1 / 43

สาเหตุการเกิด และการเตรียมการรับมือ กับอุทกภัย เสวนาเรื่อง “เตรียมพร้อมรับมหันตภัยจากโลกร้อน ๒๐๑๒”

สาเหตุการเกิด และการเตรียมการรับมือ กับอุทกภัย เสวนาเรื่อง “เตรียมพร้อมรับมหันตภัยจากโลกร้อน ๒๐๑๒”. รองศาสตราจารย์.ดร.สุจริต คูณธนกุลวงศ์ คณะวิศวกรรมศาสาตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ๑๑ พฤษภาคม ๒๕๕๔ เวลา ๐๙.๓๐-๑๒.๓๐ โรงแรมรอยัลริเวอร์. หัวข้อนำเสนอ. เหตุการณ์น้ำท่วมในประเทศไทย

yachi
Download Presentation

สาเหตุการเกิด และการเตรียมการรับมือ กับอุทกภัย เสวนาเรื่อง “เตรียมพร้อมรับมหันตภัยจากโลกร้อน ๒๐๑๒”

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สาเหตุการเกิด และการเตรียมการรับมือกับอุทกภัยเสวนาเรื่อง“เตรียมพร้อมรับมหันตภัยจากโลกร้อน ๒๐๑๒” รองศาสตราจารย์.ดร.สุจริต คูณธนกุลวงศ์ คณะวิศวกรรมศาสาตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ๑๑ พฤษภาคม ๒๕๕๔ เวลา ๐๙.๓๐-๑๒.๓๐ โรงแรมรอยัลริเวอร์

  2. หัวข้อนำเสนอ • เหตุการณ์น้ำท่วมในประเทศไทย • สาเหตุของการเกิดน้ำท่วม • ความเสียหาย • แนวโน้มต่อไป • การเตรียมรับมือ • การใช้ประโยชน์ข้อมูลระยะไกล • การจัดทำแผนที่เสี่ยงภัย • การซ้อมภัยแบบการมีส่วนร่วม

  3. บ้านน้ำแม่แรก อ.แม่แจ่ม 15 กันยายน 2545 บ้านกองยอด อ.แม่แจ่ม 8 พฤษภาคม 2547 บ้านสบโขง อ.สบเมย 20 พฤษภาคม 2547 บ้านแม่ตื่น อ.อมก๋อย 20 พฤษภาคม 2547 อ.แม่ระมาด 20 พฤษภาคม 2547 อ.วังชิ้น 4 พฤษภาคม 2544 อ. ลับแล ท่าปลา อุตรดิตถ์ อ. ศรีสัชนาลัย สุโขทัย อ. เมือง แพร่ 23 พฤษภาคม 2549 ต.น้ำก้อ อ.หล่มสัก 11 สิงหาคม 2544 บ้านธารทิพย์ อ.หล่มสัก 11 กันยายน 2543 บ้านคีรีวง อ.ลานสะกา 22 พฤศจิกายน 2531 บ้านกะทูนเหนือ อ.พิปูน 22 พฤศจิกายน 2531 กิ่ง อ.เขาคิชกูฏ 30 กรกฎาคม 2542

  4. FLOOD 49 แผนที่ภาพถ่ายดาวเทียมแสดงพื้นที่น้ำท่วมในทุ่งเจ้าพระยาใหญ่ในวันที่ 24 ตุลาคม 2549

  5. สภาพพื้นที่น้ำท่วมจังหวัดนครราชสีมาและจังหวัดข้างเคียง (2553)

  6. The Summit of World Zero Meters CitiesThe Summit of World Zero Meters Cities 海抜ゼロメートル世界都市サミット 2008年12月15~17日 (江戸川区で開催) * Former Director, King County Office of Emergency Management, State of Washington On the four stages of denial • It won’t happen • If it happens, it won’t happen to me • If it happens, and it happens to me, it won’t be so bad • If it happens, and it happens to me, and it’s bad, there is nothing I can do to stop it anyway そんなことは起こらない。 もし、起こるとしても、私には起こらない。 もし、起こるとしても、それほど深刻な事態にはならない。 もし、私に深刻な事態が起こるとしても、私にはそれを防ぐすべがない。 ハリケーンカトリーナ 20

  7. สาเหตุของน้ำท่วม • สภาพอากาศ (ระยะสั้น ระยะกลาง) • สภาพภูมิประเทศ • สภาพเศรษฐกิจและสังคม • ประเภทของน้ำท่วม • น้ำท่วมฉับพลัน • น้ำท่วมไหลนอง • น้ำท่วมบริเวณใกล้ทะเล

  8. 2. Depression strike southern Thailand 1 – 3 November 2010 NWP product (WRF model) base on 1 Nov.2010 : 00 UTC Hat Yai district

  9. WRF2KM,NCEP, rain over high mountain 1200-2100 UTC, 15 OCT 2010

  10. 1. Flooding in Nakhon Ratchasima Prov. 15 – 17 October 2010 Total precipitation from observation Accumulate Precipitation 24 hrs. from NWP output (15 Oct. 2010) Topography NakhonRatchasima Prov.

