1 / 34

สำนักความมั่นคงกิจการภายในประเทศ สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ

นโยบายของรัฐเกี่ยวกับการจัดการ ปัญหาสถานะและสิทธิของบุคคล. สำนักความมั่นคงกิจการภายในประเทศ สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ. ประเด็นการบรรยาย. 1. ที่มา / สาเหตุ 2. กลุ่มคนที่มีปัญหาสถานะและสิทธิในประเทศไทย 3. ปัญหา / ผลกระทบ 4. ยุทธศาสตร์การจัดการปัญหาสถานะและสิทธิ

Download Presentation

สำนักความมั่นคงกิจการภายในประเทศ สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. นโยบายของรัฐเกี่ยวกับการจัดการนโยบายของรัฐเกี่ยวกับการจัดการ ปัญหาสถานะและสิทธิของบุคคล สำนักความมั่นคงกิจการภายในประเทศ สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ

  2. ประเด็นการบรรยาย 1. ที่มา / สาเหตุ 2. กลุ่มคนที่มีปัญหาสถานะและสิทธิในประเทศไทย 3. ปัญหา / ผลกระทบ 4. ยุทธศาสตร์การจัดการปัญหาสถานะและสิทธิ ของบุคคล (มติ ครม. 18 ม.ค. 2548) 5. การดำเนินการในระยะต่อไป

  3. ลาว 1,810 กม. พม่า 2,401 กม. ช่องทาง/ทางบก700 กว่าช่องทาง กัมพูชา 798 กม. พรมแดนทางบก5,656กม. อาณาเขตทางทะเล 2,630 กม. ที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ มาเลเซีย 647 กม.

  4. กลุ่มที่อพยพมาจากนอกประเทศกลุ่มที่อพยพมาจากนอกประเทศ เป็นฝ่ายตรงกันข้ามกับ รัฐบาลของประเทศเพื่อนบ้าน ประเทศต้นทางไม่รับรอง สถานะผลักดันออก กดขี่ การหนีภัยสงคราม การแสวงหาโอกาสชีวิตที่ ดีกว่าเนื่องจากความต่าง ทางเศรษฐกิจ ความขัดแย้ง ทางการเมือง สาเหตุการอพยพ ประชาชนบริเวณนั้นเป็นเครือญาติ และเชื้อชาติเดียวกัน จึงอพยพไป มาหาสู่กัน

  5. ปัญหาการอพยพและผลกระทบต่อปัญหาการอพยพและผลกระทบต่อ ความมั่นคงของชาติ การเรียกร้องขอมีสถานะ และสิทธิต่าง ๆ โรคติดต่อร้ายแรง ภาระค่าใช้จ่ายด้านสาธารณสุข ความสงบเรียบร้อย ความหวาดระแวง ของประเทศเพื่อนบ้าน กรณีปัญหากลุ่มต่อต้าน ผลกระทบด้านความมั่นคง ความขัดแย้งกับคนไทย การตั้งรกราก สายลับ/การจารกรรม ปัญหาการล่วงละเมิด ภาพลักษณ์ทางลบต่อ ประชาคมโลก

  6. แนวคิดการแก้ปัญหาที่ผ่านมาแนวคิดการแก้ปัญหาที่ผ่านมา • ดำเนินการใน 3 ส่วน(เชิงรับ) • สกัดกั้นผลักดันปราบปราม จับกุม ส่งกลับตามกฎหมาย • ให้อยู่ชั่วคราวเพื่อรอการส่งกลับเนื่องจากเหตุผลด้านมนุษยธรรม • รับรองสถานะให้อยู่อาศัยอย่างถูกต้อง/ถาวร ด้วยการทำประโยชน์/ผสมกลมกลืน

  7. บทบาทของ สมช. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • - มท. (กำหนดสถานะ / ควบคุม • การอยู่อาศัย) • - ฝ่ายทหาร (สกัดกั้น) • - ตำรวจ (จับกุม / ส่งกลับ) • - ศธ. สธ. รง. พม. ยธ. (บริการด้าน • มนุษยธรรม / สิทธิขั้นพื้นฐาน) • สมช. • - กำหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ และแนวทางดำเนินการ โดยเฉพาะต่อกลุ่มที่ก่อให้เกิดผลกระทบด้านความมั่นคง • - กำหนดองค์กร กลไก บริหารจัดการ อำนวยการ ประสานงาน กำกับดูแล ๙

