1 / 26

หอการค้า สภาอุตสาหกรรม ชมรมธนาคาร สภาเกษตรกร

ด้านเศรษฐกิจ. ประธาน : รอง ผวจ. (นายชวลิต เมฆจำเริญ) เลขา : พาณิชย์ จว. คลัง จว. ด้านความมั่นคง. ประธาน : รอง ผวจ. (นายศักดิ์ชัย จ.ผลิต) เลขา : ปค. พร. ด้านบริหารจัดการ. ประธาน : รอง ผวจ. (นายศักดิ์ชัย จ.ผลิต) เลขา : สนจ. พร.

yaron
Download Presentation

หอการค้า สภาอุตสาหกรรม ชมรมธนาคาร สภาเกษตรกร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ด้านเศรษฐกิจ ประธาน : รอง ผวจ. (นายชวลิต เมฆจำเริญ) เลขา : พาณิชย์ จว. คลัง จว ด้านความมั่นคง ประธาน : รอง ผวจ. (นายศักดิ์ชัย จ.ผลิต) เลขา :ปค.พร. ด้านบริหารจัดการ ประธาน : รอง ผวจ. (นายศักดิ์ชัย จ.ผลิต) เลขา :สนจ.พร. คณะกรรมการ (Cluster) เพื่อกำกับการบริหารงานนโยบายสำคัญ การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์จังหวัดแพร่ กำหนด Area อำเภอคู่แฝด ขับเคลื่อน Positioning เครือข่ายการมีส่วนร่วม Participation งานปกติของส่วนราชการ ในพื้นที่จังหวัด (Function) การท่องเที่ยว เมืองแพร่ และ สอง หอการค้าสภาอุตสาหกรรม ชมรมธนาคาร สภาเกษตรกร 2 1 5 3 4 6 บริหารจัดการน้ำแบบ บูรณาการ : สนจ.พร. พัฒนางานหัตถกรรมและยกระดับ OTOP : พช. ใช้ประโยชน์ ที่ดินเกษตรกรรม : กษ. ยกระดับสินค้าเกษตร : กส. การท่องเที่ยว : สทก. ส่งเสริมเข้า ถึงแหล่งเงินทุน พัฒนาหมู่บ้าน SML : ปค. 2/1 พัฒนากองทุนสตรี :พช. 2/2 11 7 8 9 10 พัฒนากองทุนหมู่บ้าน : พช. 2/3 สร้างความปรองดองสมานฉันท์ : กอ.รมน.จว. การช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาสในสังคม : พมจ. การพัฒนาการศึกษา สู่สังคมแห่งการเรียนรู้ : สพป. เขต๑ พัฒนาแรงงาน นอกระบบ : แรงงาน.จว. พัฒนาอาหาร มีคุณภาพ ปลอดภัย : สสจ. สูงเม่น และ เด่นชัย OTOP ไม้สัก สภาวัฒนธรรม สโมสรโรตารี่ สภาเด็ก ชมรมผู้สูงอายุ ด้านสังคม หลุดพ้นจากประเทศรายได้ปานกลาง ลดความเหลื่อมล้ำ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ประธาน : รอง ผวจ. (นายชวลิต เมฆจำเริญ) เลขา : พัฒนาสังคมฯ จว. 15 14 13 12 ป้องกันและแก้ไข ยาเสพติด : ปค. รักษาความสงบเรียบร้อย : ปค. แก้ไขภัยธรรมชาติ และผู้ประสบภัย : ปภ. ป้องกันแก้ไข ไฟป่าและหมอกควัน : ปภ. เกษตรคุณภาพสูง หนองม่วงไข่ และ ร้องกวาง กนช. อป.พร. ตาสับปะรดMr.เตือนภัย 19 16 18 17 20 ขับเคลื่อนงาน จว.กับ วท. :สนจ.พร. การประชาสัมพันธ์ : ประชาสัมพันธ์.พร ลอง และ วังชิ้น ป้องกันและปราบปรามทุจริตฯ : สนจ.พร. เสริมสร้างระบบคุณธรรมนำบริการที่ดี : ขนส่ง.พร. ประชาอาสาปลูกป่า 800 ล้านกล้าฯ : ทส.พร. ป่าเศรษฐกิจ กธจ. อปม. ทสม. อ.สคบ. ยุทธศาสตร์จังหวัด นโยบายรัฐบาล

  2. กระบวนงาน บริหารจัดการน้ำแบบบูรณาการ คณะที่ 1 นโยบายรัฐบาล : บริหารจัดการน้ำอย่างบูรณาการและเร่งรัดขยายเขตชลประทาน เป้าประสงค์ : แก้ไขปัญหาการขาดแคลนน้ำ และอุทกภัยรวมทั้งอนุรักษ์ต้นน้ำลำธารให้สมบูรณ์ กลยุทธ์ : 1. อนุรักษ์ ฟื้นฟูแหล่งต้นน้ำ 2. พัฒนาแหล่งน้ำและระบบชลประทาน 3. ป้องกันและบรรเทาภัยจากน้ำอย่างมีประสิทธิภาพ 4. จัดหาน้ำเพื่อการอุปโภคบริโภค ประธาน : รอง ผวจ.พร. คณะทำงาน : สค.,สนจ., สถ., ปภ., ยผ., โครงการส่งน้ำบำรุงรักษาแม่ยม,อำเภอ, อบจ., เทศบาลเมืองและตำบล, ส่วนประสานบริหารจัดการลุ่มน้ำยม, ขนส่งทางน้ำ, สสนก, ทสจ., อุตุฯ,ชป. จังหวัดแพร่ มีการบริหารจัดการน้ำอย่างเป็นระบบ กระบวนงาน พัฒนา ฐานข้อมูลด้านน้ำ เพิ่มความชุ่มชื้น แหล่งต้นน้ำ ป้องกันอุทกภัย ป้องกัน ภัยแล้ง เพิ่มศักยภาพในการใช้น้ำ มีข้อมูลน้ำทุกมิติวิเคราะห์ปัญหา และพัฒนา รักษาสภาพต้นน้ำ ลดพื้นที่น้ำท่วมซ้ำซาก ลดพื้นที่ภัยแล้งซ้ำซาก เพิ่มพื้นที่การเกษตร เป้าหมาย ตัวชี้วัด 1. แหล่งต้นน้ำเพิ่มขึ้น(แห่ง) 2. ปริมาณน้ำเก็บกักเพิ่มขึ้น(ล้านลบ.ม.) 3. พื้นที่ชลประทานเพิ่มขึ้น(ไร่) 4. พื้นที่ชุ่มน้ำเพิ่มขึ้น(ไร่) 5. ราษฎรมีน้ำเพื่อการอุปโภคบริโภค 6. ลดความสูญเสียเนื่องจากอุทกภัย มาตรการ/แนวทาง 1. รวบรวม/ปรับปรุงข้อมูลการพัฒนาแหล่งน้ำในอดีตและปัจจุบัน 2. รวบรวม/เรียงลำดับความสำคัญปัญหาความเดือนร้อน ณ ปัจจุบัน 3. รวบรวมข้อมูลเพื่อจัดทำระบบพยากรณ์และเตือนภัยทั้งภัยแล้งและอุทกภัย 4.จัดทำผังน้ำบูรณาการ 5. จัดตั้งศูนย์บริหารจัดการน้ำ 1. สำรวจ,จัดทำ ข้อมูลด้านอุทกวิทยา 2. ประชาสัมพันธ์ให้แก่เกษตรกร 3. จัดเตรียมเครื่องสูบน้ำเคลื่อนที่ 4. ก่อสร้างสูบน้ำพลังไฟฟ้า 5. จัดทำฝายกระสอบทราย ในช่วงเวลาที่เหมาะสม 6. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน, อปท. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง บูรณาการแก้ไขปัญหาภัยแล้งในพื้นที่ที่มีศักยภาพ 1. ก่อสร้างอ่างเก็บน้ำขนาดเล็ก/พระราชดำริ 2. ปรับปรุงระบบส่งน้ำ 3. ปรับปรุงแหล่งน้ำธรรมชาติและแหล่งน้ำเดิม 4. จัดตั้งเครือข่ายลุ่มน้ำ 5. จัดตั้งกลุ่มผู้ใช้น้ำ ให้ครอบคลุม 1. สำรวจ/ออกแบบ 2. ระวังรักษาแนวเขต รุกล้ำห้วยธรรมชาติ 3. ปรับปรุงลำห้วยธรรมชาติ 4. เฝ้าระวังภัยในช่วงวิกฤต 5. ปรับปรุงอาคารชลประทาน 6. ปรับปรุงรางระบายน้ำข้างถนนหลัก 1. ปลูกป่า 2. อนุรักษ์ 3. ฝายชะลอน้ำ 4. สร้างเครือข่ายอนุรักษ์ให้ยั่งยืน รวม.........128..............โครงการ รวมงบ....916,695,926..บาท รวม -- โครงการ งบ -- บาท รวม..........127.............โครงการ งบ.... 915,495,926..บาท รวม...............1.............โครงการ งบ.............1,200,000.....บาท รวม -- โครงการ งบ -- บาท รวม -- โครงการ งบ -- บาท

  3. คณะที่ 2/1 กระบวนงาน โครงการพัฒนาศักยภาพหมู่บ้านและชุมชน(SML) นโยบายรัฐบาล: ส่งเสริมให้ประชาชนเข้าถึงแหล่งทุน และสนับสนุน โครงการตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในพืนที่ เป้าประสงค์ :หมู่บ้าน/ชุมชนบริหารจัดการงบประมาณด้วยตัวเอง กลยุทธ์ :ส่งเสริมการบริหารจัดการหมู่บ้าน/ชุมชน ประธาน :ปลัดจังหวัด คณะทำงาน :พช.สนจ.สถ.พม.อำเภอทุกอำเภอ เทศบาลเมืองและเทศบาลตำบล หมู่บ้าน/ชุมชนเข้มแข็งเพิ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน กระบวนงาน เตรียมความพร้อม ส่งเสริม การบริหารจัดการ ขยายผลต่อยอดไปสู่ความยั่งยืน เป้าหมาย หมู่บ้าน/ชุมชน มีความพร้อมในการจัดทำประชาคม หมู่บ้าน/ชุมชนที่สามารถเสนอขอรับงบประมาณโครงการ SML เพิ่มขึ้น หมู่บ้าน/ชุมชน ได้รับงบประมาณสามารถดำเนินโครงการได้แล้วเสร็จ มาตรการ/แนวทาง 1. สื่อสารสร้างความเข้าใจ - ประชุมชี้แจงหมู่บ้าน/ชุมชน - ประชาสัมพันธ์แนวทางผ่านสื่อ 2. เตรียมความพร้อมหมู่บ้าน/ชุมชน - มอบหมาย กม.องค์กรภาคเอกชน เป็นพี่เลี้ยง 3. ตรวจสอบการดำเนินโครงการ ให้แก่หมู่บ้าน/ชุมชน - เตรียมความพร้อม - พัฒนาศักยภาพผู้นำหมู่บ้าน/ชุมชน 1. เพิ่มประสิทธิภาพกลไกการบริหารจัดการ 2. สนับสนุนการบริหารโครงการ - สนับสนุนจัดประชุม/ประชาคม ดำเนินกิจกรรม คัดเลือก - คณะกรรมการคัดเลือกโครงการ - ตรวจสอบเอกสารและรายงาน การจัดทำประชาคม - แต่งตั้งคณะกรรมการหมู่บ้าน/ชุมชน - แต่งตั้งคณะทำงานตรวจสอบข้อเท็จจริง และรับเรื่อง - ร้องเรียน ในระดับจังหวัด อำเภอและเทศบาล - สนับสนุนการจัดทำแผนพัฒนา หมู่บ้าน/ชุมชน จัดระบบการส่งต่อ 1. ส่งเสริมกระบวนการจัดการความรู้ ของหมู่บ้าน/ชุมชน 2. ส่งเสริมบทบาท กม.ในการบริหารหมู่บ้าน/ชุมชน 3. ส่งเสริมโครงการ SML ให้ดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน 4. ติดตามประเมินผลโครงการSML ตัวชี้วัด หมู่บ้าน/ชุมชน ร้อยละ 100 ที่เสนอโครงการเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ รวม -- โครงการ งบ -- บาท รวม -- โครงการ งบ -- บาท รวม -- โครงการ งบ -- บาท รวม -- โครงการ งบ -- บาท

