1 / 23

ยุทธศาสตร์พัฒนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

ยุทธศาสตร์พัฒนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. ในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10. สำนักพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. กันยายน 2550. สภาพทั่วไป. พื้นที่ 105.5 ล้านไร่ เป็น 1 ใน 3 ของ ประเทศ เป็นที่ราบลอนคลื่น มีพื้นที่เกษตร 57.9 ล้านไร่

xenon
Download Presentation

ยุทธศาสตร์พัฒนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ยุทธศาสตร์พัฒนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือยุทธศาสตร์พัฒนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 สำนักพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กันยายน 2550

  2. สภาพทั่วไป • พื้นที่ 105.5 ล้านไร่ เป็น 1 ใน 3 ของ • ประเทศ เป็นที่ราบลอนคลื่น • มีพื้นที่เกษตร 57.9 ล้านไร่ • สภาพดินเป็นดินร่วนปนทราย • 75.7% เป็นดินขาดอินทรียวัตถุ • พื้นที่ป่าไม้ ประมาณ 17.5 ล้านไร่ • อยู่บริเวณขอบของภาค • มีลุ่มน้ำหลัก 3 ลุ่มน้ำ : โขง ชี มูล • ปริมาณฝนเฉลี่ย 1,400 มม./ปี • ถนนมิตรภาพเป็นเส้นทางหลักเชื่อม • กรุงเทพ มีทางรถไฟ 2 สายหลัก คือ • กทม.-อุบล และ กทม.-หนองคาย

  3. สถานะและแนวโน้มการพัฒนาด้านเศรษฐกิจสถานะและแนวโน้มการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ • GRP 7.9 แสนล้านบาท (10.1 %GDP ลดจาก 10.6% ปี45) • ขยายตัว(45-49) ต่ำ 4.4%ต่อปี (ประเทศ 5.7%ต่อปี) • กลุ่มที่ขยายตัวสูงคือกลุ่มขอนแก่น(5.8%)จากมีการลงทุนมาก • โครงสร้างการผลิตหลัก • เกษตร 21.5% • การค้า 21.1% • อุตสาหกรรม 14.9% • Per capita GRP 35,877 บาท(ต่ำกว่าประเทศ 3.3 เท่า) • ฐานเศรษฐกิจหลัก • นครราชสีมา 17.2% • ขอนแก่น 13.4% • อุบลราชธานี 8.0% • อุดรธานี 7.4% • การจ้างงาน 11.2 ล้านคน (ว่างงาน 1.9% ประเทศ 1.5%)

  4. ข้าวโพด ยาง ไม้ผล อ้อย ข้าว มัน ยาง ปศุสัตว์ การผลิตด้านเกษตร แหล่งผลิตหลัก > 40% ข้าว อีสานล่างและกลาง มัน โคราช ชัยภูมิ บุรีรัมย์ อ้อย ขอนแก่น อุดร กาฬสินธุ์ ยางพารา หนองคาย เลย อุดร ข้าวโพด โคราช ชัยภูมิ เลย • มูลค่า 1.7 แสนล้านบาท = 20.3% ประเทศ • พืช 82% สัตว์ 13.4% • ข้าว(26.2%) = 45.1% ประเทศ • มัน (5.6%) = 53.8% ประเทศ • อ้อย (4.0%) = 32.9% ประเทศ • ยางพารา(4.1%) = 3.7% ประเทศ • โค(3.0%) = 40.3% ประเทศ • ขยายตัว(45-49) 1.1%ต่อปี (ประเทศ 2.5%) • เป็น Source of growth รองจาก อุตฯ • จ้างงาน 6.4 ล้านคน (56.5% ของภาค) • ผลิตภาพการผลิตต่ำกว่าประเทศ • มีชลประทาน 14.1% • งบพัฒนาแหล่งน้ำ ปี49 =1.5 พันล้าน(34.8%ประเทศ) 25บาท/ไร่ (ประเทศ 32 บาท/ไร่) • แนวโน้ม: • พืชพลังงาน และยาง จะเข้ามาแทนที่พืชอาหาร • คนในภาคเกษตรลดลง ใช้เครื่องจักรมากขึ้น