  8. ผู้หลบหนีเข้าเมืองในภาพรวม (ประมาณ 2.5 ล้านคนเศษ) 1 2 4 3 กลุ่มที่อาศัยอยู่มานาน ครม. มีมติรับรองสถานะให้อยู่อาศัยอย่างถาวร กลุ่มที่ได้รับการผ่อนผันให้อยู่ชั่วคราวเพื่อรอกระบวนการแก้ไขปัญหา กลุ่มหลบหนีเข้าเมืองอื่น ๆ กรณีทั่วไป (overstay ไม่มาต่อวีซ่า) กลุ่มที่ทางราชการมีนโยบายดูแลเป็น การเฉพาะ ได้รับการสำรวจช่วงปี 19 - 42/ มีบัตรสี , บัตรประจำตัว ผู้ไม่มีสัญชาติไทย แรงงานต่างด้าวหลบหนี เข้าเมือง 3 สัญชาติใน ระบบผ่อนผัน ชกน./ กลุ่มชาติพันธุ์ 14 กลุ่ม ได้รับการสำรวจช่วงปี 49 - 51/ มีบัตรประจำตัวผู้ไม่มี สถานะทางทะเบียน แรงงานที่ไม่ผ่านการพิสูจน์สัญชาติ / ประเทศต้นทาง ไม่รับกลับ ผู้หนีภัยการสู้รบจากพม่า , ม้งลาวอพยพ จ.เพชรบูรณ์ , โรฮิงยา , เกาหลีเหนือ ยุทธศาสตร์การบริหาร แรงงานต่างด้าวทั้งระบบ (มติ ครม. 2 มี.ค. 47) กบร./รง. เป็นฝ่ายเลขานุการ ยุทธศาสตร์การจัดการปัญหา สถานะและสิทธิของบุคคล (มติ ครม. 18 ม.ค. 48) นอส./สมช. เป็นฝ่ายเลขานุการ ปราบปรามจับกุมตาม กม. ว่าด้วยคนเข้าเมืองในระบบปกติ นโยบายดูแลเป็นการเฉพาะ สภา มช. , สมช.

  9. ชกน. 14 กลุ่มที่อาศัยอยู่มานาน และ ครม. มีมติรับรองสถานะให้อยู่ถาวร

  10. กลุ่มที่ได้รับการผ่อนผันให้อยู่ชั่วคราว(ได้รับการสำรวจช่วงปี 2519-2542)

  11. กลุ่มที่ได้รับการผ่อนผันให้อยู่ชั่วคราว(ได้รับการสำรวจช่วงปี 2549-2551)

  12. แนวทางการแก้ปัญหาในปัจจุบันแนวทางการแก้ปัญหาในปัจจุบัน ชกน. / กลุ่มชาติพันธุ์ที่ได้รับการรับรองสถานะให้อาศัยอยู่ถาวร ชกน. /กลุ่มชาติพันธุ์ที่ได้รับการผ่อนผันให้อยู่ชั่วคราว ยุทธศาสตร์การจัดการปัญหาสถานะและสิทธิของบุคคล (มติ ครม. 18 ม.ค. 2548) นอส. / สมช. เป็นฝ่ายเลขานุการ กลุ่มคนไร้สถานะอื่น ๆ ที่ไม่สามารถกลับประเทศต้นทาง(รวมถึงแรงงานต่างด้าวที่ไม่ผ่านการพิสูจน์สัญชาติ /กลับ ประเทศต้นทางไม่ได้)

  13. ยุทธศาสตร์การจัดการปัญหาสถานะและสิทธิของบุคคล (มติ ครม. 18 ม.ค. 2548)  ยุทธศาสตร์การกำหนดสถานะ  ยุทธศาสตร์การให้สิทธิขั้นพื้นฐาน  ยุทธศาสตร์การดำเนินการเชิงรุกและเชิง สร้างสรรค์เพื่อป้องกันการอพยพเข้ามาใหม่  ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการ

  14. ยุทธศาสตร์การกำหนดสถานะมท. เจ้าภาพหลัก สัญชาติไทย สถานะ บุคคลต่างด้าวเข้าเมืองโดยชอบด้วยกฎหมาย ผ่อนผันให้อาศัยอยู่ชั่วคราว • สำรวจ จัดทำทะเบียนประวัติและเอกสารแสดงตน • ปรับปรุงหลักเกณฑ์ / เงื่อนไขการพิจารณา / ลดขั้นตอน • กำหนดกรอบการพิจารณากำหนดสถานะ กลุ่มเป้าหมาย 6 กลุ่ม • ใช้กระบวนการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง

  15. กลุ่มเป้าหมายที่จะได้รับการพิจารณากำหนดสถานะ 6 กลุ่ม ลูกได้สัญชาติไทย แปลงสัญชาติ มีเชื้อสายไทย กลุ่ม 1: ผู้ที่อพยพเข้ามาในประเทศกลับประเทศต้นทางไม่ได้ / มีชื่อในระบบทะเบียน อยู่นานอย่างน้อย 10 ปี นับถึงวันที่ ครม. มีมติเห็นชอบยุทธศาสตร์ ฯ (เข้ามาก่อน 18ม.ค. 38) บุคคลต่างด้าวเข้าเมือง โดยชอบด้วย กม. ไม่มีเชื้อสายไทย เกิดและอาศัยในไทย / จบการศึกษาะดับ อุดมศึกษาในไทย ระดับอุดมศึกษา กลุ่ม 2: เด็ก / บุคคลที่เรียนอยู่ในสถานศึกษา ใช้หลักเกณฑ์กลุ่ม 1 ระดับต่ำกว่าอุดมศึกษา ได้สัญชาติไทย ขาดบุพการี / ชื่อในทะเบียน / อยู่นานอย่างน้อย 10 ปี นับถึงวันที่ ครม. มีมติเห็นชอบยุทธศาสตร์ ฯ (อยู่มาก่อน 18 ม.ค. 38) กลุ่ม 3: บุคคลไร้รากเหง้า ขาดบุพการี / เป็นบุตรบุญธรรมของบุคคล สัญชาติไทย

  16. กลุ่มเป้าหมายที่จะได้รับการพิจารณากำหนดสถานะ 6 กลุ่ม ได้สัญชาติไทยเป็นรายกรณี กลุ่ม 4: ผู้ทำคุณประโยชน์ ให้อยู่ชั่วคราวและกำหนดสถานะโดยใช้กระบวนการพิจารณากลุ่ม 1 - 4 กลุ่ม 5: แรงงานต่างด้าวที่จดทะเบียนแต่ไม่ผ่านการพิสูจน์สัญชาติ / กลับประเทศต้นทางไม่ได้ คณะอนุกรรมการฯพิจารณา กำหนดสถานะไม่ได้ ให้อยู่ชั่วคราว กลุ่ม 6: คนต่างด้าวอื่น ๆ ที่ไม่เข้าหลักเกณฑ์ / กลับประเทศต้นทางไม่ได้ ส่งคณะอนุกรรมการฯ พิจารณา

  17. ยุทธศาสตร์การให้สิทธิขั้นพื้นฐานยุทธศาสตร์การให้สิทธิขั้นพื้นฐาน มท. สธ. ศธ. รง. พม. ยธ. กรณียังไม่มีสถานะถูกต้อง แต่มีชื่อในระบบทะเบียน / อยู่ระหว่างการพิจารณา ให้สิทธิขั้นพื้นฐาน หลักฐานรับรองการเกิด / การศึกษา สาธารณสุข / การทำงาน ให้สิทธิตาม หลักมนุษยธรรม กรณีไม่มีชื่อใน ระบบทะเบียน สำรวจและจัดทำทะเบียน ตรวจสอบภูมิลำเนา / ส่งกลับไม่ได้ ให้เข้าสู่กระบวนการ กำหนดสถานะ