  4. คณะที่ 2/2 กระบวนงาน กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี นโยบายรัฐบาล : ส่งเสริมให้ประชาชนเข้าถึงแหล่งทุน เป้าประสงค์ :เข้าถึงแหล่งทุน พัฒนาอาชีพ สร้างบทบาทและคุณภาพชีวิต กลยุทธ์ :พัฒนาศักยภาพแหล่งทุนในชุมชนให้ประชาชนเข้าถึง ประธาน :ปลัดจังหวัด คณะทำงาน :พช.สนง.สถ.พม. อำเภอ เทศบาลเมืองและตำบล กระบวนงาน สนับสนุน การเข้าถึงแหล่งทุนของชุมชน พัฒนาความเข้มแข็งและธรรมมาภิบาลของกองทุน ส่งเสริมการบริหารจัดการ ประชาชนสามารถเข้าถึงแหล่งทุนในชุมชนเพื่อพัฒนาอาชีพ มีคณะกรรมการ กองทุนพัฒนาบทบาทสตรีในระดับหมู่บ้าน/ตำบล/จังหวัด ครบถ้วน จำนวนหมู่บ้าน/ชุมชน ที่สามารถเสนอขอรับงบประมาณ จากกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี จำนวนหมู่บ้าน/ชุมชน ได้รับงบประมาณ สามารถดำเนินโครงการได้แล้วเสร็จ เป้าหมาย มาตรการ/แนวทาง 1. สนับสนุนการดำเนินงานและ ขับเคลื่อนกองทุนฯ 2. สร้างความเข้าใจ เตรียมความพร้อมภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง เพื่อสนับสนุนกองทุนฯ 3. คัดเลือกคณะกรรมการกองทุนฯ 4. แสวงหาภาคีเครือข่ายและสร้างความร่วมมือในการพัฒนากองทุนพัฒนาบทบาทสตรี 5. สร้างฐานข้อมูลชุมชนเพื่อการพัฒนาส่งเสริมการตรวจสุขภาพกองทุนฯ 1. จัดตั้งองค์กร เพื่อบริหารจัดการเงินทุนชุมชน 2. ให้ความรู้ สร้างความเข้าใจ พัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านการบริหารจัดการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี 3. สนับสนุนการบริหารจัดการแก้ไขปัญหากองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองตามหลักธรรมมาภิบาล 1. สนับสนุนการออมและมีวินัยในการใช้เงิน 2. จัดการทุน กองทุนชุมชน เพื่อจัดสวัสดิการของครัวเรือน 3. ส่งเสริมกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ในการพัฒนาอาชีพ สร้างสวัสดิการ การแก้หนี้นอกระบบ เพื่อแก้ไขปัญหาความยากจน 4. ส่งเสริมกองทุนชุมชนกิจกรรมเพื่อสังคม 5. พัฒนาคุณภาพชีวิตตามเกณฑ์ จปฐ. 6. ส่งเสริมการบริหารจัดการกองทุนชุมชนเพื่อแก้ไขปัญหาของชุมชน ตัวชี้วัด ร้อยละของหมู่บ้าน ชุมชนที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี รวม..............๒.................... โครงการ งบ..............420,640............บาท รวม...........1..................โครงการ งบ.............70,000,000....บาท รวม -- โครงการ งบ -- บาท รวม...........3............โครงการ รวมงบ.....70,420,640...บาท

  5. คณะที่ 2/3 กระบวนงาน กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง นโยบายรัฐบาล: ส่งเสริมให้ประชาชนเข้าถึงแหล่งทุน เป้าประสงค์ : เป็นแหล่งเงินทุนหมุนเวียนสำหรับพัฒนาอาชีพ สร้างงาน สร้างรายได้ ลดรายจ่าย บรรเทาเหตุฉุกเฉิน กลยุทธ์ : พัฒนากองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองเป็นสถาบันการเงินชุมชน ประธาน : ปลัดจังหวัด คณะทำงาน: พัฒนาการจังหวัด สนง.สถ. พม.อำเภอ เทศบาลเมืองและเทศบาลตำบล กระบวนงาน การพัฒนากองทุน พัฒนาเป็นสถาบันการเงินชุมชน พัฒนากลไก การดำเนินงานกองทุนหมู่บ้านฯ เป็นแหล่งเงินทุนชุมชน พัฒนาอาชีพ สร้างงาน สร้างรายได้ ลดรายจ่าย บรรเทาเหตุฉุกเฉิน และมีธรรมมาภิบาล เป้าหมาย มีความรู้ความเข้าใจ ในการบริหารกองทุน การบริหารจัดการกองทุนให้มีประสิทธิภาพ เป็นไปตามเป้าหมาย มีธรรมมาภิบาล สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน 1. ประชุมเครือข่ายจังหวัด/อำเภอ 2. ประชุมคณะอนุกรรมการจังหวัด/อำเภอ 3. สัมมนาเจ้าหน้าที่/เครือข่าย จังหวัด/อำเภอ 4. สัมมนาเครือข่ายอำเภอ/ตำบล 5. จัดทำยุทธศาสตร์/แผน 1. ประชุมสมาชิก/กรรมการกองทุนฯ 2. ตรวจสุขภาพ 3. ส่งเสริมและแก้ไขปัญหากองทุนหมู่บ้านให้ดำเนินงานตาม หลักธรรมมาภิบาล 4. การติดตาม สนับสนุน ตรวจสอบการบริหารจัดการกองทุน ให้เป็น ไปตามเป้าหมาย มีธรรมมาภิบาล 1. ประชุมเชิงปฏิบัติการคณะกรรมการ/สมาชิก 2. จัดทำแผน/แนวทางการพัฒนา เป็นสถาบัน 3. การติดตาม สนับสนุน 4. ประกาศเกียรติคุณ 5. จัดตั้งสถาบันการเรียนรู้ กองทุนชุมชน มาตรการ/แนวทาง ตัวชี้วัด ๑.ร้อยละ80 ของสมาชิกกองทุนได้รับประโยชน์จากกองทุนฯ ๒.ร้อยละ ๘๐ ของกองทุนมีธรรมมาภิบาล รวม..................4..............โครงการ งบ....................๖๘๓,๖๕๐..........บาท รวม..........3............โครงการ งบ.................๘๒,๐๐๐......บาท รวม...............2.............โครงการ งบ..................๒๙,๖๐๐...............บาท รวม......9........โครงการ งบ........๗๙๕,๒๕๐.....บาท

  6. คณะที่ 3 กระบวนงาน พัฒนางานหัตถกรรมผลิตภัณฑ์ชุมชน (OTOP) นโยบายรัฐบาล : ยกระดับสินค้าหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์(OTOP)และเพิ่มช่องทางการตลาดเชิงรุก เป้าประสงค์ : ผู้ประกอบการ ได้รับการพัฒนา และมีช่องทางตลาดเพิ่มขึ้น กลยุทธ์ : ยกระดับ OTOP พัฒนา ภูมิปัญญาท้องถิ่นและเพิ่มช่องทางตลาด ประธาน : พัฒนาการจังหวัดแพร่ คณะทำงาน : อุตสาหกรรมฯ/เกษตรฯ/พาณิชย์/การค้าภายใน/ม.แม่โจ้/ วอศ.แพร่/เทศบาลเมือง/เทศบาลตำบล สินค้าOTOPได้รับการพัฒนาและมีช่องทางการตลาดเพิ่มขึ้น กระบวนงาน พัฒนาศักยภาพผู้ผลิต/ผู้ประกอบการ พัฒนาผลิตภัณฑ์ พัฒนา ภูมิปัญญาท้องถิ่น เพิ่มช่องทางการตลาด เป้าหมาย กลุ่มผู้ผลิต/ผู้ประกอบการที่ลงทะเบียนOTOP มีองค์ความรู้และมีศักยภาพในการบริหารจัดการทางธุรกิจ ผลิตภัณฑ์ชุมชนได้รับการพัฒนา ชุมชนมีการอนุรักษ์ส่งเสริม ภูมิปัญญาท้องถิ่น มีช่องทางการตลาด ตัวชี้วัด 1. รายได้ผู้ประกอบการเพิ่มขึ้นอย่างน้อย 20 % 2. มีช่องทางการตลาดเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 2 ช่องทาง มาตรการ/แนวทาง 1. พัฒนาศักยภาพ กลุ่มผู้ผลิต/ผู้ประกอบการ โดยเครือข่ายองค์ความรู้ OTOP จังหวัด 2. ส่งเสริมอาชีพหัตถกรรมและ อุตสาหกรรม 3. ลงทะเบียนผู้ประการ OTOP 4. การพัฒนาแผนธุรกิจ 5. พัฒนาศักยภาพเครือข่าย OTOP จังหวัด/อำเภอ 1. การพัฒนามาตรฐานผลิตภัณฑ์และสถานประกอบการ 2. การพัฒนาผลิตภัณฑ์ด้านองค์ความรู้ โดย KBO (knowledge Based OTOP) 3. การออกแบบและพัฒนาบรรจุภัณฑ์ 4. พัฒนาหมู่บ้านท่องเที่ยว OTOP 1. คลังภูมิปัญญา OTOP(OTOP Story) 2. สืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น 3. สร้างเยาวชน OTOP 1. OTOP Mobile to the factory OTOP Road Show2. 2. ส่งเสริมการขายโดยใช้ระบบ IT 2. Website OTOP จังหวัด 3. OTOP สัญจร 4. คัดสรร PSO รวม........12......โครงการ งบ........4,770,400...........บาท รวม..............7.........โครงการ งบ..........4,412,200...บาท รวม..........3.........โครงการ งบ..........1๙,๓๐๐...........บาท รวม..........7.............โครงการ งบ......๔,๒๙๐,๐๐๐.......บาท รวม.................29..............โครงการ งบประมาณ.....13,581,900...บาท

  7. คณะที่ 6 กระบวนงาน การขับเคลื่อนการใช้ประโยชน์ที่ดินด้านเกษตรกรรม • นโยบายรัฐบาล : การยกระดับราคาสินค้าเกษตร • เป้าประสงค์ : เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น สร้างความสมดุลขอปริมาณการ ผลิตและ • ความต้องการในสินค้า • กลยุทธ์: บริหารจัดการเขตเกษตรเศรษฐกิจ (Zoning) ประธาน : ผู้ว่าราชการจังหวัด คณะทำงาน : กษจ.ปมจ. ปม.น้ำจืด ปศจ. สหกรณ์, พด. ธกส.ศวพ.ศวข.ศมข.ตชส.สปก.ชป. ส่งน้ำแม่ยม ทดสอบพันธุ์สัตว์ ศูนย์หมอนไหมฯ สนง.หม่อนไหม อาหารสัตว์ ท้องถิ่น พาณิชย์ อำเภอทุกอำเภอ อบจ.สศก.เขต 2 สำนักบริหารฯที่ 13สกย.ทสจ. ฯลฯ กระบวนงาน พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการเกษตร เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและการจัดการด้านตลาด ฐานข้อมูลการเกษตร 1. เกษตรกรได้รับ การพัฒนาและ ส่งเสริมอาชีพ ด้านการเกษตร ที่เหมาะสมและ สอดคล้องกับ ความต้องการ 2. เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น เป้าหมาย ๑. ข้อมูลการเกษตรที่ถูกต้อง/ทันสมัย ๒. แผนที่เขตเกษตรที่เหมาะสม 3. ข้อมูลพืช ปศุสัตว์ ประมง ที่เหมาะสมกับพื้นที่ 1. พัฒนา/พื้นฟู ดิน น้ำ 2. พัฒนาระบบโลจิสติกส์ เพื่อการเกษตร 3. อนุรักษ์ ฟื้นฟูระบบนิเวศเกษตร ๑. สินค้าเกษตรคุณภาพสูง 2. เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตให้ได้ มาตรฐานและลดต้นทุนการผลิต 3. ส่งเสริมและสนับสนุนสถาบัน เกษตรกรและต่อยอดทางธุรกิจ 4. ส่งเสริมการตลาดสินค้าแบบสัญญา ข้อตกลง 5.ขยาย/เพิ่มช่องทางการตลาด ตัวชี้วัด ครัวเรือนเกษตรกรที่ เข้าร่วมไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 มีรายได้ไม่ต่ำกว่า 180,000 บาท/ปี ภายในระยะเวลา 5 ปี มาตรการ/แนวทาง 1. จัดทำฐานข้อมูลด้านการเกษตร (ดิน,น้ำ,พืช,สัตว์ฯ) ๒. จัดทำแผนที่(MappingZoning) เขตเกษตรที่เหมาะสม ๓.วิเคราะห์ศักยภาพพื้นที่และ ชนิดสินค้าในการสร้างความสมดุล ของอุปสงค์และอุปทาน 1. ส่งเสริมการผลิตปุ๋ยอินทรีย์เคมีนาโนเพื่อ ลดต้นทุนการผลิตเ 2. สนับสนุนการขุดสระน้ำและ ระบบสูบน้ำ ด้วยไฟฟ้าเพื่อการเกษตร 2. พัฒนาระบบขนส่งสินค้าเกษตร ในเขตพื้นที่ที่เหมาะสม 4. ส่งเสริมการผลิตที่เป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อม(Green Economy) 1. ประชุมเชิงปฏิบัติการคณะกรรมการ/สมาชิก 2. จัดทำแผน/แนวทางการพัฒนา เป็นสถาบัน 3. การติดตาม สนับสนุน 4. ประกาศเกียรติคุณ 5. จัดตั้งสถาบันการเรียนรู้ กองทุนชุมชน รวม........6........โครงการ งบ.....92,801,660.บาท รวม -- โครงการ งบ -- บาท รวม -- โครงการ งบ -- บาท รวม..................6................โครงการ งบ..............92,801,660..........บาท

