1 / 43

BM624 Derivatives and Corporate Risk Management Part 2

BM624 Derivatives and Corporate Risk Management Part 2. ดร.กิตติพันธ์ คงสวัสดิ์เกียรติ. สิทธิเรียกร้อง (Contingent Claim). เป็นกลุ่มของอนุพันธ์ประเภทหนึ่งที่จะเกิดการหักลบส่วนได้เสียกัน ต่อเมื่อแหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องได้กำหนดกันไว้ล่วงหน้า ส่วนใหญ่จะเรียกอนุพันธ์ประเภทนี้ว่า ออปชัน (Option).

yardley
Download Presentation

BM624 Derivatives and Corporate Risk Management Part 2

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. BM624 Derivatives and Corporate Risk ManagementPart 2 ดร.กิตติพันธ์ คงสวัสดิ์เกียรติ

  2. สิทธิเรียกร้อง (Contingent Claim) • เป็นกลุ่มของอนุพันธ์ประเภทหนึ่งที่จะเกิดการหักลบส่วนได้เสียกัน ต่อเมื่อแหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องได้กำหนดกันไว้ล่วงหน้า ส่วนใหญ่จะเรียกอนุพันธ์ประเภทนี้ว่า ออปชัน (Option)

  3. Option • เครื่องมือทางการเงินที่จะให้สิทธิแก่ผู้ถือครอง (ที่ไม่ใช่ภาระผูกพัน) ในการที่จะตัดสินใจ ซื้อหรือไม่ซื้อ ขายหรือไม่ขาย สินทรัพย์อ้างอิง ในราคาและระยะเวลาที่กำหนด

  4. Options Contracts • เป็นสัญญาสิทธิ แต่ไม่เป็นข้อผูกมัดหรือภาระ ที่ให้สิทธิในการซื้อ (Buy or Call) หรือสิทธิในการขาย (Sell or Put) โดยอาศัยเครื่องมือทางการเงินเป็นหลักประกัน (Underlying Assets) ตามราคาที่ตกลงกันว่าจะซื้อหรือขายในอนาคต (Strike Price or Exercise Prices) ตามระยะเวลาที่ได้กำหนดไว้ (Expiry Date)

  5. Exchange Traded ตราสารอนุพันธ์ (Derivatives) ตราสารสิทธิ (Options) ตราสารล่วงหน้า (Futures) การซื้อขายกระทำโดยเปิดเสรีในตลาดตราสารล่วงหน้า OTC ตราสารอนุพันธ์ (Derivatives) ตราสารล่วงหน้า (Forwards) ตราสารสิทธิ (Options) Swaps การซื้อขายกระทำโดยการตกลงเป็นการส่วนตัว Exchange Traded & OTC

  6. Exchange Traded & OTC Exchange Traded สัญญามีมาตรฐานกำหนด และมีการเผยแพร่อย่างเปิด เผย ราคากำหนดและซื้อขาย อย่างโปร่งใส OTC สัญญาไม่มีมาตรฐาน กำหนด ราคากำหนดและซื้อขาย อย่างไม่โปร่งใส

  7. Exchange Traded ผู้ซื้อขายในตลาดซื้อขายโดย ไม่รู้จักกัน มีชั่วโมงการซื้อขายแน่นอน สัญญาซื้อขายและส่งมอบได้ ง่าย OTC ผู้ซื้อขายในตลาดรู้จักซึ่งกัน และกัน ไม่มีการกำหนดชั่วโมงการซื้อ ขาย สัญญาซื้อขายและส่งมอบได้ ยาก Exchange Traded & OTC

  8. Exchange Traded สัญญาจำนวนน้อยที่ต้องมี การซื้อขายจริง OTC สัญญาจำนวนมากจะต้องมี การซื้อขายจริง Exchange Traded & OTC

  9. ประโยชน์ของผู้ซื้อขาย Option ในตลาด • ป้องกันความเสี่ยง (Hedging & Protecting) ของการเคลื่อนไหวของราคาในอนาคต • เก็งกำไร (Speculating) ของการขึ้นลงของราคาในตลาด • เพิ่มโอกาสในการทำ Arbitrage ระหว่างเครื่องมือและตลาดในอนาคต

  10. Options • Interest Rates • Options on interest rate futures • Options on FRAs – interest rate guarantee • Option on interest rate swaps – Swaptions • Currency • Options on Cash • Options on Currency Futures