  18. ยุทธศาสตร์การดำเนินการเชิงรุกและเชิงสร้างสรรค์เพื่อป้องกันการอพยพเข้ามาใหม่ยุทธศาสตร์การดำเนินการเชิงรุกและเชิงสร้างสรรค์เพื่อป้องกันการอพยพเข้ามาใหม่ กห.กต.สตช. มท. • ประสานร่วมมือประเทศเพื่อนบ้าน พัฒนาคน / ชุมชน • ชายแดน • ให้องค์การระหว่างประเทศช่วยเหลือประชาชนในประเทศ ต้นทาง • เข้มงวดการป้องกัน / สกัดกั้น • เข้มข้นการปฏิบัติ / ควบคุมทางทะเบียน / การแจ้งเกิด/ • ย้ายที่อยู่

  19. สมช. เป็นหน่วยงานหลักในการอำนวยการ ประสานงาน และ ติดตามผล หน่วยงานที่เกี่ยวข้องหลัก มท. / รง. / กต. / สตช. / กห. / ศธ. / สธ. / ยธ. / พม. กำหนดแผนงาน / โครงการ / มาตรการเร่งด่วน, มาตรการระยะ ยาว มี นอส. / คณะอนุกรรมการ , คณะทำงาน ช่วย นอส. ปฏิบัติงาน เป็นกลไกขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ฯ ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการ สมช.

  20. คณะกรรมการนโยบายและอำนวยการจัดการคณะกรรมการนโยบายและอำนวยการจัดการ ปัญหาสถานะและสิทธิของบุคคล (นอส.) รอง นรม. ที่ได้รับมอบหมาย ประธาน /รมว.มท. รองประธาน เลขาธิการ สมช. เลขานุการ (ผช.3คน) องค์ประกอบ ปลัด กห. กต. พม. มท. ยธ. รง. ศธ. สธ. / ผบ.ทหารสูงสุด ผบ.ทบ. ผบ.ทร. ผบ.ตร. ผอ.สขช. ลธ.กอ.รมน. / อธิบดีกรมการปกครอง อธิบดีกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ / ผู้ทรงคุณวุฒิ 3 คน อำนาจหน้าที่หลัก เสนอแนะนโยบาย ยุทธศาสตร์ และมาตรการแก้ปัญหาสถานะและสิทธิต่อ ครม. คณะอนุกรรมการอำนวยการ ประสานงาน กำกับดูแล และติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ ฯ คณะอนุกรรมการกำกับดูแลการสำรวจเพื่อ จัดทำเอกสารแสดงตน และเร่งรัดให้สถานะ ตามยุทธศาสตร์ ฯ อธิบดีกรมการปกครอง ประธาน เลขาธิการ สมช.ประธาน /รองเลขาธิการ สมช. รองประธาน ผอ.สภน.สมช. เลขานุการ (ผช.2คน) ผอ.สน.มน.ปค. เลขานุการ (ผช.2คน) องค์ประกอบผู้แทน กห. กต. พม. มท. ยธ. รง. ศธ. สธ. สขช. บก.ทท. ทบ. ทร. สตช. กอ.รมน. กรมการปกครอง / ผู้ทรงคุณวุฒิ 3 คน อำนาจหน้าที่หลักอำนวยการ ประสานงาน กำกับดูแล และติดตาม ประเมินผลการดำเนินงานของส่วนราชการที่เกี่ยวข้องในการแปลง ยุทธศาสตร์ ฯ ไปสู่การปฏิบัติและกลั่นกรองแผนงาน/โครงการ มาตรการ และหลักเกณฑ์การกำหนดสถานะบุคคลก่อนเสนอ นอส. องค์ประกอบผู้แทน พม. มท. ยธ. รง. ศธ. สธ. สขช. สนง.คกก. สิทธิมนุษยชน ฯ สมช. บก.ทท. ทบ. ทภ.1-4 สตช. กอ.รมน. สน.บท. / ผู้ทรงคุณวุฒิ 2 คน อำนาจหน้าที่หลักอำนวยการ ประสานงาน กำกับดูแล และ ดำเนินการสำรวจจัดทำเอกสารแสดงตน และเร่งรัดการกำหนด สถานะบุคคล

