1 / 394

เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทำรายงานผลการประเมินยุทธศาสตร์

การวางแผนโครงการ. และบริหารโครงการสำหรับส่วนราชการ. เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทำรายงานผลการประเมินยุทธศาสตร์ การแก้ไข ป้องกัน และพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ระหว่างวันที่ 1-3 กรกฎาคม 2551 ณ โรงแรมปริ๊นสตั้น พาร์ค สวีท กรุงเทพฯ. นโยบาย ผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสีย สภาพการณ์ตามภารกิจ.

yasuo
Download Presentation

เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทำรายงานผลการประเมินยุทธศาสตร์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การวางแผนโครงการ และบริหารโครงการสำหรับส่วนราชการ เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทำรายงานผลการประเมินยุทธศาสตร์ การแก้ไข ป้องกัน และพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ระหว่างวันที่ 1-3 กรกฎาคม 2551 ณ โรงแรมปริ๊นสตั้น พาร์ค สวีท กรุงเทพฯ

  2. นโยบาย ผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสีย สภาพการณ์ตามภารกิจ ศึกษา และ วิเคราะห์ ความต้องการ หรือจุดยืน ทางยุทธศาสตร์ รายงานผล 6. เชื่อมโยงความสมดุลทรัพยากรทางยุทธศาสตร์ ประเมินผล /ปรับปรุงและพัฒนา CSF (เป็นอะไร ?) วิสัยทัศน์ ทบทวน ภารกิจ และ โครงสร้าง องค์กร พัฒนาขีด ความ สามารถ แก่ บุคลากร จัดทำ งบประมาณ แบบมุ่งเน้น กลยุทธ์และ วัดความคุ้มค่าทางการเงิน (SPBB+PART) พัฒนา ระบบ ICT ยกระดับภาวะผู้นำแก่ทีมบริหาร ติดตามผล CSF พันกิจ (ทำอะไร ?) ดำเนินงานตามแผน CSF (ทำอย่างไร ?) ประเด็นยุทธศาสตร์ แผนงาน / โครงการ กิจกรรม กลยุทธ์ เป้าหมาย ตัวชี้วัด (ได้อะไร ?) เป้าประสงค์ ผังแสดงกระบวนการจัดทำระบบบริหารยุทธศาสตร์ โดยใช้เครื่องมือ Balanced Scorecard 1. วิเคราะห์ความต้องการทางยุทธศาสตร์ รู้เขา รู้เรา 2. ประเมินศักยภาพทางยุทธศาสตร์ ประเมินศักยภาพองค์กร ในการตอบสนองจุดยืน ทางยุทธศาสตร์ 5.ดำเนินการ 3.กำหนดทิศทาง ยุทธศาสตร์ 4. แปลงยุทธศาสตร์สู่การวัดผลและกำหนดกลยุทธ์ และโครงการ

  3. ศาสตร์และวิธีการทางการบริหารที่ต้องรู้ศาสตร์และวิธีการทางการบริหารที่ต้องรู้ • System approach • Deming cycle • Result based management • Strategic principle • Risk Management • Performance based budgeting • Stakeholder management

  4. การแปลงยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติการแปลงยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ พิจารณาปัจจัยต่างๆ ที่ต้องคำนึงถึงในการแปลงยุทธศาสตร์สู่การ ปฏิบัติ อาทิ บุคลากร ระบบ ข้อมูล วัฒนธรรม โครงการ การแปลงยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ ความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์และโครงการ การทำให้ยุทธศาสตร์สัมฤทธิผลผ่านทางโครงการต่างๆ การจัดทำข้อเสนอโครงการ เพื่อให้การคิดโครงการต่างๆ เป็นไปอย่างละเอียด ถี่ถ้วน รอบคอบ การคัดเลือกโครงการ (Proj. Screening) เพื่อคัดเลือกโครงการที่ส่งผลกระทบต่อยุทธศาสตร์โดยตรง การติดตามโครงการ (Proj. Monitoring) เพื่อติดตามความคืบหน้าในการดำเนินตามโครงการ เพื่อให้สามารถ ปรับตัวและแก้ไขปัญหาได้ทันต่อเหตุการณ์ การประเมินผลโครงการ (Proj. Evaluation) เพื่อประเมินว่าโครงการนำไปสู่ Output / Outcome ที่ต้องการและบรรลุผลตามยุทธศาสตร์หรือไม่

  5. การบริหารโครงการคืออะไร?การบริหารโครงการคืออะไร? • Project management is the applicationof knowledge, skills, tools and techniques to project activities in order to meet or exceed stakeholder needs and expectations from a project. • Project management is accomplished through the use of processes such as initiating, planning, executing, controlling and closing….