  11. SST at Nino 3-4 for 2011 Out look of sea surface temperature anomalies for NINO region (NiNo 3-4, TCC)

  12. ปริมาณฝนสะสมรายเดือนของประเทศปี 2552-2553

  13. การบริหารจัดการน้ำในเขื่อนสำคัญการบริหารจัดการน้ำในเขื่อนสำคัญ สถานการณ์น้ำในเขื่อน ที่มา : กฟผ. 19 ธ.ค. 2553

  14. สรุปผลการประเมินการบริหารจัดการน้ำ ปี ๔๙ • ข้อมูลการแจ้งเตือนสถานการณ์น้ำในช่วงที่ผ่านมา ที่ต้องการประชาสัมพันธ์หรือสื่อสารนั้น ยังไม่สามารถเข้าถึงประชาชนได้อย่างทั่วถึง และครบถ้วน • การรายงานสถานการณ์น้ำท่วมที่ผ่านมายังไม่ทันต่อสถานการณ์เท่าที่ควร • การบริหารจัดการน้ำในอ่างเก็บน้ำ/อาคารบังคับไม่สามารถดำเนินการให้เป็นไปตามแผนได้ เนื่องจากในทางปฏิบัติ มีการปรับเปลี่ยนแผนของแต่ละหน่วยงานเอง • การบริหารจัดการน้ำในพื้นที่เกษตร ไม่สามารถดำเนินการได้มากนัก เนื่องจากการเพาะปลูกของเกษตรกรในพื้นที่ดำเนินการไม่พร้อมกัน

  15. สรุปผลการประเมินการบริหารจัดการน้ำ ปี ๔๙ • การจัดตั้งศูนย์ประสานงาน และติดตามสถานการณ์น้ำ มีปัญหาในทางปฏิบัติบ้าง เช่น ในการปิด-เปิดประตูระบายน้ำไม่สามารถดำเนินการได้ในบางพื้นที่ เนื่องถูกต่อต้านจากประชาชนในพื้นที่ • ทุกจังหวัดมีการจัดการประชุมเตรียมความพร้อมในการบริหารจัดการน้ำ แต่ปัญหาส่วนใหญ่ที่พบ คือ ในการประชุมทุกครั้งยังไม่มีการบันทึกการประชุม และไม่มีผู้มีอำนาจในการสั่งการที่ชัดเจนในระดับลุ่มน้ำ หรือระดับประเทศ (ชัดเจนในส่วนของระดับจังหวัด) • การกระจายน้ำเข้าทุ่งเพื่อลดยอดน้ำ พบว่า ในช่วงเหตุการณ์น้ำท่วมที่ผ่านมา มีเหตุการณ์คันกั้นน้ำขาดก่อนที่จะดำเนินการในส่วนนี้ ทำให้การบริหารจัดการโดยการกระจายเข้าทุ่งไม่เป็นไปตามที่วางแผนไว้ และปริมาณน้ำที่เกิดขึ้นมากเกินกว่าที่จะควบคุมได้

  16. แนวโน้มสภาพภูมิอากาศ • แนวโน้ม ระยะสั้น กลาง ยาว • ปรากฏการณ์ ENSO • ปรากฏการณ์ Climate Change

  17. Near Future (2015-2039) %Difference ฝนสูงสุด ๑ วัน ที่เปอร์เซนต์ไทร์ 90 Difference Future (2075-2099)

  18. Near Future (2015-2039) %Difference ฝนสูงสุด ๓ วัน ที่เปอร์เซนต์ไทร์ 90 Future (2075-2099) Difference

  19. Near Future (2015-2039) %Difference ฝนสูงสุด ๕ วัน ที่เปอร์เซนต์ไทร์ 90 Future (2075-2099) Difference

  20. กลุ่มลุ่มน้ำสาละวิน กลุ่มลุ่มน้ำโขง กลุ่มลุ่มน้ำเจ้าพระยาท่าจีน กลุ่มลุ่มน้ำบางปะกง กลุ่มลุ่มน้ำแม่กลอง กลุ่มลุ่มน้ำชายฝั่งทะเล อ่าวไทยตะวันออก กลุ่มลุ่มน้ำชายฝั่งทะเล อ่าวไทยตะวันตก กลุ่มลุ่มน้ำภาคใต้ฝั่งตะวันออก กลุ่มลุ่มน้ำภาคใต้ฝั่งตะวันตก ผลกระทบที่มีต่อพื้นที่เสี่ยงภัยน้ำท่วม ในอนาคตอันใกล้