  5. การผลิตอุตสาหกรรม % growth มูลค่า 1.1 แสนล้านบาท = 4.1% ของประเทศ ขยายตัว 10.4% ต่อปี (ประเทศ 7.5%) จ้างงาน1.0ล้านคน (9.0% ของภาค) เป็น Source of Growth หลักของภาค อุตฯ อาหาร 59.8% เครื่องแต่งกาย 11.1% อิเลคทรอนิกส์ 5.3% ชิ้นส่วนยานยนต์ 0.5% จำนวนโรงงานขยายตัวเร็วในกลุ่ม ขอนแก่น(1.3%) อุดร (1.2%) โคราช (0.8%) %share • แนวโน้ม • เอทานอล 41.7% ของประเทศ (4.7 ล้านลิตร/วัน) • ต้องการมัน เพิ่ม 4.8 ล้านตัน/ปี • สัดส่วนอุตฯ อาหารจะลดลง อิเลคทรอนิกส์ เครื่องแต่งกาย • ชิ้นส่วนยานยนต์ เข้ามาแทนที่ (growth มากกว่า 10%) • ยังกระจุกตัวแนวถนนมิตรภาพ(นม-ขก-อด) อาหารเครื่องดื่ม ชิ้นส่วนยานยนต์ เครื่องแต่งกาย อิเลคทรอนิค เอทานอล

  6. เวียงจันทร์ ด้านการค้า ไซยะบุรี • มูลค่า1.7 แสนล้านบาท(21.1% GRP) ค้าปลีก 69.2% ค้าส่ง 27.9% ซ่อมแซม 2.9% • จ้างงาน 1.4 ล้านคน(12.1%ของภาค) • ส่งออก: ข้าว ผลิตภัณฑ์มัน น้ำตาล สิ่งทอ อิเลคทรอนิกส์ นำเข้า: ยานยนต์ น้ำมัน วัสดุก่อสร้าง (40% การค้า) • การค้าชายแดน • มูลค่า 3.4 หมื่นล้านบาท • ที่ผ่านมาขยายตัว15.2% และจะขยายตัวต่อเนื่อง • การค้า 60% มาจากด่านหนองคาย และมุกดาหาร • สินค้าออก 60% มาจากนอกภาค(น้ำมัน %วัสดุก่อสร้าง เครื่องไฟฟ้า ยานยนต์ ของอุปโภค) • สินค้าเข้า ไม้แปรรูป 31.1% แร่ทองแดง 35% ท่าแขก-วินด์(เวียดนาม) สะหวันนะเขต-ดานัง(เวียดนาม) แม่สอด EWEC ปากเซ อะลองเวง โอเสม็ด • ข้อจำกัดด้านการค้า • การผ่านแดนยังไม่รวดเร็ว • ขาดสิ่งอำนวยความสะดวกบริเวณด่าน • กิจกรรมต่อเนื่องกับการค้ายังมีน้อย

  7. ประเภทและแหล่งท่องเที่ยวประเภทและแหล่งท่องเที่ยว เชื่อมเพื่อนบ้าน เชิงนิเวศ ก่อนประ วัติศาสตร์ อารยธรรมขอม การท่องเที่ยว • สร้างรายได้ 3.3 หมื่นล้านบาท (48% มาจากเที่ยวปราสาทขอมและชายแดนเพื่อนบ้าน คน 27.4% เที่ยวปราสาทขอม 19.8% เที่ยวชายแดนเพื่อนบ้าน) • นักท่องเที่ยวเพิ่ม 6.7% ต่อปี รายได้โต 9.6% ต่อปี (ใช้จ่าย/หัว770.4 บาท/วัน -วันพัก 2.6 วัน ประเทศ 2,300 บาท/วัน- พัก 2.9 วัน) • ท่องเที่ยวเชิงนิเวศขยายตัวเร็ว (28.1%) • จ้างงาน 0.5 ล้านคน(3.9%) • ข้อจำกัดด้านท่องเที่ยว • แหล่งท่องเที่ยวแม่เหล็กมีน้อย อยู่ห่างไกลกัน • ขาดความน่าสนใจ(ไม่สร้าง Story) • ขาดบริการพื้นฐานอำนวยความสะดวก

