1 / 13

การเตรียมพร้อมผู้ป่วยก่อนการส่งต่อ

การเตรียมพร้อมผู้ป่วยก่อนการส่งต่อ. หน่วยศัลยกรรมโรงพยาบาลสรรพสิทธิ์. ความสำคัญของการเตรียมพร้อมผู้ป่วยทางศัลยกรรม. การรับช่วงต่อในการดูแลคนไข้เป็นไปด้วยความสะดวกรวดเร็ว ไม่เกิดการทำงานซ้ำซ้อน เช่น หากทำ CT หรือเจาะตรวจบางอย่างแล้ว ไม่ต้องทำใหม่

winona
Download Presentation

การเตรียมพร้อมผู้ป่วยก่อนการส่งต่อ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การเตรียมพร้อมผู้ป่วยก่อนการส่งต่อการเตรียมพร้อมผู้ป่วยก่อนการส่งต่อ หน่วยศัลยกรรมโรงพยาบาลสรรพสิทธิ์

  2. ความสำคัญของการเตรียมพร้อมผู้ป่วยทางศัลยกรรมความสำคัญของการเตรียมพร้อมผู้ป่วยทางศัลยกรรม • การรับช่วงต่อในการดูแลคนไข้เป็นไปด้วยความสะดวกรวดเร็ว • ไม่เกิดการทำงานซ้ำซ้อน เช่น หากทำ CT หรือเจาะตรวจบางอย่างแล้ว ไม่ต้องทำใหม่ • ผู้ป่วยใช้เวลาอยู่ในสถานพยาบาลสั้นที่สุด กลับไปใช้ชีวิตปกติเร็วที่สุด • เพื่อความปลอดภัยอันเป็นผลประโยชน์สูงสุดของผู้ป่วย

  3. ประเภทของผู้ป่วยที่ได้รับการส่งต่อประเภทของผู้ป่วยที่ได้รับการส่งต่อ • ฉุกเฉินมาก(Immediate Life Threatening) • กึ่งฉุกเฉิน(Urgency) • ไม่รีบด่วน(Elective case)

  4. Immediate Life Threatening • ภาวะฉุกเฉินเร่งด่วนถึงชีวิต เช่น Ruptured AAA, Ruptured hepatoma, Septic shock from surgical condition(peritonitis, Necrotizing soft tissue infection), Acute limb ishemia • Stabilization • ติดต่อปลายทาง

  5. Stabilization • Air way & Breathing • ผู้ป่วยในกลุ่มนี้มักมีปัญหา severe metabolic acidosis จาก sepsis หรือ hemodynamic unstable ตามด้วยการ compensate tachypnea • มักจะช่วยด้วย Intubation and Respiratory support เบื้องต้น

  6. Stabilization • Circulation • Depleted Intravascular and Microvascular Volume • Mild degree ~3% body weight • Moderate degree ~6% body weight • Severe degree ~9% body weight • กรณีของ Ruptured AAA หรือ Ruptured hepatomaสิ่งที่เสียคือเลือดที่ออกในท้องอาจต้อง resuscitation แบบ trauma

  7. Fluid • Normal Saline Solution ไม่ใช่สารน้ำอย่างเดียวในจักรวาล • pH 5.5 – 6 ในขณะที่คนไข้มีภาวะacidosis อยู่ • มีทางเลือกอื่น isotonic ที่เป็น Balanced salt formula เช่น Ringer’s solution หรือ Acetar • Trauma ใน ATLS ในระยะ acute ไม่มีสารน้ำอื่นนอกจาก RLS, Acetar

  8. Adjunct • Naso-gastric tube • Decompress stomach • Foley catheter

  9. โทรแจ้งผู้รับ refer • เตรียมทีมที่ผู้ที่จะรับผู้ป่วย

  10. Urgency case • ผู้ป่วยที่ต้องการการรักษาเร็วแต่ไม่เร่งด่วนมากเช่น peritonitis; Peptic ulcer perforation, Ruptured appendicitis • Resuscitation ผู้ป่วยระหว่างเดินทาง • เช่น ผู้ป่วยชาย หนัก 60 kg diagnosis: PU perforation สารน้ำที่ให้คงจะไม่ใช่ 5%D/N/2 rate 80 ml/hrระหว่าง refer 3hrแต่ ควรจะเป็น LRS rate ปรับตาม degree of dehydration • Retain NG, Foley catheter; decompress stomach เตรียมพร้อมสำหรับผ่าตัดต่อไป

  11. Urgency case • ถ้ามีเวลา film acute abdomen series; CXR, Abd supine, Abd upright • เพื่อเป็นการลดเวลาเตรียมคนไข้ในโรงพยาบาลสรรพสิทธิ์ • บ่อยครั้ง ภาพ X-ray Acute abdomen โรงพยาบาลสรรพสิทธิ์มีแค่ 2ภาพ • หากผู้ป่วยมีสายcatheter ใดๆ ไม่ควร clamp สาย ระหว่างrefer

  12. Urgency case • โดยทั่วไปไม่ต้องโทรแจ้ง ยกเว้น case ที่เคยได้รับการผ่าตัดมาแล้วเกิดปัญหาต้องการให้ดูต่อ • ***ถ้าผู้ป่วย ทำ imaging มาแล้วส่ง film มาด้วย***

  13. Elective case • Case ที่ไม่มีความรีบด่วนกรุณาส่งมาเป็น OPD case • เช่น Liver mass, Cholangiocarcinomaที่ไม่มี cholangitis, Simple inguinal hernia • รายที่เคยทำ biopsy หรือ CT imaging ส่ง film หรือ official report มาพร้อมผู้ป่วย

More Related