  6. ปัญหาที่มักพบเกี่ยวกับการบริหารโครงการปัญหาที่มักพบเกี่ยวกับการบริหารโครงการ • โครงการไม่เชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ โครงการและยุทธศาสตร์ยังเป็นชิ้นเป็นส่วน (ขนมชั้น) ขาดการบูรณาการซึ่งกันและกัน และระหว่างโครงการด้วยกัน • ไม่ได้คิดโครงการอย่างรอบคอบ ถี่ถ้วน ในทุกมุมมอง (คิดให้ทะลุ) • ขาดระบบการวิเคราะห์มิติด้านสังคม เศรษฐกิจ ความมั่นคง สิ่งแวดล้อม และด้านคุณภาพชีวิตที่เป็นระบบ • การดำเนินโครงการไม่ได้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

  7. ปัญหาที่มักพบเกี่ยวกับการบริหารโครงการปัญหาที่มักพบเกี่ยวกับการบริหารโครงการ • ขาดการวิเคราะห์ผลกระทบที่รอบด้าน • ขาดการมุ่งเน้นในการใช้งบประมาณให้เกิดความคุ้มค่าอย่างสูงสุด • การคำนึงถึงการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนมีน้อย • ขาดระบบการติดตาม และวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ที่เป็นระบบ • ขาดการบริหารการเปลี่ยนแปลง และความเสี่ยงที่จะกระทบต่อความสำเร็จ หรือความไม่สำเร็จของโครงการ • การสรุปบทเรียน เพื่อพัฒนาเป็นองค์ความรู้ไม่ชัดเจน

  8. ขั้นตอนการวางแผนและการบริหารโครงการสำหรับส่วนราชการขั้นตอนการวางแผนและการบริหารโครงการสำหรับส่วนราชการ ขั้นตอนที่1 ทบทวน/ตรวจสอบผลการดำเนินงาน โครงการที่ผ่านมา(Review Phase) ขั้นตอนที่2 การริเริ่มโครงการใหม่และ วิเคราะห์เบื้องต้น(Conceptual Phase) ขั้นตอนที่3 วิเคราะห์และวางแผนรายละเอียด โครงการ(Project Planning Phase) ขั้นตอนที่4 วิเคราะห์และจัดทำคำขอ งบประมาณ(Budget Allocation Phase) ขั้นตอนที่5 การติดตามความก้าวหน้าของการดำ เนินโครงการ(Implementation Monitoring Phase) ขั้นตอนที่6ประเมินผลการใช้งานและการติดตาม /ปรับปรุง/แก้ไข (Utilization Phase)

  9. ขั้นตอนที่ 1 ทบทวน/ตรวจสอบผล การดำเนินโครงการที่ผ่านมา

  10. ลักษณะของโครงการซึ่งการทบทวน/ตรวจสอบลักษณะของโครงการซึ่งการทบทวน/ตรวจสอบ - โครงการที่อยู่ระหว่างการดำเนินการจะทำการทบทวน/ตรวจสอบเฉพาะความก้าวหน้าของการดำเนินงาน - โครงการซึ่งการดำเนินการเสร็จสิ้นแล้วจะทำการทบทวนและตรวจสอบผลผลิต ผลลัพธ์ และผลกระทบที่เกิดขึ้นจากโครงการ

  11. ผลที่ได้จากการทบทวน/ตรวจสอบผลของการดำเนินโครงการผลที่ได้จากการทบทวน/ตรวจสอบผลของการดำเนินโครงการ - ดำเนินโครงการต่อ โดยอาจจะคงแผนเดิมไว้ ปรับปริมาณและ/หรือคุณภาพ - ยกเลิกโครงการ โดยระบุเหตุผลประกอบยกเลิกที่เหมาะสม - ชะลอโครงการเพื่อการศึกษาเพิ่มเติมและ/ปรับปรุงแผน - ขยายผลโครงการเพื่อจัดทำโครงการต่อเนื่อง