  8. ด้านสังคม ประชากร/แรงงาน โครงสร้าง ประชากร ปี 2549 ปี 2555 • ปัจจุบันมีคน 21.4 ล้านคน (เด็ก 25.4% แรงงาน 64.2% ผู้สูงอายุ10.4% ) • ปี 2555 สัดส่วนแรงงานจะเริ่มลดลง (เหลือ 64.0% เด็ก 23.2% ผู้สูงอายุ 12.8% ) • อัตราพึ่งพิงสูงเป็น 56.6% • ปัจจุบัน มีแรงงาน 11.6 ล้านคน จบประถม 68% • ผลิตภาพแรงงานต่ำ โตเฉลี่ย 2.0% ต่อปี ( 34,480 บาท -ประเทศ 1.2 แสนบาท) • การจ้างงาน 11.2 ล้านคน ( ว่างงาน 1.7% ) • รายได้/ครัวเรือน 11,526 บาท/เดือน (ปท. 17,122) • การอพยพปีละ 4.6 % (~ 9 แสนคน) • แรงงานนอกระบบ 77.9% (ปท. 61.5%) หมายเหตุ* ประกอบด้วย โรงแรม ศึกษา สาธารณสุข บริการชุมชน ลูกจ้างครัวเรือน

  9. ด้านการศึกษา • ระดับการศึกษา • คนมีการศึกษาเฉลี่ยระดับประถม (7.2 ปี –ประเทศ 8.2 ปี) • กลุ่มโคราชคนมีปีศึกษาน้อยสุด 7 ปี • คุณภาพการศึกษาต่ำ • ผลสัมฤทธิ์เฉลี่ยต่ำสุด 36.1% (ประเทศ40.3%)กลุ่มมุกดาหารต่ำสุด 35.3 % • โรงเรียนตกเกณฑ์ 66% (ปท. 65%) โรงเรียนตกเกณฑ์มากสุดที่หนองบัวลำภู 73% • บริการการศึกษาไม่ทั่วถึง • โอกาสการศึกษาต่ำ 87.4% (ประเทศ 91.3%) เนื่องจากถูกทอดทิ้ง (รุนแรงในพื้นที่ หนองบัวลำภู และยโสธร) • เด็กไม่ได้รับการศึกษาอีก 2 แสนคน กระจุกตัวมากสุดที่สุรินทร์ 12 % • ค่าใช้จ่ายของรัฐ 3,038 บาท/คน สูงกว่าประเทศ (3,001 บาท/คน)

  10. สาธารณสุข • สุขภาวะต่ำกว่ามาตรฐานประเทศ • สัดส่วนแพทย์และพยาบาลน้อย • กระจุกตัว ที่เมืองใหญ่ ขก(18%) โคราช(16%) • อัตราเจ็บป่วย 15.6% • คน 39% มีพฤติกรรมบริโภคเสี่ยงต่อสุขภาพ (อยู่ในเมืองใหญ่) • งบประมาณต่อหัวต่ำ 1,958 บาท (ประเทศ 2,212 บาท) คน ชุมชนและสังคม • คน 39% มีพฤติกรรมการบริโภคขาดหลักเศรษฐกิจพอเพียง • คนจนลดลงแต่ยังมากที่สุด 3.6ล้านคน(เมือง 0.3 ชนบท 3.3 กระจุกตัวที่บุรีรัมย์ 13.4%) • ผู้ด้อยโอกาส 59,771คน (กระจุกที่ ศรีสะเกษ 11.5%) ธรรมาภิบาล • สัดส่วนเรื่องร้องเรียนรัฐมากสุด 19% • (ปท. 13%) • ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้งต่ำสุด 67% ปท.73%

  11. ป่าเสื่อมโทรม พื้นที่ดินเค็ม ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม • ป่าไม้เพิ่มปีละ~ 2 แสนไร่ จากปี 43 เป็น 17.5 ล้านไร่ (16.6% ของภาค ) • ป่าเสื่อมสภาพ 8.1 ล้านไร่ • 48% อยู่กลุ่มโคราช ชัยภูมิ บุรีรัมย์ สุรินทร์ • 14.6% กลุ่มอุบลราชธานีฯ • 14.2% กลุ่มสกลนคร • ดินเค็มกระจายเพิ่มขึ้น 1.1 ล้านไร่ จากปี 2547 • (30% อยู่กลุ่ม โคราช. 25% กลุ่มขอนแก่น) • ขาดแคลนน้ำเกษตร (เก็บได้ 17% ชลประทาน 14.1% ชี เก็บ 34.5%) • แล้งซ้ำซาก 26.6 ล้านไร่ (50% อยู่ในกลุ่มโคราช) • ขาดประปาหมู่บ้าน 9,902 แห่ง อยู่ในกลุ่มโคราชและอุบลฯ • คุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์ดี-พอใช้ ยกเว้น ลำตะคองตอนล่าง • ขยะมูลฝอยชุมชน เพิ่มขึ้น 2.86% จากปี 2546 พันไร่