  21. ผลการแก้ปัญหาสถานะและสิทธิผลการแก้ปัญหาสถานะและสิทธิ • สำรวจจัดทำทะเบียนประวัติและเอกสารแสดงตนให้แก่กลุ่มเป้าหมาย ที่มีปัญหาสถานะ • ปรับปรุงฐานข้อมูลกลุ่มที่จดทะเบียนไว้เดิมเป้าหมาย 396,724 คน (มาแสดงตัว 196,606คน) เพื่อเร่งรัดกำหนดสถานะ • สำรวจกลุ่มที่ตกสำรวจในอดีต - กลุ่มอยู่มานาน127,300 คน - กลุ่มเด็กนักเรียน 64,893 คน - กลุ่มคนไร้รากเหง้า 2,977คน - กลุ่มคนทำประโยชน์ 23 คน รวม 1.9แสนคน อยู่ระหว่างการเร่งรัดกำหนดสถานะตามนโยบายและยุทธศาสตร์ ฯ

  22. ผลการแก้ปัญหาสถานะและสิทธิผลการแก้ปัญหาสถานะและสิทธิ • การให้สิทธิ • การศึกษา (มติ ครม. 5 ก.ค. 2548) - ทุกคนที่อยู่ในประเทศไทยมีสิทธิเข้ารับการศึกษา - ยกเว้นผู้หนีภัยการสู้รบจากพม่าให้เรียนอยู่ในพื้นที่ พักพิงชั่วคราว • การทำงาน พ.ร.บ. การทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ. 2551 เปิดโอกาสให้ทำงานได้ • สาธารณสุข ดูแลตามหลักมนุษยธรรม ยกเว้นกลุ่มที่จดทะเบียนแล้ว อยู่ระหว่างการจัดระบบให้ชัดเจนเป็นการเฉพาะ

  23. ปัญหาอุปสรรคการดำเนินการตามยุทธศาสตร์ฯปัญหาอุปสรรคการดำเนินการตามยุทธศาสตร์ฯ • กลุ่มเป้าหมายตกสำรวจ • กลุ่มที่มิใช่เป้าหมายมาขอรับการสำรวจจัดทำทะเบียนประวัติ • และบัตร เพื่อเข้ามาแสวงประโยชน์ในประเทศไทย • กลุ่มเป้าหมายให้ข้อมูลเป็นเท็จเกิดข้อจำกัดในการพิสูจน์ทราบ • ตัวบุคคล ส่งผลต่อการสำรวจและพิจารณากำหนดสถานะ • ปัญหาการทุจริตของเจ้าหน้าที่ • กลุ่มเป้าหมายไม่มาเข้ารับการสำรวจ และยื่นคำร้องเพื่อขอรับสถานะ • จนท.ขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางปฏิบัติ / ไม่กล้าตัดสินใจ • รับรองสถานะ • ผู้มีอำนาจไม่อนุมัติการให้สถานะ

  24. การขยายกรอบระยะเวลาการดำเนินการตามยุทธศาสตร์ฯการขยายกรอบระยะเวลาการดำเนินการตามยุทธศาสตร์ฯ • เดิมยุทธศาสตร์ ฯ กำหนดกรอบระยะเวลาการดำเนินการไว้ 2 ปี (18 ม.ค. 2548 – • 17 ม.ค. 2550) • มีปัญหาอุปสรรค / ข้อจำกัดโดยเฉพาะเรื่องการสำรวจ ทำให้มีการขอขยายกรอบ • ระยะเวลาครั้งแรก (มติ ครม. 20 ก.พ. 2550) • ครั้งล่าสุด มติ ครม. 3 พ.ย. 2552 ขยาย 2 ปี นับตั้งแต่วันที่ ครม. เห็นชอบ • (3 พ.ย. 2552 – 2 พ.ย. 2554) เพื่อดำเนินการกิจกรรม 4 เรื่อง คือ • 1. การสำรวจกลุ่มเป้าหมายที่ตกสำรวจ • 2. การเร่งรัดกำหนดสถานะบุคคล • 3. พิจารณาให้สิทธิแก่กลุ่มที่อยู่ระหว่างกระบวนการแก้ปัญหา • 4. สกัดกั้นป้องการเข้ามาใหม่