  11. Options • Equity • Options on individual equities • Options on stock index futures • Commodities • Options on Physicals • Options on Commodity Futures

  12. Option • Option ที่ให้สิทธิแก่ผู้ถือครองในการซื้อ เรียกว่า คอลออปชัน (Call Option) และ Option ที่ให้สิทธิแก่ผู้ถือครองในการขายเรียกว่า พุทออปชัน (Put Option)

  13. Exercise Price • Exercise Price หรือ Strike Price เป็นราคาที่กำหนดในการซื้อหรือขายสินทรัพย์อ้างอิง โดยที่ผู้ถือครองออปชันจะใช้สิทธิในการเลือกใช้สิทธิในการซื้อหรือขายสินทรัพย์อ้างอิงดังกล่าว เมื่อได้ประโยชน์จากการใช้สิทธินั้น

  14. Call Options • การซื้อสิทธิในการที่จะซื้อสินทรัพย์ในอนาคต เรียกว่า Buy a Call • การขายสิทธิในการที่จะซื้อสินทรัพย์ในอนาคต เรียกว่า Sell a Call • โดยที่ผู้ซื้อนั้นจะเป็น Holder และผู้ขายเป็น Writer หรือ Grantor

  15. Put Options • การซื้อสิทธิในการที่จะขายสินทรัพย์ในอนาคต เรียกว่า Buy a Put • การขายสิทธิในการที่จะขายสินทรัพย์ในอนาคต เรียกว่า Sell a Put • โดยที่ผู้ซื้อนั้นจะเป็น Holder และผู้ขายเป็น Writer หรือ Grantor

  16. Call Options • Buyer or Holder Long Call มีสิทธิ แต่ไม่ใช่ข้อผูกมัด ในการที่จะซื้อหลักทรัพย์ในอนาคต ที่ราคา Strike Price ถ้า Call Option นั้น Exercised • Seller or Writer Short Call มีข้อผูกมัดที่จะต้องขายหลักทรัพย์ที่ได้ตกลงกันไว้ล่วงหน้าตามราคา Strike Price ถ้า Holder ตัดสินที่จะซื้อ

  17. Put Options • Buyer or Holder Long Put มีสิทธิ แต่ไม่ใช่ข้อผูกมัด ในการที่จะขายหลักทรัพย์ในอนาคต ที่ราคา Strike Prices ถ้า ญPut Option นั้น Exercised • Seller or Writer Short Put มีข้อผูกมัดที่จะต้องซื้อหลักทรัพย์ที่ได้ตกลงกันไว้ล่วงหน้าตามราคา Strike Price ถ้า Holder นั้นตัดสินที่จะขาย

  18. Naked Option • บางครั้งจะเรียกว่า Uncovered Option เพราะเป็นการที่ผู้ขาย Option (Writer) นั้น ไม่ได้ถือสินทรัพย์ดังกล่าวอยู่ในมือของตนเอง

  19. Call and Put Buyers จ่ายค่า Premium Option มีสิทธิในการซื้อหรือขาย หลักทรัพย์ ถ้าต้องการ กระทำตามสัญญาสิทธิ แต่ ไม่เป็นข้อผูกมัด ไม่ต้องจ่ายค่า Margin Call and Put Sellers รับค่า Premium Option เป็นข้อผูกมัดที่จะต้องซื้อ หรือขายหลักทรัพย์ ตามที่ ได้ตกลงกันไว้ล่วงหน้า ต้องจ่ายค่า Margin Option Positions

  20. Option Styles • American Option เป็นสัญญาสิทธิที่ให้สิทธิผู้ถือที่สามารถจะซื้อหรือขายสินทรัพย์ตามสัญญาสิทธิ (Exercise) นั้นได้ก่อนวันที่จะครบกำหนด (Expiry Date) • European Option เป็นสัญญาสิทธิที่ให้สิทธิผู้ถือที่สามารถจะซื้อหรือขายสินทรัพย์ตามสัญญาสิทธิในวันที่ครบกำหนดตามสัญญาเท่านั้น

  21. Option Styles • Pseudo-American Option เป็น Option ที่ให้สิทธิแก่ผู้ถือครองในการเลือกใช้สิทธิได้ในช่วงเวลาที่กำหนดเช่น ถ้ากำหนดอายุของสัญญา 1 ปี อาจกำหนดให้ใช้สิทธิได้ทุกสิ้นไตรมาสเป็นต้น (ดังนั้น 1 ปี สามารถใช้สิทธิได้ 4 ครั้ง)