  12. แบบฟอร์มที่เกี่ยวข้องกับการทบทวนตรวจสอบผลการดำเนินโครงการแบบฟอร์มที่เกี่ยวข้องกับการทบทวนตรวจสอบผลการดำเนินโครงการ การดำเนินงาน ขั้นตอน/แบบฟอร์ม กระบวนการ ►ตรวจสอบสถานภาพโครงการ ๏ พิจารณาแยกประเภทของโครงการ ๏ ตรวจสอบความคืบหน้าของการดำเนินโครงการ ตรวจสอบสถานภาพ โครงการที่ผ่านมา ขั้นตอนที่1.1 ฟอร์ม 1 - 1 ขั้นตอนที่1.2 ฟอร์ม 1 -1 ทบทวนและตรวจสอบผลผลิต /ผลลัพธ์/ผลกระทบที่เกิดขึ้นจาก โครงการ ►ในกรณีโครงการมีผลผลิตเกิดขึ้นตามระยะดำเนินการ ดังนี้ ๏ ทบทวนแบะทดสอบผลผลิตที่ได้รับ ๏ ทบทวนและตรวจสอบผลลัพธ์และผลกระทบที่ขึ้นจากการดำเนินโครงการ ► ทบทวนและตรวจสอบกลุ่มเป้าหมายของโครงการ ๏ สภาพปัญหา/ความต้องการ ๏ ผลกลุ่มเป้าหมายได้รับจากโครงการ ๏ทบทวนผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของโครงการ ขั้นตอนที่ 1.3 ฟอร์ม 1-3 ทบทวนและตรวจสอบกลุ่มเป้าหมาย และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่ได้รับจาก โครงการ ขั้นตอนที่ 1.4 ทบทวนและตรวจสอบปัญหาและ อุปสรรคจากการดำเนินโครงการรวม ถึงแนวทางแก้ไขที่ผ่านมา ๏รวบรวมข้อมูลปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นตลอดการดำเนินโครงการ ๏ สรุปแนวทางแก้ไขและป้องกันจากการดำเนินโครงการ ประมวลผลเพื่อพิจารณาตัดสินใจ โดยใช้ข้อมูลดังต่อไปนี้ ๏สถานภาพของโครงการ ๏ ผลผลิต/ผลลัพธ์-ผลกระทบที่เกิดขึ้น ๏กลุ่มเป้าหมายและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ๏ ปัญหา อุปสรรคและแนวทางแก้ไข พิจารณา ตัดสินใจ ขั้นตอนที่ 1.5 ► พิจารณาตัดสินใจ ๏ดำเนินโครงการต่อ ๏ยกเลิกโครงการ ๏ชะลอเพื่อศึกษาเพิ่มเติมและปรับปรุงข้อมูล ๏ ขยายผลโครงการเพื่อจัดทำโครงการต่อเนื่อง ขั้นตอนที่ 1.5 ดำเนิน โครงการ ต่อ ยกเลิก โครงการ ชะลอ โครงการ ขยาย ผล โครงการ

  13. ทบทวน/ตรวจสอบผลการดำเนินงานโครงการที่ผ่านมา (Review Phase) การดำเนินการขั้นตอน ขั้นตอนที่ 1.1 ทบทวนตรวจสอบสภาพของโครงการ ขั้นตอนที่ 1.2 ทบทวน/ตรวจสอบผลผลิต/ผลลัพธ์/ผลกระทบที่เกิดขึ้น ขั้นตอนที่ 1.3 ทบทวน/ตรวจสอบกลุ่มเป้าหมายและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ขั้นตอนที่ 1.4 ทบทวนตรวจสอบปัญหา อุปสรรคและแนวทางแก้ไข ขั้นตอนที่ 1.5 พิจารณาตัดสินใจ

  14. ขั้นตอนที่ 1 .1 ทบทวน/ตรวจสอบ/ตวจสอบสภาพของโครงการ

  15. ตรวจสอบสภาพของโครงการตรวจสอบสภาพของโครงการ ทบทวน นิยาม สถานภาพของโครงการ คือ สภาพความคืบหน้าและผลการดำเนินงานโครงการตามแผนปฏิบัติการแผนงบประมาณ โดยวิเคราะห์ผลการดำเนินจริง (Actual) เปรียบเทียบกับแผนงานที่กำหนด (Planned) ทั้งในเชิงปริมาณคุณภาพ เวลา และงบประมาณ หลักการ

  16. แนวทางการทบทวน/ตรวจสอบสภาพของโครงการลักษณะต่างๆแนวทางการทบทวน/ตรวจสอบสภาพของโครงการลักษณะต่างๆ

  17. การตรวจสถานภาพของโครงการการตรวจสถานภาพของโครงการ • ตรวจสอบความเบี่ยงเบนของคุณภาพงาน (Performance Variance) • ตรวจสอบความเบี่ยงเบนของระยะเวลาการดำเนินงาน (Schedule Variance) • ตรวจสอบความเบี่ยงเบนของงบประมาณการดำเนินการ (Budget Variance)