  12. บริบทการเปลี่ยนแปลง และผลกระทบ • เศรษฐกิจภาคอื่น • ขยายตัวสูงกว่าอีสาน • (4.4% กับ 5.7%) • แรงงานอพยพ • ~ 8-9 แสนคน/ปี • เหลือเด็ก/คนแก่ • ขาดผู้ดูแล • ครอบครัว/ชุมชน • อ่อนแอ • โครงสร้าง ปชก.เปลี่ยน • ปี55 เด็ก/แรงงานลด • คนแก่เพิ่ม • อัตราพึ่งพิงเกิน 50% • แต่ผลิตภาพแรงงาน • ยังต่ำ • คชจ./รายได้ เพิ่ม • การออมลดลง • ไม่มั่นคง • ความยากจน • เอทานอล 17 แห่ง • (4.7 ล้านลิตร/วัน) • มันส่งออกโต 26.6% • (4.3 หมื่นล้านบาท) • ยางส่งออกเพิ่ม 38% • ต้องการมันเพิ่ม • (4.8 ล้านตัน/ปี) • อ้อย ยาง เพิ่ม • การใช้ที่ดินเปลี่ยน • การทำนาลดลง • ป่ายาง ไร่มัน อ้อยเพิ่ม • ความมั่นคงด้าน • อาหารลดลง • ความหลากหลาย • ทางชีวภาพลด • อุตสาหกรรม • ขยายตัว 10-20% • (labor intensive) • แรงงานออกจาก • ภาคเกษตร • พึ่งเครื่องจักรมาก • ทำนาหว่าน • ผลผลิตต่ำ • ต้นทุนผลิตสูง • ความมั่นคงด้าน • อาหารลด • การค้ากับเพื่อนบ้าน • ขยายตัว 14.8% • EWECเสร็จกว่า50% • เวียดนามโตเร็ว • การลงทุนตาม • ชายแดนเพิ่ม • ย้ายฐานเข้าเพื่อนบ้าน • เคลื่อนย้ายสินค้า/คน • แรงงาน/ยาเสพติด • ชุมชนชายแดนโต • โรคติดต่อเพิ่ม • ความไม่ปลอดภัย • ธรรมชาติแปรปรวน • ทรัพยากรเสื่อมสภาพ • การเกษตรเสี่ยงภัย • ผลิตภาพการผลิตต่ำ • เกิดความไม่มั่นคง • ด้านรายได้ • ด้านอาหาร • ความยากจน

  13. รายจ่ายลงทุนภาครัฐ และโครงการลงทุนใหญ่ๆ • รายจ่ายลงทุนต่อหัวต่ำกว่าค่าเฉลี่ยประเทศ โดยเฉพาะเกษตร • โครงการพัฒนาขนาดใหญ่ 5 ปี ที่ผ่านมา • ขยายถนน 304[ ปักธงชัย-แหลมฉบัง ] เป็น 4 ช่องจราจร • ขยายถนน EWEC เป็น 4 ช่องจราจร 179 กม. • สะพานข้ามโขง ที่มุกดาหาร

  14. ศักยภาพของพื้นที่ • มีพื้นที่ทำเกษตร 40% ของประเทศ เป็นแหล่งผลิตข้าวหอมชั้นดี มีพื้นที่เหมาะสมกว่า 2 ล้านไร่ (บริเวณทุ่งกุลาฯ) มีสภาพอากาศเหมาะกับปศุสัตว์ โค ไก่ สุกร • เป็นฐานอุตสาหกรรมเกษตร (ข้าว น้ำตาล ผลิตภัณฑ์มัน ) ของประเทศ • ตั้งอยู่กลางกลุ่ม GMS มีถนน EWEC เชื่อมถึงเวียดนาม และมีจุดค้าขายกับเพื่อนบ้านรอบทิศ (มุกดาหาร หนองคาย นครพนม อุบลราชธานี สุรินทร์) • แหล่งท่องเที่ยวมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว (ปราสาทขอม ซากไดโนเสาร์) • มีเกลือหินสำรอง 18 ล้านล้านตัน โปแตส 2,500 ล้านตัน แร่เหล็ก 27 ล้านตัน • โครงข่ายถนนทั่วถึงทั้งภาค จุดแข็ง • คน 16.8% ยากจน และ 3.8 ล้านคนมีปัญหาสุขภาพ และเสพสิ่งบั่นทอนสุขภาพ • แรงงานไร้ฝีมือ การศึกษาระดับประถม คุณภาพการศึกษาต่ำ ผลิตภาพแรงงานต่ำ • ระทางไกลจาก Gate Way (ESB) ทำให้เสียบเปรียบค่าขนส่งสำหรับ อุตฯ ส่งออก • ทรัพยากรป่าเสื่อมโทรม ดิน และน้ำไม่เอื้ออำนวย • ขาดระบบชลประทาน มีเพียง 14.7% การผลิตต้องขึ้นกับธรรมชาติ • แหล่งท่องเที่ยวดึงดูดได้เฉพาะกลุ่ม จุดอ่อน