  22. Option Styles • Exotic Option เป็นสัญญาสิทธิที่มีความซับซ้อมมากกว่าการเป็นแค่เพียง Call หรือ Put เท่านั้น ในทางธุรกิจสัญญาสิทธิประเภทนี้จะมีข้อกำหนดอื่น ๆ เพิ่มเติมขึ้น เช่น Asian Option

  23. Buyer / Holder • มีสิทธิในการซื้อ (Call Option หรือ to go long) และมีสิทธิในการขาย (Put Option หรือ to go short) แต่ไม่เป็นภาระบังคับที่จะต้องทำตามสัญญา • ผู้ซื้อสัญญาสิทธิจะต้องจ่ายค่า Premium • การทำการ Exercise นั้นขึ้นอยู่กับการตัดสินใจของผู้ซื้อ หรือผู้ถือสัญญาสิทธิ

  24. Buyer / Holder • โอกาสขาดทุนสูงสุด คือ ต้นทุนสำหรับค่า Premium • โอกาสที่จะทำกำไรได้มากสุดนั้น ไม่มีขีดจำกัด (Unlimited Profits) • หากไม่ดำเนินการซื้อขายใด ๆ ณ วันสิ้นสุดตามสัญญา มูลค่าของ Option นั้นจะกลายเป็นศูนย์

  25. Seller / Writer • การรับซื้อหรือขายตามสัญญาสิทธินั้นเป็นภาระที่ผู้เขียนหรือผู้ออกจำหน่าย Option นั้น จะต้องทำการรับผิดชอบ (ไม่มีสิทธิในการเลือกใด ๆ) • ผู้ขายสัญญาสิทธิจะได้รับค่า Premium • การทำการ Exercise นั้นผู้ขายหรือผู้ออกสัญญาสิทธินั้น ไม่มีอิทธิพลใด ๆ ในการตัดสินใจ

  26. Seller / Writer • โอกาสขาดทุนสูงสุดนั้น ไม่มีขีดจำกัด (Unlimited Profits) • โอกาสที่จะทำกำไรได้มากสุดนั้น คือ ราคาค่า Premium • หากไม่ดำเนินการซื้อขายใด ๆ ณ วันสิ้นสุดตามสัญญา ผู้ออกขาย Option จะเก็บค่า Premium ไป

  27. ทำไม Holder และ Writer ต้องใช้ Options • Hedgers • เป็นการดำเนินการเช่นเดียวกับการทำการปกป้องความเสี่ยงในเครื่องมือการเงินล่วงหน้า เพราะการทำ Option นั้น คือ ทำเพื่อการบริหารความเสี่ยงอันที่จะเกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงของราคาสินทรัพย์ในอนาคต โดยต้องลดความเสี่ยงอันจะเกิดขึ้นนั้นโดยการทำการป้องกันความเสี่ยงโดยใช้ Option

  28. ประเภทของ Option Writer • ประเภทของ Option Writer นั้นมี 5 ประเภท คือ • Market-Makers • Producers • Consumers • Speculators • Arbitrageurs

  29. Market-Makers • เป็นผู้เล่นที่ทำการบริหารความเสี่ยงโดยการขายและซื้อ Option ภายในตลาดเดียวกัน แต่กำหนดราคาเป็นสองทาง โดยอาศัยการทำกำไรจำนวนเล็กน้อยจากช่วงต่างของราคาของ Option โดยที่ Market-Makers นั้นมึความต้องการที่จะทำการซื้อขายกับ Market-Makers คนอื่น ๆ มากกว่านักลงทุนประเภทอื่น ๆ

  30. Producers • เป็นผู้เล่นที่ ถ้าทำการขาย Call Option นั้นจะหมายความว่า ผู้เล่นนี้จะมีสินทรัพย์ที่อยู่ในมือ เพื่อรอจำหน่ายเมื่อวันครบกำหนดตามสัญญา ถ้าในอนาคตราคาของสินค้านั้นถูกลง ผู้ที่ซื้อ Call Option ไปนั้นจะไม่ทำการ Exercise จะทำให้ Producer ได้รับกำไรจากค่า Premium แต่ถ้าราคากลับเป็นสูงขึ้น Producers จะขาดทุนจากการออกจำหน่าย Option นั้นเท่ากับความแตกต่างในราคาของสินทรัพย์ที่กำหนดตามสัญญา และราคาที่เป็นจริงในตลาด