  8. คณะที่ 7 กระบวนงาน สร้างความปรองดองสมานฉันท์ นโยบายรัฐบาล: สร้างความปรองดองสมานฉันท์ของคนในชาติและฟื้นฟูประชาธิปไตย เป้าประสงค์ : หมู่บ้าน/ชุมชน เกิดความสมัครสามานสามัคคี กลยุทธ์ : สร้างรากฐานการพัฒนาที่สมดุลสู่สังคม • ประธาน : กอ.รมน.จว. • คณะทำงาน : ปค.สนจ.สถ. เขตพื้นที่การศึกษา อบจ. • เทศบาลเมืองและตำบล เกิดความปรองดองสมานฉันท์อย่างแท้จริง กระบวนงาน เสริมสร้างความเข้าใจ สร้างเครือข่าย เข้าถึง บริการของรัฐ ผนึกกำลัง สร้างความสามัคคี เป้าหมาย ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในระบอบประชาธิปไตย และตระหนักถึงความสำคัญของความสามัคคี เครือข่ายเข้าถึง และสามารถแก้ไขปัญหา ในพื้นที่ ประชาชนมีความพึงพอใจเชื่อมั่นและให้ความร่วมมือ กับหน่วยงานของรัฐ ประชาชนมีความรัก ความสามัคคี และมีส่วนร่วมในการพัฒนา ๑. สร้างช่องทางการสื่อสารประชาสัมพันธ์ให้ทันสถานการณ์ ๒. จัดชุดประชาสัมพันธ์ และชุดปฏิบัติการเคลื่อนที่ ๓. สร้างสื่อมวลชนสร้างสรรค์ ๔. รณรงค์ให้เห็นถึงประโยชน์ของความสมัครสมานสามัคคี ๕.. นำหลักธรรมคำสอนทางศาสนา เป็นสื่อเสริมสร้างความรักความสามัคคี ๖. ให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุข ๗. จัดเวทีสาธารณะสร้างความเข้าใจ ๑. สร้างระบบเครือข่ายให้ชัดเจน ๒. พัฒนาศักยภาพเครือข่าย ในพื้นที่ ๓. ประสาน ถ่ายทอด สร้างความเข้าใจแก่ประชาชน ในพื้นที่ ๑. ให้บริการแก่ประชาชนด้วยความเต็มใจ มีประสิทธิภาพ รวดเร็ว ทั่วถึง และเป็นธรรม ๒. นำบริการเชิงรุก สู่ประชาชนใน พื้นที่ ๓. แก้ไขปัญหาความเดือดร้อนให้แก่ประชาชนได้ตรงความต้องการ และทันเหตุการณ์ ๔. พัฒนาระบบการให้บริการ ให้มีคุณภาพ และประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น มาตรการ/แนวทาง ๑. บ้าน-ผนึกกำลังของคนในชุมชนด้วยกิจกรรมทางประเพณีวัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถิ่น การแข่งขันกีฬา การท่องเที่ยว การสาธารณสุขสาธารณประโยชน์ ๒. วัด/โบสถ์/มัสยิด–ผนึกกำลังของคนในชุมชนด้วยกิจกรรมทางศาสนา, เสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม ๓. โรงเรียน -ปลูกฝังวิถีการดำเนินชีวิตภายใต้ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุขแก่ประชาชนทุกช่วงวัย ๔. ปลูกฝังทัศนคติความรักชาติศาสนา พระมหากษัตริย์ และร่วมรักษาผลประโยชน์ของชาติ ตัวชี้วัด ๑.ร้อยละของชุมชนที่มีการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทและยุติความขัดแย้งได้ด้วยตนเอง(ร้อยละ) ๒.ร้อยละของชุมชนที่มีส่วนร่วมในกิจกรรมเสริมสร้างความสามัคคี(ร้อยละ ) ๓.ร้อยละของสถานศึกษาที่มีการจัดกิจกรรมเสริมสร้างความปรองดองสมานฉันท์(ร้อยละ) ๔.ร้อยละความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อการบริการของรัฐ (ไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๘๕) รวม ...........13................ โครงการงบ.............630,000......บาท รวม ..............7........... โครงการงบ................640,520........บาท รวม ...........21............... โครงการงบ..........6,580,700..........บาท รวม ..........41.......โครงการรวมงบ....7,958,620.บาท รวม -- โครงการ งบ -- บาท

  9. คณะที่ 8 กระบวนงาน การช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาสในสังคม นโยบายรัฐบาล : ลดความเหลื่อมล้ำ ยุทธศาสตร์ : 1. การพัฒนาคุณภาพชีวิตและการคุ้มครองทางสังคม 2. พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 3. เสริมสร้างความั่นคง ประธาน : พมจ. คณะทำงาน : สธ./รง./สพป.เขต1-2/สพม.37/กศน./กศพ./ตร./พช./อำเภอ/อปท./กาชาด/ศพส.39/บพด./พระพุทธศาสนา/องค์กรสาธารณประโยชน์/องค์กรภาคเอกชน/อาสาสมัคร. ผู้ประสบปัญหา/ผู้ด้อยโอกาส สามารถพึ่งตนเอง และมีความปลอดภัยในการดำเนินชีวิต กระบวนงาน การบริหารจัดการ ให้ความคุ้มครอง และช่วยเหลือ พัฒนาศักยภาพ ผู้ประสบปัญหา สร้างพลังครอบครัว ชุมชนและเครือข่าย เป้าหมาย การเข้าถึงผู้ประสบปัญหา/ผู้ด้อยโอกาส ผู้ประสบปัญหา ผู้ด้อยโอกาส ได้รับการช่วยเหลือคุ้มครอง และเข้าถึงสิทธิ ผู้ประสบปัญหา ผู้ด้อยโอกาส มีภูมิคุ้มกันพร้อมรับการเปลี่ยนแปลง ทุกภาคส่วนมีจิตสำนึก รับผิดชอบต่อสังคม จัดทำระบบข้อมูลครบถ้วนถูกต้อง เป็นปัจจุบัน เพื่อการบริหารจัดการ - รายงานสถานการณ์สังคม - poll - war room - ระบบสารสนเทศ (ตัวบุคคล/กลุ่ม/ชุมชน) 1. คุ้มครองพิทักษ์สิทธิ/ส่งเสริมสวัสดิการ/ช่วยเหลือผู้ประสบปัญหา/ผู้ด้อยโอกาส ให้มีคุณภาพได้มาตรฐาน 2. จัดตั้งศูนย์ให้ความช่วยเหลือทางสังคม OSCC (One Stop Crisis Center) 3. พัฒนาระบบการส่งต่อ ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อพัฒนาทักษะ/ศักยภาพของผู้ประสบปัญหาและผู้ด้อยโอกาส ป้องกัน/ส่งเสริมให้ตรงกับความต้องการของกลุ่มเป้าหมายและผู้เกี่ยวข้องโดยการใช้เครื่องมือ - สื่อสารมวลชน - สื่ออิเล็กทรอนิกส์ - ศูนย์การเรียนรู้ - กิจกรรม 1. เสริมสร้างความเข้มแข็งให้ครอบครัว/ชุมชน/เครือข่าย 2. ส่งเสริมให้เครือข่ายมีส่วนร่วมในการช่วยเหลือผู้ประสบปัญหา และด้อยโอกาส มาตรการ/แนวทาง ตัวชี้วัด ๑.ร้อยละ 80 ของผู้ด้อยโอกาสที่เข้าถึงและได้รับการคุ้มครองทางสังคม ๒.ร้อยละ 85 ความพึงพอใจของผู้ด้อยโอกาสที่ได้รับความช่วยเหลือ รวม .............12.............. โครงการงบ........570,160..................บาท รวม ...............57........... โครงการงบ......... ๕๑,๑๖๕,๒๔๐........บาท รวม .............33.............. โครงการงบ............. ๖,๕๙๐,๕๖๖.......บาท รวม .............79............. โครงการงบ.......... ๑๒,๕๕๗,๕๖๗.......บาท รวม .........181.....โครงการงบ.... ๗๐,๘๘๓,๕๓๓..บาท

  10. กระบวนงาน การพัฒนาการศึกษาสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ คณะที่ 9 • นโยบายรัฐบาล: ลดความเหลื่อมล้ำ • ยุทธศาสตร์ :พัฒนาคุณภาพชีวิตและการคุ้มครองทางสังคม, การสร้างความรู้ ความเข้าใจ และความตระหนักรู้ถึงความสำคัญ • ของอาเซี่ยน, พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ประชาชนมีการศึกษา ที่สูงขึ้น มีรายได้ และมีอาชีพ หลากหลายตรงตามศักยภาพของตนเอง กระบวนงาน ทบทวนปัจจัยทางการศึกษา การเพิ่มโอกาสและ การจัดการเรียน การสอนอย่างมีประสิทธิภาพ การศึกษาเพื่อบ่มเพาะ และพัฒนาอาชีพ เป้าหมาย มีข้อมูลพื้นฐานทางการศึกษา และแนวทางในการพัฒนาการศึกษา ประชาชนมีโอกาสได้เลือกเรียนในสิ่งที่ตนเองถนัดและสนใจ และมีความสุขในการเรียน รวมทั้งมีการพัฒนาสังคม และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ประชาชนมีความรู้และทักษะ พร้อมสู่การประกอบอาชีพ หรือเป็นผู้ประกอบการ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี ผู้รับผิด ชอบ สพป.๑-๒/ สพม.๓๗ /อาชีวศึกษา/ กศน./ การศึกษาพิเศษ /สำนักงานพระพุทธ /อปท./สถาบันอุดมศึกษา สพป.๑-๒/ สพม.๓๗ /อาชีวศึกษา/ กศน./ การศึกษาพิเศษ /สำนักงานพระพุทธ /อปท./สถาบันอุดมศึกษา สพป.๑-๒/ สพม.๓๗ /อาชีวศึกษา/ กศน./ การศึกษาพิเศษ /สำนักงานพระพุทธ /อปท./สถาบันอุดมศึกษา ๑. สำรวจข้อมูลการศึกษา - ด้านการบริหารจัดการ - ด้านบุคลากรทางการศึกษา - ด้านนักเรียนนักศึกษา - ด้านหลักสูตรการศึกษา - ด้านสื่อการเรียนการสอน - ด้านบรรยากาศจัดการเรียน การสอน(อาคาร สถานที่) - ด้านผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (ผู้ปกครอง ,ชุมชน ,สังคม) ๑. พัฒนาการเรียนการสอน/หลักสูตร/การแนะแนว ๒. ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ๓. เพิ่มทักษะชีวิต ๔. พัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ๕. ส่งเสริมศีลธรรมนำชีวิต ๖.เพิ่มทักษะอาชีพ ๗. เตรียมพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ๘. จัดการศึกษาตามอัธยาศัย ๙. การศึกษาเพื่อการพัฒนาสังคม และชุมชน ปลูกจิตสำนึกรักบ้านเกิด ๑๐. นำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ ในชีวิตประจำวัน ๑๑. ส่งเสริมให้ประชาชนรักการอ่าน ๑. จัดการศึกษาที่เน้นการปฏิบัติจริง ๒. พัฒนาหลักสูตรการศึกษาให้เกิดทักษะ ที่หลากหลายรองรับความต้องการของประชาชน ในจังหวัดแพร่ ๓. พัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา ๔. ส่งเสริมการประกอบอาชีพ เพื่อเพิ่มรายได้ และมีความรับผิดชอบต่อสังคม มีศีลธรรม คุณธรรมจริยธรรม และมีความรักบ้านเกิด มาตรการ/แนวทาง ตัวชี้วัด ๑.ร้อยละของประชาชนที่ได้รับการศึกษาอย่างทั่วถึง ๒.ร้อยละของประชาชนมีงานทำ ๓.ร้อยละของประชาชนมีอาชีพตรงตามหลักสูตรที่เรียน ๔.ร้อยละของประชาชนที่ประกอบอาชีพอยู่ในภูมิลำเนาเดิม รวม...........19............โครงการ รวมงบ......14,907,894......บาท รวม......................1.................โครงการ งบ.............40,000..................บาท รวม.....................10....................โครงการ งบ................6,632,464......บาท รวม...................8......................โครงการ งบ............8,235,430............บาท

  11. กระบวนงาน พัฒนาแรงงานนอกระบบ คณะที่ 10 นโยบายรัฐบาล : ลดความเหลื่อมล้ำ ยุทธศาสตร์ : การพัฒนาคุณภาพชีวิตและการคุ้มครองทางสังคม ,การสร้างความรู้ ความเข้าใจ และ ความตระหนักรู้ถึงความสำคัญของอาเซี่ยน , การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ข้อสำคัญ: จากการสำรวจของสำนักงานสถิติจังหวัดแพร่ พบว่า ปี 2554 จังหวัดแพร่มีแรงงานนอกระบบ 239,680 คน โดยส่วนใหญ่มีการศึกษาต่ำ ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 41.28 ซึ่งเป็นกลุ่มเป้าหมายที่ ขาดสมรรถนะในการทำงาน จึงมีความจำเป็นต้องเร่งส่งเสริมและพัฒนาการประกอบอาชีพ เพื่อพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน แรงงาน นอกระบบ มีรายได้ มีความมั่นคงทางอาชีพ สู่การมีคุณภาพชีวิตดี กระบวนงาน เพิ่มสมรรถนะการบริหารจัดการ พัฒนาสมรรถนะเพื่อขยายโอกาสการมีงานทำ สร้างความยั่งยืนของอาชีพและหลักประกันทางสังคม เป้าหมาย มีข้อมูลสนับสนุนการดำเนินงานและมีเครือข่าย แรงงานนอกระบบ ได้รับการส่งเสริมการมีงานทำ มีสมรรถนะสูงขึ้น แรงงานนอกระบบเข้าถึงตลาดงาน มีการรวมกลุ่มอาชีพ และได้รับการคุ้มครองทางสังคม ผู้รับผิด ชอบ รง/สจจ/สปส/สสค/ศพจ/กศน/พมจ/อาสาสมัคร/อำเภอ/อปท รง/สจจ/สปส/สสค/ศพจ/กศน/พมจ/ อำเภอ/อปท รง/สจจ/สปส/สสค/ศพจ/กศน/พมจ/อำเภอ/อปท ๑. การบูรณาการปฏิบัติงานระหว่างหน่วยงาน ๒. ข้อมูลแรงงานนอกระบบ/ผู้ไม่อยู่ในกำลังแรงงานแต่สามารถทำงานได้ (ผู้พิการ/ผู้สูงอายุ)/คัดกรองกลุ่มเป้าหมาย ๓. พัฒนาเครือข่ายและส่งเสริมการมีส่วนร่วม ๔. ติดตามและประเมินผลอย่างเป็นระบบ ๑. ส่งเสริมการประกอบอาชีพของท้องถิ่น ๒. พัฒนาทักษะอาชีพเพื่อการมีงานทำ ๓. ส่งเสริมความรู้ ด้านภาษาอาเซียนและ การใช้เทคโนโลยี IT พื้นฐาน เพื่อพัฒนาสู่ E-commerce ๔. ตระหนักรู้เรื่องประชาคมอาเซียน , Green Job เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม,ความรับผิดชอบทางสังคม (CSR) ๕ เสริมสร้างทัศนคติและพัฒนางานบริการ(Service Mind)เพื่อรองรับการท่องเที่ยว ๖. เสริมสร้างนิสัยอุตสาหกรรม (พฤติกรรมในการทำงาน) ๑.ส่งเสริมการเข้าถึงแหล่งงาน /แหล่งทุน ๒.ส่งเสริมการรวมกลุ่มและสร้างเครือข่ายอาชีพ ๓.ส่งเสริมให้มีหลักประกันทางสังคม มาตรการ/แนวทาง ตัวชี้วัด ๑.ร้อยละของแรงงานนอกระบบที่เข้ารับการพัฒนา มีอาชีพ มีรายได้ ๒.จำนวนแรงงาน นอกระบบที่เข้าร่วม กิจกรรมมีหลักประกันทางสังคม รวม.............19...........โครงการ รวมงบ....19,497,757.....บาท รวม.....................2.....................โครงการ งบ...................70,500......................บาท รวม......................12....................โครงการ งบ...........19,317,667...........บาท รวม...................5.......................โครงการ งบ.............109,590.............บาท