  15. ศักยภาพของพื้นที่ (ต่อ) • การขยายโอกาสการศึกษา 12 ปีจะช่วยเพิ่มขีดความสามารถของคนและแรงงานของภาคและประเทศ • กระแสเศรษฐกิจพอเพียง ช่วยให้คนหันมารู้จักตนเอง และมีความรอบคอบมากขึ้น • นโยบายลดการพึ่งพาพลังงานจากภายนอกและส่งเสริมการใช้แก๊สโซฮอล เพิ่มโอกาสการผลิตพืชพลังงานทดแทน เช่น อ้อย มันสำปะหลัง • จีนมุ่งอุตสาหกรรม ทำให้การพึ่งตนเองด้านเกษตรลด ไทยจึงมีโอกาส • ข้อตกลงเขตการค้าเสรี ไทย-จีน ไทย-ญี่ปุ่น และไทย-อนุภาคลุ่มน้ำโขง ก้าวหน้าดี จะเปิดโอกาสด้านการค้า การลงทุน และการท่องเที่ยว โอกาส • FTA ออสเตรเลีย ทำให้ปศุสัตว์ต้องปรับตัว • ความไม่ปลอดภัย จากการย้ายฐานยาเสพติดมาชายแดนอีสาน • โรคติดต่อ จากการเคลื่อนย้ายแรงงานและหญิงบริการจากเพื่อนบ้าน • สินค้าราคาถูกจากจีนแย่งตลาดมากขึ้น • การสร้างเขื่อนในประเทศจีน ทำให้ระดับน้ำในแม่น้ำโขงขึ้นลงผิดปกติ กระทบระบบนิเวศน์ลำน้ำสาขาในภาค • ภาวะแปรปรวนของธรรมชาติ ให้การผลิตเสียหายการเกษตร ภัยคุกคาม

  16. บทบาทและทิศทาง การพัฒนาภาค หนองคาย เลย นครพนม อุดรธานี สกลนคร หนองบัวลำภู แหล่งท่องเที่ยวยุคก่อนประวัติศาสตร์ ขอนแก่น มุกดาหาร กาฬสินธุ์ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด อำนาจเจริญ ยโสธร ชัยภูมิ อุบลราชธานี ศรีสะเกษ นครราชสีมา สุรินทร์ บุรีรัมย์ ประตูการค้ากับ ประเทศเพื่อนบ้าน ประตูการค้ากับ ประเทศเพื่อนบ้าน • เป็นฐานผลิตอาหารและ พืชพลังงานทดแทนของประเทศ(อีสานกลาง /ล่าง ) เพื่อความมั่นคงด้านอาหารและรายได้เกษตรกร • เป็นฐานอุตสาหกรรมอาหารและเอธานอลของประเทศ (กลุ่ม นม. ขก. อด.) เพื่อรักษาฐานรายได้เดิมและสร้างฐานใหม่ให้กับภาค • เป็นประตูการค้า การท่อง -เที่ยวเชื่อมโยงกับอินโดจีน (กลุ่มหนองคาย/มุก/และอุบล) • เป็นแหล่งท่องเที่ยวและศึกษาทางโบราณคดี อารยธรรมขอม และยุคก่อนประวัติศาสตร์ (อีสานล่าง/กลาง) เนื่องจากเป็นเอกลักษณ์ และมีเฉพาะอีสาน ไม้ผล ยางพารา พืชผัก เมล็ดพันธุ์ ไม้ผล ยางพารา พืชผัก เมล็ดพันธุ์ ทางหลวง เส้นทางรถไฟ พื้นที่อนุรักษ์ พื้นที่อนุรักษ์ ประตูการค้ากับ ประเทศเพื่อนบ้าน ประตูการค้ากับ ประเทศเพื่อนบ้าน อุตสาหกรรมหลักของภาค อุตสาหกรรมหลักของภาค พื้นที่อนุรักษ์/แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ พื้นที่อนุรักษ์/แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ประตูการค้ากับ ประเทศเพื่อนบ้าน ประตูการค้ากับ ประเทศเพื่อนบ้าน แหล่งผลิตข้าวหอมมะลิ แหล่งผลิตข้าวหอมมะลิ แหล่งท่องเที่ยวอารยธรรมขอม แหล่งท่องเที่ยวอารยธรรมขอม ปศุสัตว์/ยางพารา/ไม้ยืนต้น ปศุสัตว์/ยางพารา/ไม้ยืนต้น พื้นที่อนุรักษ์ พื้นที่อนุรักษ์ พื้นที่อนุรักษ์ พื้นที่อนุรักษ์ ทางหลวง เส้นทางรถไฟ

