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิตต์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต โดยเฉพาะ แผนการสร้างศาลฎีกาหลังใหม่ที่สนามหลวง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต 1 2 2 4 แผนการสร้างศาลฎีกาหลังใหม่ที่สนามหลวง 3 ศาลฎีกาตึกที่สร้าง สมัยคณะราษฎร ศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิตต์ ศาลฎีกาหลังใหม่ที่สนามหลวง แม้ว่าสถาปัตยกรรมแบบไทยประยุกต์ในปัจจุบัน มีความนิยมลดรูปและไร้การประดับตกแต่งตามแบบจารีตประเพณีแล้ว แต่อาคารราชการร่วมสมัย เช่น ศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิตต์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต โดยเฉพาะ แผนการสร้างศาลฎีกาหลังใหม่ที่สนามหลวง คือการทุบตึกที่สร้างในสมัยคณะราษฎรทิ้ง เพื่อสร้างใหม่ตามสถาปัตยกรรมแบบไทยประยุกต์ • แสดงภาพ เสียง และข้อความตามลำดับหมายเลขที่นำเสนอ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพ และข้อความลำดับที่ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดง ภาพ กระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดง ภาพ กระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดง ภาพ กระพริบ 1 2 4 3 1 1 2 3 4 1 2 2 2 3 1 4 3 4

  12. File :tu110_12_09.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา สถาปัตยกรรม 2475 สถาปัตยกรรมยุคกรุงเทพ 1 สถาปัตยกรรมก่อนสมัยใหม่ 3 สถาปัตยกรรมยุคกรุงเทพ 2 การใช้สถาปัตยกรรมที่ไม่มี หลังคาจั่วแบบคณะราษฎร เป็นฉาก คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท ในพระบรมมหาราชวัง มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิตต์ ศาลฎีกาหลังใหม่ที่สนามหลวง พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท ในพระบรมมหาราชวัง รูปครุฑ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สิ่งหนึ่งที่เห็นได้ชัดคือ การเมืองก็มีผลต่อสถาปัตยกรรมในแต่ละช่วงด้วยนะครับ สรุปได้ว่าสถาปัตยกรรมมีด้วยกันสามช่วงคือ สถาปัตยกรรมก่อนสมัยใหม่ สถาปัตยกรรม 2475 และ สถาปัตยกรรมยุคกรุงเทพ ที่นี้พอเราเห็นอาคารต่างๆ ที่ได้เรียนมาคงทราบแล้วว่าเป็นสถาปัตยกรรมแบบใดเกี่ยวข้องกับการเมืองช่วงใด สำหรับครั้งนี้คงมีเพียงเท่านี้ไว้พบกันคราวหน้าซึ่งเป็นครั้งสุดท้ายสำหรับวิชานี้แล้วนะครับ สวัสดีครับ • แสดงภาพ เสียง และข้อความตามลำดับหมายเลขที่นำเสนอ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดงภาพ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดง ภาพ กระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดง ภาพ กระพริบ • เมื่อมีเสียงบรรยายลำดับที่ แสดง ภาพ กระพริบ 1 2 3 1 1 2 3 1 2 2 3 3 4

More Related