  12. คณะที่ 11 กระบวนงาน การมีส่วนร่วม พัฒนาอาหารมีคุณภาพ ปลอดภัย ดีต่อสุขภาพ • นโยบาย : ต้องมีระบบการดูแล ควบคุม และตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัย • อาหารที่ผลิตทุกขั้นตอน ( Food Chain) ตั้งแต่วัตถุดิบ การผลิต การแปรรูป • การจัดจำหน่าย จนถึงผู้บริโภคอาหาร หรือ จากฟาร์มสู่โต๊ะอาหาร • ( From Farm to Table) • ประธาน : สาธารณสุขแพร่ • คณะทำงาน: ผู้แทนจากหน่วยงาน สสจ./สสอ./รพช./รพ.สต./กษ./ปศ./ประมง/พาณิชย์/ • อบจ./พช./ อปท./พมจ./สพป เขต ๑-๒/สพม.๓๗/กศน./ตร./อำเภอ/ • กาชาด/นพต./องค์กรสาธารณประโยชน์/องค์กรภาคเอกชน/อาสาสมัคร/ • ประชาสัมพันธ์ จ.แพร่ ประชาชน ได้รับอาหารที่สะอาด ปลอดภัย รสชาติดี กระบวนงาน ควบคุมความปลอดภัย ตลอดห่วงโซ่อาหาร ดำเนินงานในรูปแบบพหุภาคี การพัฒนาศักยภาพ ผู้บริโภค สร้างภาพลักษณ์ เป้าหมาย พัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการในแหล่งผลิตอาหาร/วัตถุดิบ/แปรรูป/จำหน่าย บูรณาการการดำเนินงานร่วมกันระหว่างภาคี ที่เกี่ยวข้อง พัฒนาความรู้ ความเข้าใจ ในการคุ้มครองตนเอง อาหารรสชาติดี มีคุณภาพ และดีต่อสุขภาพ 1. ตรวจสอบสถานประกอบการการแหล่งผลิต/วัตถุดิบ ๒. พัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการให้มีความรู้ความเข้าใจในมาตรฐานและส่วนที่เกี่ยวข้อง ๓. สุ่มเก็บตัวอย่างผลิตภัณฑ์เพื่อเฝ้าระวังความปลอดภัย ๑.จัดทำแผนบูรณาการร่วมกันระหว่างภาคีเครือข่าย ๒. สนับสนุนการดำเนินงานของเครือข่ายในการเผยแพร่ข้อมูลและเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหาร ๓. สนับสนุนและส่งเสริมการสร้างความเข็มแข็งของภาคีเครือข่ายดำเนินการ (แลกเปลี่ยนประสบการณ์และถ่ายทอดความรู้) ๑. เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ความรู้ความเข้าใจด้านผลิตภัณฑ์อาหาร มาตรฐานสถานประกอบการ ๒. ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพเครือข่ายเฝ้าระวังอาหารปลอดภัย เพื่อเผยแพร่และ เฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหาร สู่ครอบครัว ชุมชน มาตรการ/แนวทาง ๑.คัดสรรหาอาหารของจังหวัดที่มีความโดดเด่น และมีอัตลักษณ์ ๒. ประชาสัมพันธ์สร้างการรับรู้ด้านอาหารของจังหวัดแพร่ มีคุณภาพและคุณค่าทางโภชนาการ ๓. สนับสนุนให้เกิดสถานที่ที่เป็นจุดศูนย์ร่วมในการจำหน่ายอาหารที่ปลอดภัย มีคุณภาพ 4. ให้รางวัลมาตรฐานร้านอาหารที่มีคุณภาพ • ตัวชี้วัด • แหล่งผลิต/สถานที่ผลิตและกระจายอาหารผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ ๘๐ • อาหารและวัตถุดิบผ่านเกณฑ์ด้านความปลอดภัย ร้อยละ ๘๐ รวม.......13.............โครงการ งบ....2,584,300................บาท รวม ...............1............ โครงการงบ............8,400....................บาท รวม................2...............โครงการ งบ................120,900.......บาท รวม -- โครงการ งบ -- บาท รวม ........16........โครงการงบ......2,713,600.....บาท

  13. คณะที่ 12 บริหารจัดการแบบบูรณาการ สร้างพลังสังคม/ชุมชน สร้างภูมิคุ้มกันและป้องกัน ปราบปรามและบังคับใช้กฎหมาย สกัดกั้นยาเสพย์ติด บำบัด ฟื้นฟู ผู้เสพ ผู้ติด โครงการชุมชน อุ่นใจลูกหลานกลับคืน กระบวนงาน • ระดับความ รุนแรงของปัญหาลดลง • สังคมชุมชนปลอดภัยจากยาเสพย์ติด ผู้รับผิดชอบ หลัก : สนง.แพร่ รอง : ปกครอง,ตำรวจ ,กอ.รมน., ปปส.ภาค 5 หลัก : ปกครอง รอง : พช. ,ท้องถิ่น,ตำรวจ,สธ, อำเภอ,พม., ฯลฯ หลัก : สพป.แพร่ เขต1 รอง :สพป.,สพม., ปกครอง,พช, ท้องถิ่น,แรงงาน ฯลฯ หลัก : ตำรวจ รอง : ปกครอง,อัยการ,สรรพากร,สรรพสามิต,ขนส่ง,เรือนจำ ฯลฯ หลัก : ตำรวจ รอง : ปกครอง, ท้องถิ่น,ทหาร, สาธารณสุข, ขนส่ง ฯลฯ หลัก : สาธารณสุข รอง : คุมประพฤติ,เรือนจำ,ปกครอง,สถานพินิจ,สพป., สพม.,ทหาร. อำเภอ. ฯลฯ หลัก : ศพส.จ/อ. รอง : ตำรวจ,สาธารณสุข,หน่วยงานการศึกษา,พม,พช,วัฒนธรรม ฯลฯ กระบวนงาน แก้ไขปัญหายาเสพย์ติด 1. ศพส. จ/อ. มีแผนปฏิบัติการโดยการบูรณาการทรัพยากร 2. ศพส. จ/อ. มีข้อมูลรายชื่อกำลังพล 3. กลไกอำนวยการ ศพส.จ/อ. มีความเข้มแข็ง 1.ม/ช มีความเข้มแข็งชนะยาเสพย์ติดเชิงคุณภาพ 363 ม/ช 2. มีศูนย์เรียนรู้กองทุนแม่ของแผ่นดินบูรณาการสู่เศรษฐกิจพอเพียง 8 ม/ช 3. เพิ่มหมู่บ้านกองทุนแม่ใหม่ 20 ม/ช 1. นร. ป.5/ป.6 มีภูมิคุ้มกัน 6,744 คน 2. สถานศึกษามีกิจกรรมเฝ้าระวัง 84 แห่ง 3. ควบคุมและลดปัจจัยเสี่ยงดีกว่าปี 25554. ป้องกันเยาวชนอกสถานศึกษา 330 คน 5. ป้องกันเยาวชนผู้เสพรายใหม่ ไม่ให้เกิน 15 % 1.ขยายผลการจับกุมข้อหาสำคัญ 220 คดี 2. จับกุมตามหมายจับครอบครองเพื่อจำหน่ายขึ้นไป 17 คดี 3. ดำเนินการด้านทรัพย์สิน 10 ล้านบาท 4. พัฒนาประสิทธิภาพการข่าวและเจ้าหน้าที่ 370 คน 5. ควบคุมและลดสถานการณ์ยาเสพย์ติดได้ทุกอำเภอ - การจับกุม ตามเส้นทางหลัก และรองเพิ่มสูงขึ้น มากกว่าปีที่ผ่านมา • 1. นำผู้เสพเข้าบำบัด • รักษา 1,344 คน • 2. ติดตามผู้ผ่านการบำบัดไม่ให้เสพซ้ำ 2,505 คน • 3. จัดตั้งศูนย์คัดกรองอำเภอ 8 แห่ง • 4. จัดตั้งศูนย์ Demand จ./อ. 9ศูนย์ • ลดปัญหาการค้า/การแพร่ • ระบาดใน ม/ช ที่ปรากฏปัญหา • ยาเสพย์ติดรุนแรง • 1 อำเภอ : 1 ม/ช • (8 อำเภอ : 8 ม/ช) • บ.สะบู ม.5 ต.เหมืองหม้อ • บ.ตอนิมิต ม.8 ต.ร่องกาศ • บ.สวนหลวง ม.8 ต.ปงป่าหวาย • บ.หัวทุ่ง ม.3 ต.หัวทุ่ง • บ.แม่จอก ม.5 ต.แม่ป้าก • บ.น้ำพุสูง ม.5 ต.ห้วยโรง • บ.วังดิน ม.9 ต.บ้านกลาง • บ.ทุ่งทอง ม.4 ต.ทุ่งแค้ว ตัวชี้วัด 1. ทำworkShop ให้เป็นวาระจังหวัดและอำเภอ 2.พัฒนากระบวนการแผนและงบประมาณในระดับต่างๆ 3. สร้างความเข้มแข็งกลไกทุกระดับ 4. บูรณาการการทำงานระหว่างหน่วยงานในพื้นที่ 5. พัฒนาระบบพื้นฐานข้อมูลและพัฒนาห้อง War Room 6. มีมาตรการจูงใจที่เป็นรูปธรรมเห็นผลทันที 1. ทบทวนสถานการณ์ปัญหาและศักยภาพ 2. สร้างชุมชนเข้มแข็งต่อจากปี 55 3. ควบคุมปัญหายาเสพย์ติดใน ม/ช 4. จัดระบบการทำงานภาคประชาชน ให้เข้มแข็ง 5. ใช้ระบบการดูแลใน ม/ช 10 : 1 6. รณรงค์ประชาสัมพันธ์ 1. สร้างภูมิคุ้มกันให้เยาวชนก่อนวัยเสี่ยง ป.5-ป.6 2. ป้องกันและแก้ไขเยาวชนวัยเสี่ยงในโรงเรียน 3. จัดระเบียบสังคมควบคุม พื้นที่และปัจจัยเสี่ยง 4. ป้องกันเยาวชนนอก สถานศึกษา 5. ป้องกันยาเสพย์ติดในสถานประกอบการ 6. รณรงค์ประชาสัมพันธ์ 1. พัฒนาศูนย์ปฏิบัติการ (War Room)ทุกระดับ 2. พัฒนางานข่าว สืบสวน ปราบปราม 3. ปราบปรามเครือข่ายสำคัญ 4. สนธิกำลังเจ้าหน้าที่เพื่อ ควบคุมพื้นที่และลดปัญหา 5. พัฒนาประสิทธิภาพการ ปราบปราม 6. พัฒนาการยึดทรัพย์และการ บังคับใช้กฎหมาย 1.เพิ่มประสิทธิภาพการสกัดกั้นยาเสพย์ติด 2. ติดตามสถานการณ์ด้านเวชภัณฑ์และสารตั้งต้น 1.ผู้เสพต้องเข้ารับการบำบัด ฟื้นฟู 2. การบำบัดสมัครใจเป็นระบบหลัก 3.วางระบบ พัฒนาไม่ให้มีผู้เสพซ้ำ 4.จัดตั้งศูนย์ข้อมูลติดตามและประสานการช่วยเหลือด้าน Demand 5. พัฒนาระบบการบริการจัดการมาตรการบำบัด 1. กำหนดพื้นที่เป้าหมาย 2. จัดทำข้อมูล (ห้อง War Room) 3. จัดทำแผนแก้ไขปัญหา 4. ดำเนินการต่อผู้ค้า/ผู้เสพ/ผู้ติด(ปราบปราม/บำบัด) 5. ดำเนินการต่อกลุ่มเสี่ยง/พื้นที่เสี่ยง(ขจัดแหล่งมั่วสุม) 6. เสริมสร้างความเข้มแข็งให้ ครอบครัว(สร้างภูมิคุ้มกัน) 7. สร้างความปลอดภัย ใน ม/ช (CCTV) 8. รณรงค์ประชาสัมพันธ์ มาตรการ/แนวทาง จำนวน..13..โครงการ งบ 1,680,000.บาท จำนวน...53...โครงการ งบ. 9,725,000.บาท จำนวน...68.....โครงการ งบ..10,459,170..บาท จำนวน...6.....โครงการ งบ... 2,040,000...บาท จำนวน....3.....โครงการ งบ... 410,000 บาท จำนวน.33 โครงการ งบ 31,525,180 บาท จำนวน....8....โครงการ งบ... 240,000.บาท รวม 184 โครงการ 56,079,350 บาท