  17. เป้าหมาย • เพิ่มอัตราการขยายตัวระดับใกล้เคียงกับประเทศ เน้นพื้นที่มีศักยภาพสูง • แก้ปัญหาความยากจนให้เหลือต่ำกว่า ร้อยละ 10 • ลดต้นทุนด้าน Logistic เพื่อเพิ่มความสามารถแข่งขันด้านการอุตสาหกรรม เศรษฐกิจ • ยกระดับคุณภาพชีวิตให้ได้เกณฑ์มาตรฐาน • จัดให้เด็ก 2.2 แสนคนได้เรียนหนังสือ • ยกระดับโรงเรียน 66% ที่ไม่ได้มาตรฐานให้ดีขึ้น • ลดอัตราตายทารกเหลือ 7.6 (ค่าเฉลี่ยประเทศ) • สร้างสวัสดิการสังคมให้เด็กและผู้ถูกทอดทิ้ง 5.9 หมื่นคน • ลดปัญหาร้องเรียน และสร้างสภาพแวดล้อมชุมชน ครอบครัวให้น่าอยู่ สังคม • เพิ่มพื้นที่ป่าไม้ 15.9 ล้านไร่ให้ได้ 25% ของพื้นที่ • จัดให้มีระบบประปาทุกหมู่บ้าน (9,924) • พัฒนาแหล่งน้ำเพื่อการเกษตรให้เต็มศักยภาพพื้นที่ (อีก 5 แสนไร่) • ฟื้นฟูดินเสื่อมสภาพ 23.8 ล้านไร่ ลดพื้นที่ผลกระทบดินเค็ม 31 ล้านไร่ • พัฒนาสภาพแวดล้อมให้น่าอยู่ ท&สวล

  18. ยุทธศาสตร์การพัฒนา วิสัยทัศน์:“คน และชุมชนเข้มแข็ง สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน รู้ทันการปลี่ยนแปลง เศรษฐกิจมีเสถียรภาพเป็นธรรม และทรัพยากรสมบูรณ์ ภายใต้การบริหารจัดการที่มีธรรมาภิบาล” ยุทธศาสตร์ที่ 1: สร้างคนให้มีคุณภาพ แนวทางหลัก • ด้านความรู้: • ยกมาตรฐานโรงเรียนตกเกณฑ์ทุกแห่ง โดยพัฒนาคุณภาพครู การสอน • สนับสนุนอุปกรณ์การเรียนการสอนให้พร้อม • ส่งเสริมการเรียนสายอาชีพ • สนับสนุน อปท.จัดงบสนับสนุนเด็ก 2.2 แสนคน ให้ได้เรียนในระบบ • ด้านสุขภาวะ: • รณรงค์การดูแลรักษาสุขภาพ และปรับพฤติกรรมเสี่ยง • กระจายแพทย์และเครื่องมือลงพื้นที่ชนบทให้สมดุล • พัฒนาระบบส่งต่อผู้ป่วยให้รวดเร็ว • ด้านคุณธรรม: • เร่งสร้างวินัยในบ้าน/ที่ทำงาน/โรงเรียน • ปลูกฝังค่านิยมการทำงานเพื่อส่วนรวม • เร่งเผยแพร่แก่นศาสนาให้เข้าใจ รวมถึงหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง • สร้างระบบ Social Sanction บังคับใช้กฎหมายให้จริงจัง • ยกระดับคุณภาพชีวิต: • สนับสนุน อปท จัดบริการการศึกษาก่อนวัยเรียน • ประปาหมู่บ้านให้ทั่วถึงอีก 9,902 แห่ง • สร้างระบบสวัสดิการชุมชนดูแลคนในชุมชนร่วมกัน