  21. การรับมือ • ด้านโครงสร้าง (hard) • ด้านไม่ใช้โครงสร้าง (soft) • ด้านการเตรียมระบบและ บุคลากร (system/human) • การดำเนินการ ก่อน ระหว่าง หลังเหตุการณ์ • ตัวอย่างการประยุกต์ใช้

  22. การใช้ประโยชน์จากข้อมูลฝนจาก TRMM • จากโลกสู่พื้นดิน (จาก www.thaiwaterplan.org) • แนวคิดในการทำงานเพื่อนำข้อมูลที่เผยแพร่ผ่านเครื่อข่าย Internet นำมาสร้างเป็นเนื้อหา หรือองค์ความรู้ เพื่อเพิ่มทางเลือกในการนำข้อมูลมาประยุกต์ใช้กับพื้นที่ และจังหวัด โดยข้อมูลที่ได้เลือกใช้ ได้แก่ ข้อมูลน้ำฝน The Tropical Rainfall Measuring Mission (TRMM) ที่หน่วยงาน NASA ได้เผยแพร่ผ่านทาง Website http://trmm.gsfc.nasa.gov/

  23. ฝนสะสม 7 วัน จาก TRMM ช่วงวันที่ 14 – 20 ตุลาคม 2553 บริเวณพื้นที่ตอนกลางของประเทศ มีปริมาณฝนสะสม 7 วัน ประมาณ 150 - 200 มม.

  24. หัวข้อการจัดทำแผนที่เสี่ยงภัยน้ำท่วมหัวข้อการจัดทำแผนที่เสี่ยงภัยน้ำท่วม 1. กำหนดวัตถุประสงค์การจัดทำ 2. นิยามที่ใช้ 3. ขอบเขตการประยุกต์ใช้ 4. แผนที่เสี่ยงภัยน้ำท่วม 5. ข้อมูลจำเป็นที่ต้องมี 6. ประเด็นในการกำหนดพี้นที่หนีภัย 7. แผนหนีภัย ในภาพรวม 8. ความเห็นจากชุมชน ผู้อยู่อาศัย 9. การประสานงานกับ แผนป้องกันภัยพื้นที่ 10. การปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัย 11. การถ่ายทอดข้อมูลสู่ผู้อยู่อาศัย

  25. ประวัติน้ำท่วมสูงสุด ที่กำแพงโรงเรียน (Komatsugawa Elementary School) キティ台風潮位(A.P.3.15m) 大潮の満潮位(A.P.2.1m) 大潮の干潮位(A.P.0m)

  26. แผนที่เสี่ยงภัยน้ำท่วมของเมือง Edogawa

  27. ตัวอย่างโครงการชานอัน ที่ประเทศไต้หวัน

  28. มาตรการสนับสนุน มาตรการป้องกันและลดผลกระทบแบบ ไม่ใช้โครงสร้าง แผนที่พื้นที่เสี่ยงภัยโคลนถล่ม และระบบเตือนภัยเพื่อการอพยพ ข้อมูลเตือนภัย สถานีวัดฝน และศูนย์แจ้งเตือนภัย ชุมชนสามารถตัดสินใจอพยพได้เอง 150 mm. 200 mm. 150 mm. 100 mm. 100 mm. 200 mm. 150 mm. เส้นระดับน้ำท่วมที่สัมพันธ์กับฝนที่ตก ระยะเวลาเตือนภัย < ระยะเวลาไหลรวมตัวของน้ำ จะดำเนินการใน JICA Phase II และ MRC(คณะกรรมการลุ่มน้ำโขง)

  29. การพัฒนาศักยภาพชุมชน • การแก้ไขปัญหาในระดับพื้นที่ต้องให้ชุมชนมีความพร้อมต่อการรับมือ • องค์ประกอบที่สำคัญคือ การพัฒนาศักยภาพของบุคลากรเครื่องมือที่ใช้ และ ระบบสารสนเทศ/การติดต่อ ที่มี • โครงการวิจัยสร้างกระบวนการพัฒนาศักยภาพ ให้เครื่องมือเพื่อให้ อบต สามารถวางแผนดำเนินการแก้ไขปัญหาน้ำได้ดียิ่งขึ้น • เครื่องมือที่ใช้ คือ การจัดทำบัญชีน้ำ ให้รู้แหล่งน้ำที่ตนมีและความต้องการน้ำที่มี โดยใช้ระบบแผนที่และ GPS

  30. ขั้นตอน 1. เพื่อสำรวจและบันทึกตำแหน่ง, ขนาดความจุและปริมาณน้ำของแหล่งกักเก็บน้ำ 2. จัดทำบัญชีน้ำในพื้นที่ตำบล 3. แปลงข้อมูลตำแหน่งที่ตั้งแหล่งน้ำให้อยู่ในรูปแบบระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) 36