  14. คณะที่ 13 กระบวนงาน รักษาความสงบเรียบร้อยและความมั่นคงภายใน กระบวนงาน อำนวยการและประเมินผล สร้างความเข้มแข็งให้หมู่บ้าน และชุมชน การจัดระเบียบสังคม อำนวยความเป็นธรรม สร้างเครือข่าย ครอบคลุม ลดอบายมุข สร้างสุขในสังคม หลัก : ปค.จังหวัด/อำเภอ สนง.จังหวัด/สถ.จ./ตร.ภ.จว./กอ.รมน./หน่วยทหาร รอง :ปภ. รัฐวิสาหกิจสังกัด มท. หลัก : ปค.จ./อำเภอ ตร.ภ.จว./สภ.อ./ พช./วัฒนธรรม/ สพป.1-2/สพม.37/ อปท. รอง : สถ.จ./พมจ./ปชส./ปภ. หลัก : ปค.จ./อำเภอ/ศพส./สสจ.สรรพสามิต/พมจ. /ตร.ภ.จว.วัฒนธรรม/สพม.37/สพป 1-2. รอง : สถ.จ./อปท. หลัก : ศูนย์ดำรงธรรมจ./อ. สนง.ยุติธรรม/ตร.ภ.จว.สภ.อ./สนง.อัยการ/สนง.คุมประพฤติ/เรือนจำ รอง : อปท./สภ.อ./กอ.รมน./ หลัก :ปค.จังหวัด/อำเภอ/ตร.ภ.จว/หน่วยงานทหารในพื้นที่/สนง.จ. รอง : สถ.จ./ปภ. ผู้รับผิดชอบ ตัวชี้วัด สถิติอาชญากรรม ลดลงร้อยละ 5 ยกเว้นคดีรัฐเป็น ผู้เสียหายเพิ่มไม่ น้อยกว่าปีที่ผ่านมา เป้าหมาย บูรณาการหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการกำหนดแนวทางปฏิบัติที่สอดคล้องกับสภาพปัญหา สร้างภูมิคุ้มกันให้หมู่บ้านและชุมชน ควบคุมและกำจัดแหล่งมั่วสุมที่ผิดกฎหมาย เกิดความยุติธรรม ในพื้นที่ และลดความขัดแย้ง มีแนวร่วม ในการแจ้งข่าวสาร และเฝ้าระวังปัญหา มาตรการ/แนวทาง 1. จัดตั้งwarroomเพื่อรวบรวมข้อมูลวิเคราะห์สถานการณ์ กำหนดแนวทางปฏิบัติร่วมกัน 2. จัดทำแผนรักษาความมั่นคงและความสงบเรียบร้อยจังหวัดประจำปี 3. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อซักซ้อมแนวทางในการปฏิบัติตามแผน 4.จัดตั้งชุดปฏิบัติการเฉพาะกิจเข้าปฏิบัติการในพื้นที่ที่มีปัญหา 5. จัดหาเครื่องมือ/อุปกรณ์ที่ทันในการควบคุมและช่วยอำนวยในการเข้าแก้ปัญหา 6. พัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานด้านความสงบเรียบร้อยของทุกหน่วยงาน พร้อมติดตามประเมินผล 1.เสริมสร้างความรู้ข้อกฎหมายแก่ประชาชนและเยาวชน 2.ส่งเสริมให้หมู่บ้าน/ชุมชน มีการประนีประนอมโดยใช้คณะผู้ไกล่เกลี่ยของทางหมู่บ้าน/ชุมชน 3.ส่วนราชการมีการจัดตั้งศูนย์รับเรื่องร้องทุกข์ เพื่ออำนวยความเป็นธรรมให้แก่ประชาชน 4.บูรณาการหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อป้องกันและแก้ไขการชุมนุมเรียกร้องในพื้นที่ โดยหากเกิดสถานการณ์ในพื้นที่ให้เร่งแก้ไขปัญหาให้ยุติและเสร็จสิ้นโดยเร็ว 5. สร้างช่องทางประชาสัมพันธ์เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารอย่างครอบคลุมทั่วถึง 1.จัดตั้งเครือข่ายแจ้งข้อมูลข่าวสารในพื้นที่ 2.พัฒนาระบบรายงานข้อมูลข่าวสารให้ทันสมัยและรวดเร็ว 3.จัดตั้งศูนย์รวบรวมข้อมูลข่าวสาร เพื่อติดตาม/ประเมินสถานการณ์ 4.จัดทำระบบพัฒนาและติดตามผลการดำเนินงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 1. จัดประชุมเพื่อสร้างความเข้าใจในการปฏิบัติตามแผนฯ 2.จัดตั้งและฝึกทบทวนกำลังพลในหมู่บ้าน/ชุมชน 3. ส่งเสริมและสนับสนุนให้หมู่บ้าน/ชุมชน เฝ้าระวังและป้องกันปัญหาอาชญากรรม 4. ส่งเสริมกิจกกรมเข้าวัด ปฏิบัติธรรม ทั้งในและนอกโรงเรียน 5. สนับสนุนเครื่องมือ/อุปกรณ์ที่จำเป็นในการรักษาความมั่นคงและสงบเรียบร้อยให้แก่หมู่บ้านและชุมชน 6.ขอความร่วมมือ อปท. ในพื้นที่ใหสนับสนุนงบฯแก่หมู฿บ้าน/ชุมชนเพื่อใช้ในการดำเนินงาน/การปฏิบัติงาน 1.จัดตั้งชุดปฏิบัติการพิเศษ ออกตรวจสอบ กวดขันและขอความร่วมมือสถานบริการ สถานประกอบการ หอพัก ให้ปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ 2. จัดประชุมเพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมาย ข้อห้าม และบทกำหนดโทษ ให้แก่ผู้ประกอบการและเจ้าของสถานบริการในพื้นที่ 3.เสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ ด้านกฎหมายแก่เยาวชนถึงอันตรายที่เข้าไปแหล่งมั่วสุม 4. สร้างความรู้ ความ เข้าใจแก่ผู้ปกครองในการติดตามพฤติการณ์ของบุตรในการเข้าไปยังแหล่งมั่วสุมต่างๆ รวม.............38..............โครงการ รวมงบ.....10,307,620.....บาท รวม -- โครงการ งบ -- บาท รวม.............10............โครงการ งบ......8,616,000.......บาท รวม..............25...........โครงการ งบ......1,292,300...บาท รวม.............3..............โครงการ งบ.........399,320.......บาท รวม -- โครงการ งบ -- บาท

  15. คณะที่ 14 กระบวนงาน แก้ไขปัญหาภัยธรรมชาติและช่วยเหลือฟื้นฟูผู้ประสบภัย ชีวิตและทรัพย์สิน ของประชาชน ปลอดภัยจากภัยธรรมชาติ กระบวนงาน การพัฒนาศักยภาพชุมชน สร้างเครือข่าย ครอบคลุม พัฒนาศักยภาพ ของบุคลากร การช่วยเหลือ ผู้ประสบภัย ผู้รับผิดชอบ หลัก : อปท./สนง.ปภ.จ. รอง: พช.จ./ทสจ./สถ.จังหวัด หลัก : อปท./ปค.จ./ปค.อ. รอง : สถ.จังหวัด/สสจ.แพร่/ พมจ.แพร่/ปชส.จ. ตร.ภ.จว./สภ.อ./ทสจ. หลัก : สนง.ปภ.จ./อปท./ปค.จ./ปค.อ. รอง : พช./สถ.จังหวัด/ตร.ภ.จว./สสจ.แพร่/พมจ.ปชส.จ./สภ.อ./ปศุสัตว์/ประมง/เกษตร/ไฟฟ้าประปา/โทรศัพท์ ฯลฯ หลัก : ปภ.จ./อปท./ปค.จ./ปค.อ./ ตำรวจ/ทหาร/แขวงการทาง /ทางหลวงชนบท รอง : พมจ./พช.จ./สถ.จ./แรงงาน จ./สวัสดิการฯ./เกษตร./สสจ./ป่าไม้./ปชส./ประปา/โทรศัพท์/หอการค้า/ภาคเอกชนในพื้นที่ ฯลฯ เป้าหมาย ชุมชนมีศักยภาพและมีความตระหนัก ในเรื่องการจัดการภัยธรรมชาติ เครือข่ายมีความพร้อมป้องกันภัยธรรมชาติอย่างบูรณาการและเป็นระบบ บุคลากรในหน่วยงาน มีความรู้ ความสามารถ ปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นการเตรียมพร้อมป้องกันภัยธรรมชาติและช่วยเหลือ ฟื้นฟูผู้ประสบภัย 1. ฝึกอบรมการจัดการภัยพิบัติโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน(CBDRM) 2. ให้ความรู้เกี่ยวกับภัยธรรมชาติแก่ชุมชน 3. การจัดทำแผนปฏิบัติการ ในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและชุมชน 4. ฝึกอบรมมิสเตอร์เตือนภัย 5. การจัดทำแผนชุมชน 1. ประชุมเชิงปฏิบัติการสรุป บทเรียนสาธารณภัย 2. ฝึกอบรม อปพร./อพป./ทบทวน 3. อบรมให้ความรู้แก่โรงงานอุตสาหกรรม/ผู้ประกอบการ 4. อบรมให้ความรู้แก่เด็กนักเรียน 5. การจัดทำแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด อำเภอและอปท. 7. ฝึก ชรบ. (อำเภอ/หมู่บ้าน) 8. การให้ความรู้เกษตรกรในการป้องกันโรคระบาดที่เกิดจากพืช/สัตว์/ประมง 1. ฝึกซ้อมแผนระดับจังหวัด 2. ฝึกซ้อมแผนระดับอำเภอ 3. สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับภัย ธรรมชาติให้กับกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน 4. สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับภัย ธรรมชาติให้กับผู้บริหาร/พนักงานของท้องถิ่น มาตรการ/แนวทาง 1. ขุดลอกคูคลอง ลำห้วย ลำน้ำ สาขา และแม่น้ำยม 2. ทำนบกั้นน้ำชั่วคราวเพื่อกักเก็บน้ำไว้ใช้ในฤดูแล้ง บริเวณริมแม่น้ำยมและลำน้ำสาขา 3. จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ 4. ฟื้นฟูเยียวยาผู้ประสบภัย 5. การให้ความช่วยเหลือผู้ประสบ ภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินฯ รวม............7..............โครงการงบ.......1,720,000.........บาท รวม...............2.............โครงการงบ.......................78,000.....บาท รวม...........6............โครงการงบ....................2,015,800..บาท รวม.............511..............โครงการงบ..........99,253,438..........บาท รวม...........526..............โครงการงบประมาณ..103,067,238..บาท