  18. ตัวอย่าง การทบทวน/ตรวจสอบสถานภาพของโครงการลักษณะต่างๆ

  19. ขั้นตอนที่ 1.2 ทบทวน /ตรวจสอบผลผลิต/ผลลัพธ์/ ผลกระทบที่เกิดขึ้น

  20. นิยาม ผลผลิต (Output) คือ สิ่งที่ได้จากการดำเนินโครงการซึ่งอาจเป็นได้ทั้งโครงการซึ่งอาจเป็นทั่งโครงการทางกายภาพ การบริหารจัดการ หรือการให้บริการก็ได้

  21. ประเภทของผลผลิต • ที่เป็นโครงสร้างทางกายภาพ (Products) อาทิ อาคาร เขื่อน สะพาน เป็นต้น • ที่เป็นลักษณะการให้บริการ (Service) อาทิการออกใบอนุญาต/การจดทะเบียน การฝึกอบรม • ที่เป็นการเกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการ (Management) อาทิ การกำกับดูแล การเสนอแนะทางด้านนโยบาย และฐานข้อมูล

  22. ประเภทของผลลัพธ์ • ทางด้านทางเศรษฐกิจ = ผลที่ได้รับจากการใช้ประโยชน์ผลผลิตโครงการ และก่อให้เกิดการสร้าง/ลดมูลค่าทางเศรษฐกิจและการเงินโดยตรง • ทางด้านทางสังคม = ผลที่ได้รับจากการใช้ประโยชน์ผลผลิตโครงการ และส่งผลต่อสังคมทั้งในด้านการพัฒนาสังคมและการให้สังคมเสื่อมลง • ทางด้านความมั่งคง = ผลที่ได้รับจากการใช้ประโยชน์ของชาติทั้งในด้านความมั่งคงภายในและระหว่างประเทศ

  23. ประเภทของผลลัพธ์(ต่อ) • ทางด้านสิ่งแวดล้อม = ผลที่ได้รับจากการใช้ประโยชน์ผลผลิตโครงการและส่งผลต่อสิ่งแวดล้อมทาง • ด้านคุณภาพชีวิต = ผลที่ได้รับจากการใช้ประโยชน์ผลผลิตโครงการและส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของประชาชนที่ดีขึ้นและตกต่ำลง

  24. ประเภทของผลกระทบ • ทางด้านทางเศรษฐกิจ = ผลที่ได้รับจากการใช้ประโยชน์ผลผลิตโครงการ และก่อให้เกิดการสร้าง/ลดมูลค่าทางเศรษฐกิจและการเงินโดยตรง • ทางด้านทางสังคม = ผลที่ได้รับจากการใช้ประโยชน์ผลผลิตโครงการ และส่งผลต่อสังคมทั้งในด้านการพัฒนาสังคมและการให้สังคมเสื่อมลง • ทางด้านความมั่งคง = ผลที่ได้รับจากการใช้ประโยชน์ของชาติทั้งในด้านความมั่งคงภายในและระหว่างประเทศ

  25. ประเภทของผลกระทบ (ต่อ) • ทางด้านสิ่งแวดล้อม = ผลที่ได้รับจากการใช้ประโยชน์ผลผลิตโครงการและส่งผลต่อสิ่งแวดล้อม • ทางด้านคุณภาพชีวิต = ผลที่ได้รับจากการใช้ประโยชน์ผลผลิตโครงการและส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของประชาชนที่ดีขึ้นและตกต่ำลง

  26. การทบทวน/ตรวจสอบผลผลิต/ผลลัพธ์/ผลกระทบที่เกิดขึ้น จะทำให้ทราบถึง • การทบทวนตรวจสอบผลที่ได้รับ • การทบทวน/ตรวจสอบผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น • การทบทวน/ตรวจผลกระทบที่เกิดขึ้น

  27. ตารางการทบทวน/ตรวจสอบผลที่ได้รับตารางการทบทวน/ตรวจสอบผลที่ได้รับ ผลผลิต ตัวชี้วัด (Indicators) เปรียบเทียบเป้าหมาย ผลที่ได้รับ ( Target/Actual) เป้าหมาย (Target) ผลที่ได้รับ (Actual) ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ .... .... .... .... .... .... ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ ตัวชี้วัดเชิงเวลา .... .... .... .... .... .... ตัวชี้วัดเชิงต้นทุน