  31. การวางแผนแก้ไขปัญหาน้ำในพื้นที่ตนเองการวางแผนแก้ไขปัญหาน้ำในพื้นที่ตนเอง โปรแกรม Q-GIS

  32. โครงการระบบส่งน้ำด้วยท่อหนองท่ากะสาว-ห้วยมะเฟืองโครงการระบบส่งน้ำด้วยท่อหนองท่ากะสาว-ห้วยมะเฟือง ประปาบ้านหนองพญา สวนเกษตรผสมผสาน ประปาบ้านยายดา ประปาบ้านก้นหนอง สวนปาหนัน สวนยายดา ประปาหนองใหญ่ อ่างเก็บน้ำห้วยมะเฟือง ประปาบ้านชากลาว ผลของการเข้าร่วมการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการทำให้อบต. เกิดความเชื่อมโยงกับเจ้าหน้าที่ภาครัฐมากขึ้น และเล็งเห็นสภาพปัญหาของตำบลตะพงอย่างแท้จริง จึงทำให้ตำบลตะพงได้รับ งบประมาณภายใต้แผนปฏิบัติการ ไทยเข้มแข็ง จำนวนเงิน 50 ล้านบาท ปี 2553 Logo 38

  33. Natakwan district water use is 2.0 MCM/yr Study area in the community level : Tha Kasao - Ban Huay Ma-Pheung pipeline project covers three districts Banlang district water use is 1.9 MCM/yr Taphong district water use is 2.9 MCM/yr Water Resources System Research Unit, Department of Water Resources Engineering, Faculty of Engineering, Chulalongkorn University, Thailand

  34. ข้อเสนอแนะ- 1 • ระดับชุมชน • การตั้งทีมงานเตรียมพร้อม • การพัฒนาศักยภาพ • การใช้ประโยชน์จากข้อมูล • ซ้อมรับภัย เพื่อ ตรวจสอบความพร้อม ชุมชน • ระดับปฏิบัติการ • การวางระบบสนับสนุน • การประเมินความเสี่ยง และหามาตรการที่เหมาะกับสภาพ (ทั้งในแง่ human, system, soft and hard) • ซ้อมรับภัย เพื่อ ตรวจสอบความพร้อม ระบบ

  35. ข้อเสนอแนะ - 2 • ระดับประเทศ • การจัดทำมาตรฐาน และแผนขยายผล • การจัดระบบรองรับ (ความช่วยเหลือ การประกัน ) • การศึกษาวิจัย และติดตามการเปลี่ยนแปลง • สร้างความตระหนัก พร้อมให้ข้อมูล ความรู้

  36. เอกสารอ้างอิง - 1 • สกว, โครงการ ”ผลการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลกต่อปริมาณน้ำฝน/น้ำท่ารายเดือนของประเทศไทย และผลกระทบต่อการบริหารจัดการน้ำในพื้นที่ภาคตะวันออก” ๒๕๕๒ • สกว , รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการ “ศูนย์วิจัยระบบการวางแผนจัดการทรัพยากรน้ำเพื่อความมั่นคงระดับจังหวัด” ๒๕๕๓ • ศูนย์วิกฤตน้ำ กรมทรัพยากรน้ำ สถานการณ์น้ำ และการเตรียมความพร้อมฯ ปี ๒๕๕๓ ๒๐ ธันวาคม ๒๕๕๓ • จรูญ เลาหเลิศชัย สรุปลักษณะอากาศปี ๒๕๕๓ กรมอุตุนิยมวิทยา ๒๐ มกราคม ๒๕๕๔

  37. เอกสารอ้างอิง-2 • สุจริต คูณธนกุลวงศ์การเกิดน้ำท่วม และน้ำแล้ง ซ้ำซากการประชุมวิชาการเรื่องภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงกับการเกิดภัยแล้งและน้ำท่วมจัดโดย สมาคมนักอุทกวิทยาไทย๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔ • สุจริต คูณธนกุลวงศ์ ความเห็นต่อภัยแล้งและน้ำท่วมปี ๒๕๕๓ การประชุมทางวิชาการกลุ่มย่อย ครั้งที่ ๓ เรื่อง “ผลกระทบจากวิกฤตน้ำแล้ง/น้ำท่วม มาตรการป้องกัน แก้ไข และข้อเสนอแนะ ปี พ.ศ. 2553 จัดที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ๓๐ มีนาคม ๒๕๕๔ • Paitoon N., The Project on Capacity Development of Disaster Management in Thailand, Progress Report to JICA, Mar 2010 • Tsuchiya N., Introduction to Flood Hazard Map in Edogawa City, Feb 11.

More Related