  16. คณะที่ 15 กระบวนงาน ป้องกันและแก้ไขปัญหาไฟป่าและหมอกควัน เป้าหมาย 1.Hotspot=0 2.PM 10<120 การประชาสัมพันธ์เชิงรุกกลุ่ม ป้าหมาย การป้องกันและแก้ไข ไฟป่าอย่างเข้มข้น เครือข่ายภาครัฐ ภาคเอกชน เสริมการทำงาน บริหารจัดการแบบบูรณาการ การติดตาม ประเมินผล การทำงาน เชิงพื้นที่ สร้างพลังสังคม พลังชุมชน ร่วมแก้ไขปัญหา กระบวนงาน หลัก : ศูนย์ฯ จังหวัด ทสจ./อนุรักษ์ 13 รอง: ปภ.,ทสจ./แขวงการทาง ทช. หลัก : ปค.อำเภอ/อปท./ ตร.ภ.จว./อสป./ป่าไม้ (ดับไฟป่า) หน่วยต้นน้ำ รอง : หน่วยทหารในพื้นที่ หลัก : ศูนย์ฯ จังหวัด/อำเภอ รอง : สถ.จ./อปท. ตร.ภ.จว./สภ.อ./หน่วย ทหารในพท./กอ.รมน.จ. หลัก : ปชส.จ./อำเภอ, อปท., รอง : สสจ./ทสจ./สพม.37/ สพป.1, 2/อศจ. หลัก : ปค.อำเภอ รอง : สถ.จ./อปท. ตร.ภ.จว./สภ.อ. ผู้รับผิดชอบ หลัก : อุทยานฯ/ปม./ออป. สปก./สถ.จ./ อปท./สนง.กษ.จ. รอง: ปภ./ทสจ./แขวงการทาง ทช. หลัก : ศูนย์ฯ จังหวัด/อำเภอ รอง : ทสจ../อนุรักษ์ 13/ปภ. เป้าหมาย 1. มีแผนปฏิบัติการ โดยบูรณาการทรัพยากรร่วมกัน 2. มีการกำหนดหน้าที่ ความรับผิดชอบของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ชัดเจน มีประสิทธิภาพ 1. กำหนดพื้นที่เป้าหมายทั้งเป้าหมายหลักและเป้าหมายรอง 2. กำหนดการจัดการ ในพื้นที่ 1. ป้องกันและบรรเทาผลกระทบต่อชีวิตและ ทรัพย์สินของประชาชนในพื้นที่ 1. บูรณาการร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง องค์กรเครือข่ายทุกภาคส่วนเพื่อให้การป้องกันและบรรเทาสถานการณ์มีประสิทธิภาพ 1. เผยแพร่ รายงานข่าวสารทุกช่องทาง 1. เสริมสร้างความรู้ รณรงค์สร้างจิตสำนึกให้ประชาชนตระหนักถึงผลกระทบที่ได้รับจากมลพิษหมอกควัน 1. ติดตาม/ตรวจสอบ วิเคราะห์/ประเมินผลและสถานการณ์ในพื้นที่ เพื่อการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัย 1. จัดทำแผนปฏิบัติการป้องกัน และแก้ไขปัญหา ไฟป่าและหมอกควัน .2 ทำ Work Shop ให้เป็นวาระจังหวัดและอำเภอ 3. พัฒนากระบวนการแผนและงบประมาณในระดับต่างๆ 4. กำหนดกลไก เร่งรัดการปฏิบัติงานทุกระดับ .5. บูรณาการการทำงานระหว่างหน่วยงานในพื้นที่ 1.ใช้ข้อมูล Hotspot ที่ผ่าน มา กำหนดพื้นที่เป้าหมายทำงาน (ค่าเฉลี่ย 3 ปี ย้อนหลัง) 2.กำหนดรูปแบบการจัดการ 2.1 พื้นที่เกษตร ไถกลบ โดยใช้เครื่องจักร(เกษตร) 2.2 พื้นที่เมือง ไม่มีการเผาขยะ วัชพืช หญ้าข้างทาง (อปท.) 2.3 พื้นที่ป่า จุดสกัด ตรวจสอบ ไม่ให้คนเข้า เผาป่า ทำแนวกันไฟ จัดการเชื้อเพลิง (อุทยานฯ,ปม.,ออป.,สปก.) 3.ให้นายอำเภอประชุมจัดทีม 4.หน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องลงพื้นที่ดับไฟป่า 1. ตั้งศูนย์ป้องกันฯอำเภอและจังหวัด นายอำเภอเป็น Single command พื้นที่อำเภอ ปภ.เป็นเลขาฯศูนย์จังหวัด 2. จัดชุดปฏิบัติการประจำหมู่บ้านๆละ 15 คน(ผู้มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเผา) เป็นสายตรวจหมู่บ้านปลอดการเผา(นอภ.) 3. มีระบบรับแจ้งข่าวอย่างรวดเร็วและข้อมูล ข่าวสารครบถ้วน/ปัจจุบัน 4. จับกุมผู้กระทำผิดในพื้นที่เพื่อป้องปราม(ตร.) 5. ทุก อปท.จัดชุดเคลื่อนที่เร็วพร้อมอุปกรณ์ออกปฏิบัติงานทันที่เมื่อเกิดไฟไหม้ (นอภ.) 6. พื้นที่การเกษตร มี 3 พื้นที่ได้แก่ในพื้นที่ป่า ในพื้นที่ สปก.และพื้นที่มีเอกสารสิทธิ์ นอภ. ลงพื้นที่ประสานผู้นำในตำบลเสี่ยงต่อการเผาเพื่อสร้างความเข้าใจ ไม่ให้มีการเผา 1. สนธิกำลัง ทหาร ตำรวจ ปภ. อบจ.ทม.เมือง เอกชน มูลนิธิต่าง ๆ 2. พื้นที่เกิด Hotspot มากสั่งชุด จนท.พร้อมอุปกรณ์ ประจำพื้นที่ 3. กำหนดส่วนราชการรับผิดชอบ สนับสนุนนายอำเภอ 4. ชุดพารามอร์เตอร์ สำรวจยืนยันพื้นที่เกิดไฟไหม้จากข้อมูลที่ตรวจพบจุดความร้อน (ตำรวจ) และพื้นที่เกิดไฟไหม้นอกเหนือ จากที่ตรวจพบจุดความร้อน 1.ประชุมชี้แจง กน. ผญบ. กลุ่มเสี่ยงเพื่อขยายผล 2. ใช้วิทยุชุมชน หอกระจายข่าว เสียงตามสายในชุมชนเป็นสื่อหลัก 3. อสม. ทสม. มวลชน เคาะประตูบ้านช่วยเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ ห้ามการเผา 4. เผยแพร่ประกาศไม่ให้เผาป่า 5. จัดรณรงค์ในพื้นที่ที่ตรวจพบ Hotspot เจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครอง และหน่วยงานในพื้นที่พูดคุยกับชาวบ้านทุกจุดที่ตรวจพบ Hotspot 6. เผยแพร่ ให้ความรู้ในสถานศึกษา (อศจ., สพม.37, สพป.1-2) 1. จัดตั้งอาสาสมัครในชุมชนช่วยเหลืองานจ้าหน้าที่ 2. ให้ความรู้ รณรงค์ สร้างความตระหนักและขอความร่วมมือจากประชาชน นักเรียน นักศึกษาและเยาวชน เพื่อเป็นพลังสังคมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาฯ 3. หน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องลงพื้นที่ดับไฟป่าฯ 1. มีระบบรายงานต่อเนื่อง 2. วิเคราะห์สถานการณ์ประจำวันจากข้อมูล Hotspot และ ค่า PM 10 3. แจ้งเตือนหน่วยปฏิบัติทุกวันกรณีที่ตรวจพบ Hotspot และ PM10 เกินค่ามาตรฐาน 4. ประกวดอำเภอ ไม่เผา ดูจากผลการปฏิบัติงานเมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา (ชุมชนมาตรฐาน หมู่บ้านปลอดการเผา) มาตรการ/แนวทาง รวม ........3...........โครงการ รวมงบ ....3,190,000.....บาท รวม -- โครงการ งบ -- บาท รวม -- โครงการ งบ -- บาท จำนวน ........3....................โครงการ งบ .............3,190,000.....บาท รวม -- โครงการ งบ -- บาท วม -- โครงการ งบ -- บาท รวม -- โครงการ งบ -- บาท วม -- โครงการ งบ -- บาท

  17. คณะที่ 16 กระบวนการ ป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในภาครัฐ นโยบายรัฐบาล: ป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในภาครัฐอย่างจริงจัง เป้าประสงค์ : ลดการทุจริตในภาครัฐ และมีภาพลักษณ์ในเรื่องทุจริตดีขึ้น กลยุทธ์ : สร้างจิตสำนึกให้ข้าราชการทุกระดับมีคุณธรรม จริยธรรมและ ผนึกกำลังส่วนราชการในการขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามการทุจริตอย่างเป็นรูปธรรม โดยการมีส่วนร่วมของภาคเอกชนและประชาชน ประธาน : หัวหน้าสำนักงานจังหวัด คณะทำงาน : อัยการ สธ.พมจ.สพป.สถ.กส.ปชส. อำเภอ การค้าภายใน หอการค้า ธรรมาภิบาลจังหวัด เทศบาลเมืองและตำบล ชมรมนายก อบต.สพม.37 สโมสรไลออนส์แพร่ สโมสรโลตารีเวียงโกศัยสโมสรโลตารีแพร่ สโมสรโลตารีสอง อบจ. ชมรมกำนันผู้ใหญ่บ้าน ศูนย์ดำรงธรรม กระบวนงาน การบูรณาการหน่วยงาน และพัฒนาเครือข่าย เสริมสร้างความเข้มแข็ง การสร้างจิตสำนึก การปลูกฝังค่านิยม ลดการทุจริตในภาครัฐ ให้เห็นผล เป้าหมาย มีความรู้ความเข้าใจ ในการบริหารกองทุน การบริหารจัดการกองทุนให้มีประสิทธิภาพ เป็นไปตามเป้าหมาย มีธรรมมาภิบาล สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน 1. สร้างจิตสำนึก พัฒนาเจ้าหน้าที่รัฐทุกระดับให้มีคุณธรรมจริยธรรม 2. ข้าราชการยึดถือ ปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน 3.ปลูกฝังค่านิยมที่ถูกต้องให้แก่นักเรียน นักศึกษา 4. ส่งเสริมให้มีการปฏิบัติงานและดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 5. การยกย่อง ชมเชย คนที่มีความซื่อสัตย์สุจริต 1. บูรณาการทุกภาคส่วนและสร้างความเข้มแข็งให้เครือข่ายด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริต 2. เพิ่มบทบาทภาคประชาชน เข้ามามีส่วนร่วมในการตรวจสอบการทำงานของภาครัฐ 3. ส่งเสริมให้มีการขยายเครือข่ายในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตเพิ่มขึ้น 1. สร้างกลไกและพัฒนาระบบตรวจสอบ ถ่วงดุลการใช้อำนาจของเจ้าหน้าที่รัฐ 2. จัดทำระบบควบคุมภายใน ของส่วนราชการ 3. เผยแพร่เอกสารการจัดซื้อจัดจ้างให้ สาธารณชนทราบ 4. จัดตู้แสดงความคิดเห็นหรือประชาสัมพันธ์ช่องทางในการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ ตัวชี้วัด - ลดการร้องเรียน กรณีการทุจริต - เพิ่มการมีส่วนร่วม ของเครือข่าย ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาค ประชาสังคม มาตรการ/แนวทาง รวม.........12..........โครงการ รวมงบ.........1,805,000.......บาท รวม..................7..................โครงการ งบ..........1,405,000..................บาท รวม..............3.......................โครงการ งบ...................170,๐๐๐..............บาท รวม.................2....................โครงการ งบ..................230,0๐๐..............บาท

  18. กระบวนงาน เสริมสร้างระบบคุณธรรมและนำบริการที่ดี คณะที่ 17 นโยบาย : เสริมสร้างระบบคุณธรรมและนำบริการที่ดีสู่ประชาชนด้วยการ ปรับปรุงระบบบริการประชาชนเชิงรุก โดยใช้เทคโนโลยี เป้าประสงค์ :ความปลอดภัยของผู้ขับขี่รถจักรยานยนต์ กลยุทธ์ :พัฒนาระบบงานบริการให้มีประสิทธิภาพ ประธาน : ขนส่งจังหวัด คณะทำงาน : ปค.สนง.ที่ดิน ท้องถิ่นจังหวัด กฟภ.กปภ.อบจ. เทศบาลเมืองและตำบล โรงพยาบาลจังหวัด ตำรวจภูธร ประกันสังคม จัดหางานจังหวัด ขนส่ง ความปลอดภัยของผู้ขับขี่รถจักรยานยนต์ กระบวนงาน สำรวจพื้นที่เป้าหมาย การพัฒนาเครือข่ายในการลดอุบัติเหตุ ทางถนน การบังคับใช้กฎหมาย ติดตาม/ประเมินผล เป้าหมาย กำหนดพื้นที่เป้าหมาย ผู้ขับขี่รถจักรยานยนต์และ ผู้ซ้อนท้ายในพื้นที่ การบังคับใช้กฎหมาย 100 เปอร์เซ็นต์ จำนวนผู้สวมหมวกนิรภัย มีเพิ่มขึ้น มาตรการ/แนวทาง 1. การสำรวจข้อมูลพื้นฐาน ในการดำเนินงาน ดังนี้ - จำนวนอุบัติเหตุทางถนน - สถานที่เกิดอุบัติเหตุ - สาเหตุ 2. จัดประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนฯ 3. จัดทำแผนบูรณาการของแต่ละหน่วยงาน 1. การอบรมให้ความรู้ 2. ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นต้นแบบการสวมหมวกนิรภัย 3. ดีเดย์วันที่ 17 ก.ค. 56 (6 พื้นที่เป้าหมาย) 4. การทำ MOU ระหว่างพื้นที่เข้าร่วมโครงการกับคณะทำงานขับเคลื่อนฯ 5. การจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมความปลอดภัยทางถนน - การตั้งจุดตรวจกวดขันวินัยจราจร และการให้บริการ • รายงานผลการรณรงค์ สวมหมวกนิรภัยภายในวันที่ • 10 ของทุกเดือน ตัวชี้วัด จำนวนผู้ขับขี่สวมหมวกนิรภัยเพิ่มขึ้น รวม ...........76......โครงการรวมงบ.13,620,056.บาท รวม ............13...... โครงการงบ.......2,080,178..........บาท รวม ............30............ โครงการงบ........4,729,850...........บาท รวม -- โครงการ งบ -- บาท รวม ..............33.......... โครงการรวมงบ............6,810,028....บาท

  19. กระบวนงาน โครงประชาอาสาปลูกป่า 800 ล้านกล้า 80 พรรษา มหาราชินีฯ คณะที่ 18 ติดตาม/ประเมินผล สำรวจพื้นที่เป้าหมาย จัดหา/เตรียมกล้าไม้ ประชาสัมพันธ์/แสวงหาแนวร่วม ดำเนินการปลูก บำรุงรักษาต้นไม้ เป้าหมาย ปลูกป่าได้ 4,500,00กล้า หรือ 30,000 ไร่ กระบวน งาน หลัก : ทสจ.แพร่ รอง : ปกครอง, อำเภอ, สน.จทป.3 สาขาแพร่, สบอ.13, สปก., กษ., สพป.แพร่ เขต 1, 2, สพม.37 หลัก : สน.จทป.3 สาขาแพร่ รอง : สบอ.13, กษ.จ, อำเภอ, ปกครอง, สพป. เขต 1, เขต 2, สพม.37, ทสจ.แพร่ หลัก : สบอ. 13 รอง : สน.จทป.3 สาขาแพร่ทสจ.แพร่, อำเภอ,อบจ.เทศบาล. หลัก : ปกครอง รอง : ประชาสัมพันธ์, แรงงาน, อำเภอ, พาณิชย์, สพป. เขต 1, เขต 2, สพม ๓๗ หลัก : เกษตร รอง : อปท., ทสจ.แพร่, สน.จทป.3 สาขาแพร่, สบอ.13, พด., กษ.จว.,อำเภอ.,ทสม.,สมาชิกองค์กรต่างๆ,หอการค้า,สภาอุตสาหกรรม,,มูลนิธิ,สมาคม หลัก : ท้องถิ่น รอง : สน.จทป.3 สาขาแพร่, สบอ.13, กษ.จ. ผู้รับผิดชอบ มีการรายงานผลยังจังหวัดอย่างต่อเนื่อง กำหนดพื้นที่เป้าหมายเป็นรายแปลง พร้อมระบุพิกัดจำนวน ๑๕,๐๐๐ ไร่ กล้าไม้ จำนวน ๒,๒๕๐,๐๐๐กล้า โครงการประชาอาสาปลูกป่าฯ เป็นที่รู้จักและมีแนวร่วมเข้าร่วมปลูกป่าทั้งจังหวัด 1. สื่อมวลชนเผยแพร่/ประชาสัมพันธ์วันดีเดย์จัดงานปลูกป่า 2. ปลูกป่าได้ทุกพื้นที่เป้าหมายที่กำหนด กล้าไม้มีอัตราการรอดตายไม่น้อยกว่า ร้อยละ 90 เป้าหมาย 1. สำรวจพื้นที่เป้าหมายในการปฏิบัติงาน ดังนี้ - ที่ดินของรัฐ - ที่ดินเอกชน โดยระบุพิกัดให้ชัดเจน ระบบ WGS 84 2. กำหนดพื้นที่เป้าหมาย 3. รวบรวมรายงาน จังหวัด ตรวจสอบ 1. สบอ.13 และ สน.จทป.3 สาขาแพร่ จัดเตรียมกล้าไม้สำหรับการปลูก 2. จัดหากล้าไม้เศรษฐกิจหรือพืชสวน ไม้ผลกินได้ เพื่อปลูกเสริมตามความต้องการของประชาชน 1. จัดหามวลชนร่วมปลูกป่า 2. ดำเนินการประชาสัมพันธ์โครงการ 3. จัดหา บริษัท, ร้านค้า,ภาคอุตสาหกรรม, ภาคเอกชน เข้าร่วมปลูกป่า 4. นำนักเรียนมาร่วมปลูกป่า 5. ขอคืนพื้นที่ราษฎร บุกรุกปลูกข้าวโพด 10% โดยให้ร่วมปลูกป่า 1. กำหนดวันดีเดย์เริ่มต้นปลูก จำนวน 80 วัน (ตั้งแต่วันที่ 25 พ.ค. 56 – 12 ส.ค. 56) 2. จัดหาปุ๋ยเร่ง พด. โดยใช้เศษวัสดุจากข้าวโพดเพื่อนำมารอง ก้นหลุมปลูกต้นไม้ 3. ประชาสัมพันธ์วันจัดกิจกรรมตามโครงการฯ 1. จัดทำโครงการทำความดีถวายสมเด็จพระนางเจ้าฯ และเชิญชวนให้ราษฎร ร่วมกันบำรุงต้นไม้ หลังปลูกได้เดือนครึ่ง และทำการปลูกซ่อม 2. ทำแนวกันไฟก่อนถึงฤดูแล้ง 1 เดือน 3. บำรุงรักษาต้นไม้ต่อเนื่องจนถึงปี 2557 1. ทุกหน่วยงานรายงานผลการดำเนินงานปลูกป่าพร้อมภาพถ่าย 2. ตรวจสอบพื้นที่ปลูกและความสมบูรณ์ต้นไม้ มาตรการ/แนวทาง รวม.....1....โครงการ รวม70,489,312บาท รวม -- โครงการ งบ -- บาท รวม -- โครงการ งบ -- บาท รวม -- โครงการ งบ -- บาท จำนวน.....1.......โครงการ งบ...70,489,712..บาท รวม -- โครงการ งบ -- บาท รวม -- โครงการ งบ -- บาท