  25. นโยบายต่อบุตรของแรงงานต่างด้าวหลบหนีเข้าเมืองนโยบายต่อบุตรของแรงงานต่างด้าวหลบหนีเข้าเมือง 3 สัญชาติ (พม่า ลาว กัมพูชา) • มติ ครม. 3พ.ย. 2552 • ให้กรมการปกครองรับรายงานตัวเพื่อจัดทำทะเบียนประวัติให้แก่บุตร (อายุไม่เกิน 15ปี) ของแรงงานต่างด้าว ฯ ที่จดทะเบียนในระบบผ่อนผันตามมติ ครม. เมื่อ 26พ.ค. 2552 และ 28ก.ค. 2552 • ผ่อนผันให้บุตรดังกล่าวอยู่ชั่วคราวเท่าที่บิดาและมารดาได้รับอนุญาตให้ทำงานและผ่อนผันให้อยู่ชั่วคราว

  26. แนวทางดำเนินการในระยะต่อไปแนวทางดำเนินการในระยะต่อไป • มติ สภา มช. เมื่อ 27 ธ.ค. 2550 เห็นควรให้มีการทบทวน เพื่อนำไปสู่การจัดทำยุทธศาสตร์แก้ปัญหาผู้หลบหนีเข้าเมืองทั้งระบบ • มติ สภา มช. เมื่อ 17 ส.ค. 2552 เห็นชอบหลักการกรอบความคิดการจัดทำยุทธศาสตร์แก้ปัญหาผู้หลบหนีเข้าเมืองทั้งระบบ - ความสมดุลระหว่างการรักษาผลประโยชน์ของชาติและความมั่นคงกับความจำเป็นทางเศรษฐกิจ และหลักสิทธิมนุษยชน - การบริหารจัดการเชิงบูรณาการ / เอกภาพ - เน้นการแก้ปัญหาเชิงรุก - ป้องกันการอพยพเข้ามาใหม่ - เชื่อมโยงฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้อง • สมช. อยู่ระหว่างดำเนินการ

  27. กรณีศึกษา : ปัญหาสถานะบุคคลของ ด.ช.หม่อง ฯ • เกิดที่ อ.ไชยปราการ จ.เชียงใหม่ เมื่อ 2 พ.ค. 40 • เป็นบุตรผู้หลบหนีเข้าเมืองกลุ่มแรงงาน ต่างด้าวที่เดินทางมาจากพม่า สถานะที่ 2 ยุทธศาสตร์การจัดการปัญหา สถานะและสิทธิของบุคคล (มติ ครม. 18 ม.ค. 48) สถานะที่ 1 ยุทธศาสตร์การบริหารแรงงานต่างด้าว ทั้งระบบ / แนวทางดำเนินการ (มติ ครม. 2 มี.ค. 47 และ 27 เม.ย. 47) • เป็นผู้ได้รับการสำรวจจัดทำทะเบียนประวัติเป็นบุคคลที่ไม่มีสถานะทางทะเบียนกลุ่มเด็ก และบุคคลที่เรียนอยู่ในสถานศึกษาของประเทศไทย (กลุ่มเป้าหมายที่ 2 ตามยุทธศาสตร์ ฯ) เมื่อปี 48 • มีเลขประจำตัวขึ้นต้นด้วยเลข 0 • ได้รับการผ่อนผันให้อยู่ชั่วคราวระหว่างรอ การแก้ปัญหาสถานะ (มติ ครม. 10 ม.ค. 49) • ปัจจุบันมีประกาศ มท. กำหนดพื้นที่อยู่อาศัยและมาตรการควบคุม • เป็นผู้ได้รับการจดทะเบียนเป็นผู้ติดตาม (บุตร) แรงงานต่างด้าวที่ได้รับการจดทะเบียนผ่อนผันให้อยู่อาศัยและทำงานเป็นการชั่วคราวตั้งแต่ปี 47 • มีเลขประจำตัวขึ้นต้นด้วยเลข 00 • ทั้งครอบครัวได้รับการผ่อนผันให้อยู่ชั่วคราว เพื่อรอการส่งกลับจนถึง 28 ก.พ. 53