  28. ตัวอย่างผลลัพธ์เชิงบวกและเชิงลบตัวอย่างผลลัพธ์เชิงบวกและเชิงลบ

  29. ตัวอย่างผลกระทบเชิงบวกและเชิงลบ (ต่อ)

  30. ตัวอย่างผลผลิตประเภทต่างๆ

  31. ตัวอย่างผลลัพธ์และผลกระทบประเภทต่างๆตัวอย่างผลลัพธ์และผลกระทบประเภทต่างๆ

  32. ขั้นตอนที่ 1.3 ทบทวนตรวจสอบกลุ่มเป้าหมาย และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

  33. นิยาม กลุ่มเป้าหมายโครงการ(Target Group) คือ กลุ่มผู้ใช้ประโยชน์จากผลผลิตของโครงการโดยตรงทั้งที่เป็นผลผลิตทางด้านกายภาพ การบริหารจัดการ และการบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย(Stakeholders) คือ บุคคล กลุ่มบุคคล และ/หรือองค์การใดๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกับโครงการไม่ว่าทางใดทางหนึ่ง

  34. การทบทวน/ตรวจสอบกลุ่มเป้าหมายและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียการทบทวน/ตรวจสอบกลุ่มเป้าหมายและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หลักการ 1. ทบทวนกลุ่มเป้าหมายของโครงการ 2. การทบทวนของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียโครงการ

  35. 1. ทบทวนกลุ่มเป้าหมายของโครงการ • ใคร คือกลุ่มเป้าหมาย ? • กลุ่มเป้ามายมีลักษณะอย่างไร ? • กลุ่มเป้าหมายมีปริมาณเท่าไร ? • กลุ่มเป้าหมายมีสภาพความต้องการ ? • กลุ่มเป้าหมายมีความต้องการ/ความคาดหวังปัจจุบันอย่างไร ?

  36. 2. การทบทวนของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียโครงการ • กลุ่มใดเป็นกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียภายในและกลุ่มใดเป็นผู้มีส่วนได้เสียภายนอก ? • แต่ละกลุ่มมีความต้องการ/ผลประโยชน์กับโครงการอย่างไร ในส่วนใด และปฏิสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มเป็นอย่างไร ? • แต่ละกลุ่มมีความคาดหวังอย่างไรกับโครงการ ? • แต่ละกลุ่มจะได้ผลกระทบอย่างไรบ้างจากการดำเนินโครงการ

  37. 2. การทบทวนของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียโครงการ(ต่อ) • แต่ละกลุ่มมีสิทธิตามกฎหมายในการมีส่วนร่วมในโครงการ ? • แต่ละกลุ่มสามารแทรกแซงการดำเนินโครงการได้อย่างไร หรือไม่อย่างไร • กลุ่มใดที่เห็นด้วย/สนับสนุนโครงการ กลุ่มที่ไม่เห็นด้วยต่อต้าน และกลุ่มใดที่เป็นกลาง

  38. ตัวอย่าง • โครงการบ้าน/โรงเรียนชายแดนร่วมใจขจัดภัยความยากจน ของตำรวจตระเวนชายแดน • ● กำหนดกลุ่มเป้าหมาย คือ หมู่บ้านตามแนวชายแดนที่ตำรวจตะเวนชายแดนรับผิดชอบโดยระบุกลุ่มเป้าหมายจำนวน 191 หมู่บ้าน • ● กำหนดผู้มีส่วนได้เสีย คือ ประชาชนที่อาศัยอยู่ในบริเวณพื้นที่โครงการ ส่วนราชการในพื้นที่ ที่เกี่ยวข้อง

  39. ตัวอย่าง(ต่อ) • โครงการเสริมสร้างประสิทธิภาพ การกับกับดูแลสินค้าและบริการ ของกรมการค้าภายใน • ● กำหนดกลุ่มเป้าหมาย คือ ผู้บริโภคสินค้าและบริการทั้งในส่วนภาคกลางและทั่วประเทศครอบคลุมพื้นที่ 876 อำเภอ 76 จังหวัด • ● กำหนดกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย คือ ภาคเอกชน/ธุรกิจ/ผู้ประกอบการ เป็นต้น

  40. ตัวอย่าง(ต่อ) • โครงการพัฒนาศักยภาพของหมู่บ้าน/ชุมชน (SML) ของสำนักนายกรัฐมนตรี • ● กำหนดกลุ่มเป้าหมาย คือ ประชาชนในหมู่บ้าน/ชุมชนทุกแห่งทั่วประเทศ • ● กำหนดกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย คือ ส่วนในราชการในพื้นที่