  20. กระบวนงาน การประชาสัมพันธ์ คณะที่ 19 หลักการ สร้างความสัมพันธ์และความเข้าใจอันดีของส่วนราชการ กับกลุ่มประชาชนที่เกี่ยวข้อง อย่างมีแบบแผนราบรื่นมีสัมพันธภาพ เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ และให้ความสนับสนุนร่วมมือซึ่งกันและกัน “เมืองแพร่น่าอยู่ ประตูสู่ล้านนา” ระดับเป้าหมาย 1. การตื่นตัวหรือรับรู้ 2. เกิดความรู้หรือ เข้าใจ 3. ให้การสนับสนุน หรือร่วมมือ กระบวนงาน สำรวจรวบรวม แผนงานประชาสัมพันธ์ วิเคราะห์งาน กำหนดขอบเขตจัดหมวดหมู่งาน ประชาสัมพันธ์ เป้าหมาย คณะทำงานขับเคลื่อนประชาสัมพันธ์จังหวัดแพร่ - คณะทำงานขับเคลื่อน ประชาสัมพันธ์จังหวัดแพร่ - หน่วยงานเจ้าของ - คณะทำงานขับเคลื่อน ประชาสัมพันธ์จังหวัดแพร่ - หน่วยงานเจ้าของ -หน่วยงานเจ้าของ 1. ทุกส่วนราชการ 2. อปท 3. แผนระยะสั้น / ระยะยาว 12 1. กำหนดกลุ่มเป้าหมาย 2. กำหนดระดับการบรรลุวัตถุประสงค์ 3. วิเคราะห์ช่องทางที่จะ ประชาสัมพันธ์ 4. กำหนดกิจกรรมที่เหมาะสม 1. ระยะเวลา 2. กำหนดพื้นที่ ในจังหวัด ต่างจังหวัด ท้องถิ่นภาคเหนือ ทั่วประเทศ ต่างประเทศ 3. จัดหมวดหมู่การประชาสัมพันธ์ ที่มีเนื้อหาวัตถุประสงค์ เหมือน คล้าย ใกล้เคียงกิจกรรม วิธีการ เข้าด้วยกัน 4. กำหนดสื่อประชาสัมพันธ์ 5. กำหนด Theme(หัวเรื่อง แก่นสำคัญที่จะประชาสัมพันธ์) 1. Social media (E- mail, Facebook, Twitter, Line, SMS, MMS, อื่นๆ) 2. Mass media (วิทยุ โทรทัศน์เคเบิล หนังสือพิมพ์ ฯลฯ ) 3. สื่อบุคคล ( อป.มช.อสม. อปท. กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน เจ้าอาวาส วัดโรงเรียน ฯลฯ ) 4. สื่ออื่นๆ (ผลิตสื่อกลางแจ้ง สื่อเคลื่อนที่ สื่อสิ่งพิมพ์ ฯลฯ) 5. กิจกรรมพิเศษ (แถลงข่าว ทรรศการ ฯลฯ) มาตรการ/แนวทาง บรรลุวัตถุประสงค์ในระดับเป้าหมาย ไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 60 รวม .............24.............. โครงการงบ................ 1,182,025....บาท รวม -- โครงการ งบ -- บาท รวม -- โครงการ งบ -- บาท รวม -- โครงการ งบ -- บาท รวม .............24........ โครงการงบ.......... 1,182,025....บาท

  21. คณะที่ 20/3 กระบวนงาน เพิ่มผลผลิตและความปลอดภัยของสินค้าเกษตรด้วยเทคโนโลยีนิวเคลียร์ (No Fruit Fly Zone) เป้าหมาย 1. คุณภาพผลิตผล การเกษตรสูงขึ้น ๒. ลดการกีดกันทาง การค้าระหว่าง ประเทศ ๓. เพิ่มรายได้ให้แก่ เกษตรกรใน จังหวัด กระบวนงาน การศึกษาความเหมาะสมของพื้นที่ กำหนดพื้นที่เป้าหมาย และสร้างโรงผลิตแมลงวัน กำหนดแผนการปล่อยแมลงวันที่เป็นหมัน การประชาสัมพันธ์โครงการฯ การถ่ายทอดเทคโนโลยีโครงการฯ วท.> สทน. จ.แพร่> คณะประสานงานและขับเคลื่อนโครงการฯ วท.> สทน. จ.แพร่> คณะประสานงานและขับเคลื่อนโครงการฯ วท.> สทน. จ.แพร่> ๑. เกษตรกรในพื้นที่เป้าหมายโครงการฯ ๒. สนง.เกษตร จ.แพร่ และเกษตรอำเภอทุกอำเภอ วท.> สทน. จ.แพร่> สนง.พาณิชย์ จ.แพร่, หอการค้า จ.แพร่, สภาอุตสาหกรรม จ.แพร่ , สนง.ประชาสัมพันธ์ จ.แพร่, สื่อมวลชนทั้งในระดับจังหวัดและระดับประเทศ วท.> สทน. จ.แพร่> สนง.เกษตร จ.แพร่, ศุนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรแพร่, ม.แม่โจ้แพร่, ว.เกษตรและเทคโนโลยีแพร่, ว.เทคนิคแพร่, ว.การอาชีพทุกแห่ง ผู้รับผิดชอบ ๑. ลงพื้นที่ เพื่อรวบรวม ข้อมูล ศึกษาความ เหมาะสมและเตรียมการ สร้างศูนย์ผลิตแมลงวัน ผลไม้ ๒. สทน. ร่วมกับ คณะประสานงานฯ พิจารณาข้อมูลตาม ข้อ ๑ ๑. สร้างความเชื่อมั่นในผลิตผลทางการเกษตร/คุณภาพ/ความปลอดภัย แก่ลูกค้าทั้งในประเทศและต่างประเทศ ๒. หาช่องทางการกระจายสินค้าทั้งทั้งในประเทศและต่างประเทศ ๓. การติดตามผลการ ดำเนินงาน ๑. ถ่ายทอดเทคโนโลยีการควบคุมแมลงวันผลไม้โดยการใช้แมลงที่เป็นหมัน ให้ส่วนราชการและสถาบันการศึกษาในจังหวัด ๒. การติดตามผลการดำเนินงาน ๑. การสำรวจข้อมูลแมลงในพื้นที่ดำเนินโครงการฯ ๒. การปล่อยแมลงวันในพื้นที่เป้าหมาย ร่วมกับการวางกับดักแมลง ๓. การวางระบบตรวจสอบติดตามประชากรแมลงในพื้นที่ ๔. สรุปผลการดำเนินงาน ๑. ขับเคลื่อนโครงการฯ กำหนดแนวทางดำเนินการ ๒. การก่อสร้างศูนย์ผลิตแมลงวัน ๓. การผลิตและขยายจำนวนแมลงวัน มาตรการ/แนวทาง - ไม่ใช้งบประมาณดำเนินการ ๑. วท ๑ โครงการ งบ ๗๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท ๒. จ.แพร่ - โครงการ งบ - บาท ๑. วท ๑ โครงการ งบ ๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท ๒. จ.แพร่ - โครงการ งบ - .บาท ๑. วท - โครงการ งบ - .บาท ๒. จ.แพร่ - โครงการ งบ - .บาท ๑. วท - โครงการ งบ - .บาท ๒. จ.แพร่ - โครงการ งบ - .บาท ๑. วท.....2......โครงการ งบ...74,000,000....บาท ๒. จ.แพร่ - โครงการ งบ - .บาท

  22. กำหนด Area อำเภอคู่แฝด ขับเคลื่อน Positioning ของจังหวัด การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ในจังหวัดแพร่

  23. กระบวนงาน ยกระดับสินค้าการเกษตรและเข้าถึงแหล่งเงินทุน คณะที่ 4 นโยบายรัฐบาล : ยกระดับสินค้าเกษตรและให้เกษตรเข้าถึงแหล่งเงินทุน เป้าประสงค์ : ส่งเสริมอาชีพตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ขยายผลโครงการตามพระราชดำริและยกระดับราคาสินค้าเกษตรให้ได้มาตรฐาน กลยุทธ์: เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตด้านการเกษตรและรณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ปลอดภัยในการผลิตและบริโภค ประธาน : เกษตรและสหกรณ์จังหวัด คณะทำงาน : กษจ.ปมจ. ปม.น้ำจืด ปศจ. สหกรณ์, พด. ธกส.ศวพ.ศวข.ศมข.ตชส.สปก.ชป. ส่งน้ำแม่ยม ทดสอบพันธุ์สัตว์ ศูนย์หมอนไหมฯ สนง.หม่อนไหม อาหารสัตว์ ท้องถิ่นพาณิชย์ การค้าภายใน 1. ข้าวและโคเนื้อได้มาตรฐานและมีความ ปลอดภัย ๒. สามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนได้มากขึ้น ๓. มีรายได้เพิ่มขึ้น กระบวนงาน คัดเลือกเกษตรกร และพื้นที่ที่เหมาะสม เตรียมความพร้อม/ ปัจจัยการผลิต และแหล่งเงินทุน ดำเนินการผลิตให้ได้มาตรฐานและปลอดภัย สร้างมูลค่าเพิ่มผลผลิต สร้างความมั่นคงด้านตลาด เป้าหมาย ๑. ผู้ผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว ๑,๐๐๕ ราย/๗,๓๓๐ ไร่ ๒. ผู้ผลิตข้าว ๑,๔๕๕ราย/ ๑๑,๑๗๗ ไร่ ๓. ผู้เลี้ยงโคเนื้อ ๒,๓๕๗ ราย/๑๐,๑๔๑ ตัว 1. เกษตรกรเข้าถึงแหล่งเงินทุน ๒. จัดหาเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์ดีแก่เกษตรกร ๑๘.๕๓๐ ตัน ๓. จัดหาลูกโคพันธุ์ผสมโดยการผสมเทียมแม่โค ๕,๐๐๐ ตัว น้ำเชื้อแช่แข็ง ๗,๕๐๐ โด๊ส ๔. ส่งเสริมการปรับปรุงบำรุงดิน๒,๔๖๐ ราย๑๘,๕๐๗ไร่ ๑. เมล็ดพันธุ์ข้าว ๔,๕๖๐ ตัน๒. ข้าวเปลือก GAP ๕,๗๖๕ ตัน ๓. โคเนื้อคุณภาพดี (Premium grade) ๑,๒๐๐ ตัว ๔. โคเนื้อปลอดภัย (GAP) ๑,๕๐๐ ตัว ๑. เมล็ดพันธุ์ข้าว ๔,๕๖๐ ตัน มูลค่า ๑๑๔ ล้านบาท ๒. ข้าวเปลือก GAP ๓,๖๙๐ ตัน มูลค่า ๑๔๗.๖ ล้านบาท ๓. โคเนื้อคุณภาพดี ๓๐ ล้านบาท ๔. โคเนื้อปลอดภัย ๒๗ ล้านบาท ๑. ขยาย/เพิ่มช่องทาง การตลาด๓ ช่องทาง ๒. ประชาสัมพันธ์เชิงรุก ตัวชี้วัด ๑. เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ ๙๐ มีรายได้เพิ่มขึ้น ๒. เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ ๖๐ สามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุน ๑. คัดเลือกพื้นที่ที่เหมาะสม (Zonning) ๒. คัดเลือกเกษตรกรที่มีความพร้อมและสมัครใจเข้าร่วมโครงการ ๑. รวบรวมผลผลิต (ข้าว/โคเนื้อ) ในรูปสหกรณ์เพื่อสร้าง อำนาจในการต่อรองด้าน การตลาด ๒. ปรับปรุงสภาพเมล็ดพันธุ์ข้าว ๓. ส่งเสริมพัฒนาบรรจุภัณฑ์ ๔. แปรสภาพข้าวเปลือกเป็น ข้าวสารเพื่อการจำหน่าย ๑. จัดทำ Contact farming ๒. จัดทำ MOU กับสหกรณ์และคู่ค้า ๓. พัฒนาศูนย์กระจายสินค้าสหกรณ์ ระดับจังหวัด/ประเทศ ๔. การบริหารจัดการด้านการตลาด ภายใน/ต่างประเทศ ๕. การกระจายสินค้าและ โลจิสติกส์ ภายใน/ภายนอก ๖. สร้างเครือข่ายการผลิตและการตลาด ๑. ส่งเสริมการผลิตตามระบบ GAP ๒. ส่งเสริมการบริหารจัดการ ศัตรูพืชและสัตว์ ๓. ส่งเสริมกระบวนการเก็บเกี่ยว อย่างถูกต้องและเป็นระบบ 6. ปรับปรุงรางระบายน้ำข้างถนนหลัก มาตรการ/แนวทาง ๑. การเพิ่มโอกาสด้านเงินทุนผ่านสถาบันที่สนับสนุนเงินทุนทางการเกษตรแก่เกษตรกร ๒. จัดหาเมล็ดพันธุ์ดีและโคเนื้อพันธุ์ดีแก่ เกษตรกร ๓. ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตแก่เกษตรกร ๔. ส่งเสริมการใช้ปุ๋ยอินทรีย์และพืชอาหารสัตว์เพื่อลดต้นทุนการผลิต ๕. ตรวจสอบแหล่งที่มาและคุณภาพเมล็ดพันธุ์ข้าวและโคเนื้อพันธุ์ดี ๕. การบริหารจัดการน้ำ รวม -- โครงการ งบ -- บาท รวม...........27...........โครงการ งบ.........13,613,775..บาท รวม.............6..........โครงการ งบ.........6,197,330....บาท รวม.............2...............โครงการ งบ.........66,458,000....บาท รวม............1............โครงการ งบ...........9000000...บาท รวมทั้งหมด.....36........โครงการ รวมงบ...95,269,105..บาท