  19. ยุทธศาสตร์ที่ 2: สร้างเศรษฐกิจและสังคมฐานรากให้เข้มแข็ง แนวทางหลัก • สร้างศักยภาพโอกาสการมีงานทำ: โดย • ส่งเสริมทำเกษตรผสมผสาน การปลูกไม้ยืนต้นในไร่นา • จัดสรรสิทธิทำกินในที่ดินให้เกษตรกรยากจนทำเกษตรประณีต • จัดอบรมทักษะการประกอบอาชีพ ทั้งเกษตร และนอกเกษตร • ส่งเสริมการดำเนินชีวิตตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง • สร้างชุมชนให้เข้มแข็ง: โดย • สนับสนุนงบประมาณให้ชุมชนดำเนินการร่วมกันแก้ปัญหาด้วยตนเอง • พัฒนาต่อยอดการผลิตและการตลาดผลิตภัณฑ์ชุมชนให้เป็นวิสาหกิจชุมชน • สนับสนุนความรู้ เทคโนโลยีการผลิตตามPositionที่ชุมชนร่วมกันกำหนด • สร้างระบบสวัสดิการชุมชนเพื่อดูแลคนในชุมชนร่วมกัน • สนับสนุนให้เกิดการทำงานร่วมกัน ระหว่าง อปท. กับชุมชน • สร้างภาวะแวดล้อมให้น่าอยู่โดย • ส่งเสริมกระบวนการประชาธิปไตยในชุมชนให้เกิดกระบวนการร่วมคิดร่วมทำ

  20. ยุทธศาสตร์ที่ 3: ฟื้นฟูทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมให้สมบูรณ์ แนวทางหลัก • เพิ่มพื้นที่ป่าให้ได้ 15.9 ล้านไร่ หรือร้อยละ 25 ของพื้นที่ภาค โดย • สนับสนุนการปลูกป่าเสริมในป่าสงวนเสื่อมโทรม ที่ สปก. และป่าชุมชน • สนับสนุนการดูแลควบคุมพื้นที่เขตป่าอนุรักษ์ และป่าสงวนเสื่อมโทรม เพื่อให้ป่าฟื้นตัวตามธรรมชาติ • เร่งดำเนินการในพื้นที่อีสานตอนล่าง และตอนบนของภาค ที่มีปัญหารุนแรง • ส่งเสริมทำเกษตรอินทรีย์ เพื่อพื้นฟูดิน ยับยั้งการแพร่กระจายดินเค็ม และยกระดับคุณภาพสินค้า • พัฒนาแหล่งน้ำให้ทั่วถึง โดย • พัฒนาแหล่งเก็บน้ำเพื่อการเกษตรเดิมให้เก็บได้มากขึ้น และจัดระบบชลประทานให้เต็มศักยภาพ • จัดหาแหล่งเก็บน้ำใหม่ที่มีศักยภาพตามที่กรมชลประทานระบุ 7.1 ล้านไร่ (โดยเฉพาะพื้นที่ลุ่มน้ำมูลที่ยังมีสัดส่วนการกักเก็บต่ำ) • เพิ่มประสิทธิภาพการจัดการทรัพยากรน้ำแบบลุ่มน้ำ เพื่อแก้ปัญหาน้ำท่วม/ขาดน้ำ • ส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคี เพื่อสนับสนุนให้ อปท.และ ชุมชน สามารถร่วมมือกันดูแลและรักษาทรัพยากรฯได้อย่างมีประสิทธิภาพ