  31. Consumers • เป็นผู้เล่นที่จะทำการขาย Put Option เพื่อที่ Consumers จะต้องรับภาระในการซื้อสินทรัพย์ในอนาคต เทื่อครบกำหนดเวลา ถ้าราคาในตลาดของสินทรัพย์นั้นมีราคาสูงขึ้นในอนาคต ผู้ถือ Put Option จะไม่ทำการ Exercise เพราะขายในตลาดจะได้ราคาสูงกว่า ดังนั้น Consumers จะได้กำไรจากค่า Premium แต่ถ้าราคาสินทรัพย์นั้นลดลงในอนาคต ผู้ถือ Put Option จะใช้สิทธิตามสัญญา ดังนั้น Consumers จะต้องทำหน้าที่ในการรับซื้อสินทรัพย์นั้น

  32. Speculators • เป็นผู้เล่นในตลาดที่จะทำการซื้อหรือขาย Option นั้นกับ Hedgers เพื่อรองรับความเสี่ยงต่าง ๆ โดยที่ Speculators จะทำการคาดการณ์ถึงราคาของสินทรัพย์ในอนาคต และทำการวางกลยุทธ์ เพื่อทำกำไรจากการลงทุนใน Options ตามมุมมองของ Speculators นั้น ๆ

  33. ตัวอย่าง • Speculator ด้านน้ำมัน ได้ทำการตรวจสอบข่าวพบว่าในประเทศผู้ผลิตน้ำมันดิบบางประเทศนั้นอยู่ในภาวะการประท้วงหยุดงาน เขาจึงทำการคาดการณ์ราคาของน้ำมันดิบ NYMEX พบว่าราคาของน้ำมันดิบนั้นน่าจะมีราคาที่สูงขึ้น เขาจึงตัดสินใจซื้อสัญญาล่วงหน้า 1 ฉบับ โดยมี 1000 บาเรล ที่ราคา $19 ต่อบาเรล และในวันต่อมา ราคาของน้ำมันนั้นเป็นไปดังที่เขาคาดไว้ คือราคาเพิ่มขึ้นเป็น $22 ต่อบาเรล

  34. ตัวอย่าง (ต่อ) • จึงทำให้เขาได้รับกำไรจำนวน $3 x 1000 = $3000 • ในทางกลับกันถ้าราคานั้นลดลงเหลือ $16 ต่อบาเรล ก็จะทำให้นักเก็งกำไรนั้นขาดทุน $3000 เช่นกัน • ถ้านักเก็งกำไรนี้ตัดสินใจที่จะซื้อสัญญาสิทธิในการซื้อสัญญาซื้อล่วงหน้าของน้ำมันที่ $19 ต่อบาเรล และเสียค่า Premium $0.50 ต่อบาเรล

  35. ตัวอย่าง (ต่อ) • ถ้านักเก็งกำไรเก็งได้ถูกต้อง คือราคาเปลี่ยนไปเป็น $22 ต่อบาเรล เขาก้จะสามารถทำการ Exercise Option และซื้อสัญญาซื้อล่วงหน้าที่ $19 ต่อบาเรล และขายในตลาดโดยทันทีที่ $22 ต่อบาเรล • จะทำให้ได้รับกำไรเท่ากับ • $3000 – ($0.5 x 1000) = $2500

  36. ตัวอย่าง (ต่อ) • ถ้าหากราคาของน้ำมันนั้นไม่เป็นไปตามที่คาดหวัง คือลดลงเหลือ $16 ต่อ บาเรล เขาจะขาดทุนสูงสุดเท่ากับเท่าไร • $500

  37. Arbitrageurs • เป็นผู้เล่นที่ทำการหากำไรจากความแตกต่างในการซื้อหรือขาย Option ชนิดเดียวกัน หรืออาศัยหลักทรัพย์เดียวกัน • Going Long เมื่อผู้เล่นในตลาดเป็นผู้ซื้อ Call Option ทำให้ผู้ถือมีสิทธิในการซื้อ • Going Short เมื่อผู้เล่นในตลาดเป็นผู้ขาย Put Option ทำให้ผู้ถือมีสิทธิในการขาย • ดังนั้นผู้ถือ Call และผู้ขาย Put จะอยู่ในสถานะ Long

More Related