  24. กระบวนงาน การท่องเที่ยว คณะที่ 5 หลักการ เปลี่ยนการเป็นแค่เมืองผ่านไม่เห็นมีอะไร เป็นเมืองที่น่าท่องเที่ยว มีเสน่ห์หลากหลาย มีอดีตน่าจดจำ (ธรรมชาติ ประวัติศาสตร์ วิถีชีวิตประเพณีและวัฒนธรรม) ประธาน : ท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดแพร่ คณะทำงาน: นายกสมาคมธุรกิจท่องเที่ยว,ททท.แพร่,สนจ.,วัฒนธรรม.,สธ.,สนง.พระพุทธศาสนา.,ประชาสัมพันธ์,สถ.,อบจ.,เทศบาลเมืองและตำบล เป้าหมาย เพิ่มรายได้จากการท่องเที่ยว 3๐ % จากปี ๒๕๕๕ กระบวนงาน อำนวยการ การตลาด โฆษณา/ประชาสัมพันธ์ กิจกรรมพิเศษ เป้าหมาย คณะทำงานขับเคลื่อนประชาสัมพันธ์จังหวัดแพร่ - คณะทำงานขับเคลื่อน ประชาสัมพันธ์จังหวัดแพร่ - หน่วยงานเจ้าของ - คณะทำงานขับเคลื่อน ประชาสัมพันธ์จังหวัดแพร่ - หน่วยงานเจ้าของ -หน่วยงานเจ้าของ มาตรการ/แนวทาง ๑. Rebranding ให้มีภาพลักษณ์ทิศทาง เป้าหมาย ทันสมัย น่าสนใจ ๒. ประกาศวาระจังหวัด สร้างคนแพร่น่ารัก ๓. รณรงค์ให้ชาวแพร่สร้างความภาคภูมิใจเป็นเจ้าบ้านที่ดี เปิดเมืองต้อนรับนักท่องเที่ยว ๔. บูรณาการความร่วมมือทุกหน่วยด้านงบประมาณ/การปฏิบัติ ทั้งในจังหวัด/ส่วนกลาง ๕. ส่งเสริมพัฒนาการบริการและอำนวยการด้านการท่องเที่ยว ๑. กลุ่มเป้าหมาย - ท้องถิ่น (ภาคเหนือ) - ในประเทศ - ต่างประเทศ ๒. คิดจากกลุ่ม Product ทั้งของเดิม/แปลกใหม่ ๓. จัด Event ตลอดปี ๔. เชิญบริษัทนำเที่ยว มาเข้าร่วมกิจกรรม 1. จังหวัดกำหนด Main Theme ๒. เน้นประชาสัมพันธ์ Social Network เป็นหลัก โฆษณาเป็นปัจจัยเสริม ๓. สื่อมวลชนท้องถิ่น/ภูมิภาค/ประเทศ ๑. ปฏิทินการท่องเที่ยว ๒. ปรับงานสำคัญในจังหวัด ให้ยิ่งใหญ่ ๓. ปรับปรุงแหล่งท่องเที่ยว ที่มีศักยภาพให้มีมาตรฐาน ความพร้อม ๔. สร้างเส้นทางการท่องเที่ยวและการท่องเที่ยวแบบเชื่อมโยง รวม................9.............โครงการงบ............2,524,333..........บาท รวม...........11..................โครงการงบ..........16,215,000.........บาท รวม...............5.................โครงการงบ..........386,666.............บาท รวม...............42..............โครงการงบ.........43,080,000...........บาท รวม.................67...........โครงการ รวมงบ........62,205,999....บาท

  25. กระบวนงานการดำเนินแผนงานไม้สัก จังหวัดแพร่ คณะที่ 20/1 กระบวนงาน การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ เป้าหมาย ๑. การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศในด้านการแปรรูปผลิตภัณฑ์ไม้สัก เพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ๒. สร้างอาชีพ และเพิ่มรายได้ให้แก่ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมไม้ในระดับจังหวัดและระดับประเทศ ๓. ส่งเสริมการปลูกป่าทดแทนอย่างยั่งยืน ปลูก ดูแลรักษา และฟื้นฟู พัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ไม้แปรรูปและไม้สัก การตลาด การสร้างตราสินค้า/ผลิตภัณฑ์ และการจัดส่ง/กระจายสินค้า ผู้รับผิดชอบ วท.> สวทช. จ.แพร่> ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงาน/วิทยาลัยชุมชนแพร่ หน่วยงานอื่นๆ> มหาวิทยาลัย ภาคเอกชน และหน่วยงานวิจัยอื่นๆ วท.> สวทช., สทอภ. จ.แพร่> ทสจ.แพร่/สำนักส่งเสริมไม้เศรษฐกิจแพร่/ วิทยาลัยชุมชนแพร่ หน่วยงานอื่นๆ> มหาวิทยาลัย ภาคเอกชน และหน่วยงานวิจัยอื่นๆ วท.> สวทช. จ.แพร่> ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงาน/วิทยาลัยชุมชนแพร่/ สำนักส่งเสริมไม้เศรษฐกิจแพร่ หน่วยงานอื่นๆ> มหาวิทยาลัย ภาคเอกชน วท.> สวทช. จ.แพร่> สนง.พาณิชย์ จ.แพร่, หอการค้า จ.แพร่, สภาอุตสาหกรรม จ.แพร่ ,สำนักงานจังหวัดแพร่, สื่อมวลชนทั้งในระดับจังหวัดและระดับประเทศ มาตรการ/แนวทาง ๑. สำรวจตลาดผลิตภัณฑ์ไม้สักในและต่างประเทศ (ปี ๕๖) ๒. ฝึกอบรมการตลาดยุคใหม่ และศึกษาดูงานการออกแบบ ผลิตภัณฑ์ ๓. จัด Designer Camp เพื่อ พัฒนาศักยภาพด้านการ ออกแบบผลิตภัณฑ์ของนัก ออกแบบในพื้นที่ ๔. จัดทำฐานข้อมูลและเครือข่าย ของผู้ประกอบการแปรรูปไม้สัก ๑. การสำรวจข้อมูลและวางแผน ๒. การกำหนดแนวทางลดการ ระบาดและป้องกันหนอน ผีเสื้อเจาะไม้สัก ๓. วางแนวทางการบริหาร จัดการป่าสักสวนปลูกที่มี ประสิทธิภาพ ๔. การพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ เชิงประวิติศาสตร์และการ ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ๑. การปรับปรุงกระบวนการผลิต ไม้ท่อนแปรรูปที่มี ประสิทธิภาพ และมีคุณภาพสูงขึ้น ๒. การพัฒนาความสามารถด้าน เทคโนโลยีการผลิตของ ผู้ประกอบการท้องถิ่น 3. กำหนดมาตรฐานสินค้า สร้างแบรนด์ของจังหวัด ๑. พัฒนาช่องทางการตลาด ภายในประเทศ และ ประชาสัมพันธ์ ๒. ปรับปรุงศูนย์ขายและระบบ ขนส่งกระจายสินค้า ๑. วท - โครงการ งบ - .บาท ๒. จ.แพร่ - โครงการ งบ - .บาท ๑. วท...............15......... โครงการ งบ......๑3,700,000.............บาท ๒. จ.แพร่.......๑.................โครงการ งบ.....๓๐,๐๐๐,๐๐๐.........บาท ๑. วท ................................โครงการ งบ....1๑,000,000....บาท ๒. จ.แพร่........๑............ โครงการ งบ.....๔๐๐,๐๐๐........บาท 1. วท................................โครงการ งบ....13,800,000.....บาท ๒. จ.แพร่ - โครงการ งบ - .บาท 1. รวม วท ........15........โครงการ รวมงบ...38,500,000.....บาท 2. รวม พร.......2........โครงการรวมงบ...30,400,000.........บาท

  26. กระบวนงาน ป่าเศรษฐกิจ คณะที่ 20/2 เป้าหมาย ๑. การเปลี่ยนพื้นที่ที่ไม่ใช้ประโยชน์และป่าเสื่อมโทรมให้เป็นป่าเศรษฐกิจ ๒. สร้างอาชีพ และเพิ่มรายได้ให้แก่เกษตรกรในระดับจังหวัดและระดับ ประเทศ กระบวนงาน กำหนดพื้นที่นำร่องหรือพื้นที่ขยายผล กำหนดแผนการเพาะปลูก การปลูกและการดูแลรักษา การพัฒนาคุณภาพผลผลิต การตลาดและการประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์ วท.> สวทช. จ.แพร่>คณะทำงานขับเคลื่อนพื้นที่นำร่องและขยายผลโครงการฯ ระดับอำเภอ และระดับจังหวัด วท.> สวทช. จ.แพร่> คณะทำงานขับเคลื่อนพื้นที่นำร่องและขยายผลโครงการฯ ระดับอำเภอ และระดับจังหวัด วท.> สวทช. จ.แพร่> ๑. เกษตรกรที่มีศักยภาพใน พื้นที่และสมัครใจเข้าร่วม โครงการฯ ๒. สนง.เกษตร จ.แพร่ และ เกษตรอำเภอทุกอำเภอ วท.> สวทช. , สทน. จ.แพร่> ๑. เกษตรกรที่มีศักยภาพใน พื้นที่และสมัครใจเข้าร่วม โครงการฯ ๒. สนง.เกษตร จ.แพร่ และ เกษตรอำเภอทุกอำเภอ วท.>สวทช. จ.แพร่> สนง.พาณิชย์ จ.แพร่, หอการค้า จ.แพร่, สภาอุตสาหกรรม จ.แพร่ ,สื่อมวลชนทั้งในระดับจังหวัดและระดับประเทศ ผู้รับผิดชอบ ๑. ประชุมคณะทำงานฯ ระดับอำเภอ เพื่อกำหนดพื้นที่ ๒. เสนอพื้นที่ที่คัดเลือกให้คณะทำงานฯ ระดับจังหวัดพิจารณา ๑. ตรวจสอบคุณภาพผลผลิต ๒. ให้คำแนะนำในการพัฒนา/รักษาคุณภาพผลผลิต และการแปรรูป ๓. การติดตามผลการดำเนินงาน ๑. การสร้างมูลค่าเพิ่มผลผลิตการเกษตร การสร้างแบรนด์ และสร้างห่วงโซคุณค่าสินค้าเกษตร ๒.สร้างความเชื่อมั่นในผลิตผลทางการเกษตร/คุณภาพ/ความปลอดภัย แก่ลูกค้าทั้งในประเทศและต่างประเทศ ๓. หาช่องทางการกระจายสินค้าทั้งทั้งในประเทศและต่างประเทศ ๔. การติดตามผลการดำเนินงาน 1.จัดทำภาพถ่ายดาวเทียม ข้อมูลดิน น้ำ และการโซนนิ่งพื้นที่ 2.จัดอบรมการคัดพันธุ์และขยายพันธุ์ การปลูกและการดูแลไม้เศรษฐกิจ 3.คัดพันธุ์และขยายพันธุ์ 4.จัดทำแปลงต้นแบบและแปลงขยายพันธุ์ไม้เศรษฐกิจผสมผสาน 5. จัดตั้งเครือข่ายการขยายพันธุ์ไม้เศรษฐกิจ 6. การติดตามผลการดำเนินงาน ๑. ประชุมคณะทำงานฯ ระดับอำเภอ เพื่อกำหนดแผนการเพาะปลูก ร่วมกับ สวทช. ๒. เสนอแผนฯ ให้คณะทำงานฯ ระดับจังหวัดพิจารณา มาตรการ/แนวทาง 1. วท..........................๑...................................โครงการ งบ................๕,๐๐๐,๐๐๐..................................บาท ๒. จ.แพร่...............................๑........................โครงการ งบ.................๔๐๐,๐๐๐...................................บาท 1. วท...............๑................................โครงการ งบ..............๔๘๐,๐๐๐,๐๐๐ ...............บาท ๒. จ.แพร่..........๑................................โครงการ งบ..............๓๓,๑๐๐,๐๐๐.....................บาท 1. วท.........2................โครงการ งบ......๔๘5,๐๐๐,๐๐๐ .......บาท ๒. จ.แพร่....2................โครงการ งบ....๓๓,5๐๐,๐๐๐............บาท

More Related