  41. ขั้นตอนที่ 1.4 ทบทวนตรวจสอบ/ปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไข

  42. นิยาม ปัญหาและอุปสรรค คือ ปัจจัยต่างๆที่ส่งผลให้การดำเนินโครงการไม่บรรลุผลสำเร็จครบตามที่ได้วางแผนไว้ โดยปัจจัยดังกล่าวสามารถเกิดขึ้นได้ตลอดระยะเวลาการดำเนินงานโครงการ ตั่งแต่ขั้นตอนการริเริ่มโครงการ (Planning Phase) การดำเนินโครงการ (Implementation Phase ) การใช้ประโยชน์จากโครงการ (Utilization Phase) แนวทางแก้ไข คือ สิ่งที่ผู้รับผิดชอบโครงการ และ/หน่วยหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ดำเนินการเพื่อแก้ไขปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ที่เกิดขึ้นในตลอดระยะเวลาดำเนินงานโครงการ

  43. ปัญหาและอุปสรรคของโครงการปัญหาและอุปสรรคของโครงการ • ด้านบุคลากร (Man) เช่น ขาดบุคลากรที่มีขีดความสามารถ • ด้านการบริหารจัดการ (Management) เช่น ความผิดพลาดต่างๆในการบริหารจัดการ • ด้านวัตถุดิบ/เครื่องมือ/อุปกรณ์ (Material/Machine) เช่น ขาดแคลนวัตถุดิบ • ด้านงบประมาณ (Money) ค่าใช้จ่ายสูงกว่าค่าใช้จ่ายที่ประมาณการไว้ • ด้านเทคโนโลยี (Technology) เช่น ความยุ่งยากสลับซับซ้อนของเทคโนโลยี • ด้านสภาวะแวดล้อม (Environment) เช่น การต่อต้านของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของโครงการ

  44. หลักการ สภาพปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้น • ทบทวนปัญหาและอุปสรรค • ทบทวนแนวทางแก้ไข

  45. ตัวอย่างปัญหา/อุปสรรคที่เกิดขึ้นในแต่ละขั้นตอนของการบริหารโครงการในมิติต่างๆตัวอย่างปัญหา/อุปสรรคที่เกิดขึ้นในแต่ละขั้นตอนของการบริหารโครงการในมิติต่างๆ

  46. ขั้นตอน 1.5 พิจารณาตัดสินใจ

  47. นิยาม การพิจารณาตัดสินใจภายหลังจาการทบทวนโครงการ คือ การที่เจ้าของโครงการพิจารณาตัดสินใจว่าจะดำเนินโครงการขยายผลโครงการ ยกเลิกโครงการ หรือชะลอโครงการเพื่อติดตามและเฝ้าดู โดยพิจารณาจากผลการทบทวนในเรื่องต่างๆในขั้นตอนที่ผ่านมา

  48. หลักการ • รวบรวมและวิเคราะห์ทบทวน • สถานภาพของโครงการ • ผลผลิตผลลัพธ์ / ผลกระทบที่เกิดขึ้น • กลุ่มเป้าหมายผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • ปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไข

  49. หลักการ(ต่อ) • ควรพิจารณา ดำเนินโครงการ • โครงการสามารถดำเนินการได้ตามแผนดำเนินงานที่กำหนด • โครงการให้ผลผลิต และผลลัพธ์ตามเป้าหมายที่กำหนด • โครงการสามารถก่อให้เกิดประโยชน์ต่อกลุ่มเป้าหมายที่กำหนด • โครงการสอดคล้องกับนโยบาย แผนการบริหารราชการแผ่นดิน และแผนปฏิบัติการของหน่วยงาน

  50. การพิจารณา ยกเลิกโครงการ • โครงการเบี่ยงเบนไปจากแผนการดำเนินงาน และไม่สามารถปรับปรุงแผนได้ • โอกาสในการบรรลุเป้าหมายผลผลิตและผลลัพธ์ที่กำหนดเป็นไปได้ยาก • กลุ่มเป้าหมายไม่สามารถใช้ประโยชน์ผลผลิตโครงการตามที่ตั้งเป้าหมายไว้ • การดำเนินงานโครงการก่อให้เกิดผลกระทบเชิงลบต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • นโยบายแผ่นการรบริหารราชการแผ่นดิน และแผนปฏิบัติราชการของหน่วยงานเปลี่ยนแปลง

More Related