  21. ยุทธศาสตร์ที่ 4: เพิ่มศักยภาพการแข่งขันด้านเศรษฐกิจ แนวทางหลัก • ยกมาตรฐานและประสิทธิภาพการผลิตการเกษตร • ปรับโครงสร้างการผลิตไปสู่สินค้ามูลค่าเพิ่มสูง (อีสานบนผลิต ยาง เมล็ดพันธุ โค/ กลางและล่างผลิตข้าว พืชพลังงานทดแทน ปศุสัตว์) • ส่งเสริมพื้นที่ชลประทาน(หนองหวาย ลำปาว น้ำอูน ลำตะคอง) เป็นเขตเกษตรก้าวหน้า ผลิตสินค้ามูลค่าสูง (เมล็ดพันธุ์พืช ประมง สมุนไพร ฯลฯ) • เร่งผลิตเมล็ดพันธุ์ดี(ข้าว มัน)ให้เพียงพอ เพื่อรักษาความมั่นคงด้านอาหาร • ส่งเสริมผลิตสินค้าปลอดภัย ปลอดสารพิษ • พัฒนาระบบชลประทานสู่พื้นที่การเกษตรให้เต็มศักยภาพ(7.1ล้านไร่) • สนับสนุนสถาบันการศึกษาในภาคเร่งวิจัยพันธุ์พืช สัตว์(มัน ข้าว ยาง อ้อย) และเทคโนฯ การผลิต • เพิ่มคุณภาพผลิตภัณฑ์และประสิทธิภาพการผลิตด้านอุตสาหกรรม • สนับสนุนการเปลี่ยนเครื่องจักรเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ/ต่อยอดผลิตภัณฑ์เดิม(ข้าว มัน อ้อย) • สนับสนุนสถาบันการศึกษา เร่งวิจัย พัฒนาเกษตรแปรรูป/ต่อยอดผลิตภัณฑ์ • ร่วมกับภาคเอกชนจัดอบรมทักษะฝีมือแรงงาน • สร้างถนนเชื่อมสู่อีสาน(Motor Way: บางปะอิน -โคราช) และขยาย EWEC เป็น 4 ช่องจราจรตลอด • พัฒนาระบบบริการขนส่งทางราง (ตั้ง ICD หรือ CY ที่เมืองหลัก ขอนแก่น นครราชสีมา มุกดาหาร) • ส่งเสริม Clustering อุตฯ สิ่งทอเครื่องแต่งกาย(ขก.นม.ชย) อุตฯ อาหาร(นม. ขก. อด.กส.) และ อุตฯ ชิ้นส่วนยานยนต์(นม.)

  22. ยุทธศาสตร์ที่ 4: เพิ่มศักยภาพการแข่งขันด้านเศรษฐกิจ(ต่อ) แนวทางหลัก • เพิ่มศักยภาพด้านท่องเที่ยว • ฟื้นฟูแหล่งท่องเที่ยวหลักให้มีสภาพสมบูรณ์และน่าสนใจ สร้าง Story และ Studio ก่อนเข้าชม • ขอนแก่น กาฬสินธุ์ อุดร เป็นศูนย์ท่องเที่ยวก่อนประวัติศาสตร์(ไดโนเสาร์-บ้านเชียง) • โคราช ชัยภูมิ เลย เป็นศูนย์ท่องเที่ยวเชิงนิเวศ • บุรีรัมย์ เป็นศูนย์ท่องเที่ยวอารยธรรมขอม • อุบลราชธานี มุกดาหาร หนองคาย เป็นฐานท่องเที่ยวเชื่อมกับเพื่อบ้าน • พัฒนาสิ่งอำนวยความสะดวกในแหล่งท่องเที่ยวให้ได้มาตรฐาน • ร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านทำการท่องเที่ยวร่วมกัน เชื่อมโยงมรดกโลก (หลวงพระบาง-บ้านเชียง- เว้-นครวัด) • ร่วมมือทางเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้าน • พัฒนาเมืองและด่านชายแดนที่มุกดาหาร นครพนม ช่องเม็ก ให้มี warehouse, truck terminalและบริการพื้นฐานอื่น • เร่งรัดการพัฒนาสนามบินสะหวันนะเขตให้เป็นสนามบินร่วมไทย-ลาว (Domestic ของไทย) • ปรับระบบการตรวจผ่านคน และสินค้า ให้รวดเร็วขึ้น • เร่งแก้ปัญหาการดำเนินงานตามโครงการ Contract Farming • ส่งเสริมเอกชนหรือการนิคมลงทุนสร้าง Distribution Center ที่มุกดาหาร

  23. ยุทธศาสตร์ที่ 5: สร้างธรรมาภิบาลการบริหารจัดการภาครัฐ แนวทางหลัก • สนับสนุนชุมชนดำเนินงานในรูปแบบประชาคม • สนับสนุนภาคประชาชน/ชุมชนให้มีบทบาทและทำงานกับภาครัฐมากขึ้น • ส่งเสริมการทำงานของภาครัฐในรูปแบบคณะกรรมการหลายภาคี • เร่งโอนภารกิจให้ อบต./ชุมชน ดำเนินงานเอง • บังคับใช้กฎหมายอย่างจริงจังและลงโทษสูงสุดตามที่กฎหมายกำหนด

More Related