  28. ข้อพิจารณาและข้อหารือของกรมการปกครองข้อพิจารณาและข้อหารือของกรมการปกครอง ประเด็นการดำเนินโครงการสำรวจจัดทำทะเบียนประวัติและบัตรประจำตัวบุคคลบนพื้นที่สูงและชุมชนบนพื้นที่สูง (โครงการมิยาซาว่า) เมื่อปี 42 • มิได้ดำเนินการกับ ด.ช.หม่อง และครอบครัว • ถ้าได้รับการสำรวจ จะเป็นกลุ่มเป้าหมายภายใต้ยุทธศาสตร์ การจัดการปัญหาสถานะและสิทธิของบุคคล • ลงรายการสัญชาติว่าเป็นพม่า (เป็นการบันทึกตามที่ได้รับแจ้ง) • จะเป็นพม่าจริงหรือไม่ คงต้องใช้กระบวนการพิสูจน์สัญชาติกับประเทศต้นทาง ประเด็นการบันทึกในรายการทะเบียนประวัติ ด.ช.หม่อง และครอบครัว • กำหนดให้มีการเร่งรัดการกำหนดสถานะแก่กลุ่มเป้าหมายเด็กและบุคคลที่เรียนอยู่ในสถานศึกษาของประเทศไทย แต่ไม่มีสถานะที่ไม่ถูกต้องตามกฎหมาย • กรมการปกครองเห็นว่า เป็นข้อความที่มีความหมายคลุมเครือ ประเด็นการกำหนดสถานะตามยุทธศาสตร์ การจัดการปัญหาสถานะและสิทธิของบุคคล • กฎหมายกำหนดให้ต้องจำหน่ายรายการทะเบียนที่ไม่ถูกต้องออก และให้เหลือรายการเดียว • นำมาสู่ข้อหารือว่าจะต้องคงรายการใดและจำหน่ายรายการใด ประเด็นสถานะ ด.ช.หม่อง กับการดำเนินการตามกฎหมายว่าด้วยการทะเบียนราษฎร ประเด็นเด็กที่มีปัญหาสถานะเช่นเดียวกับ กรณี ด.ช.หม่อง • น่าจะมีอยู่ในระบบการทะเบียนราษฎรอีกจำนวนหนึ่ง • ควรจะได้รับการจัดทำทะเบียนประวัติในสถานะใด

  29. ข้อพิจารณาเบื้องต้น

  30. ประเด็นพิจารณา

  31. สรุปผลการประชุมส่วนราชการที่เกี่ยวข้องเมื่อ 5 ต.ค. 2552 • บิดาและมารดาของ ด.ช.หม่อง ฯ มิได้เข้ารับการสำรวจภายใต้ยุทธศาสตร์การจัดการปัญหาสถานะและสิทธิของบุคคลทั้งที่มีโอกาส บิดาและมารดาของ ด.ช.หม่อง ฯ จดทะเบียนเป็นแรงงานต่างด้าวในระบบผ่อนผันต่อเนื่องตั้งแต่ปี 47 • การที่ ด.ช.หม่อง ฯ ได้รับการสำรวจภายใต้ยุทธศาสตร์การจัดการปัญหาสถานะและสิทธิของบุคคลกลุ่มเด็กนักเรียนเป็นความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนในทางปฏิบัติ ด.ช.หม่อง ฯ มีสถานะเป็นบุตรแรงงาน ต่างด้าวในระบบผ่อนผันภายใต้ยุทธศาสตร์การบริหารแรงงานต่างด้าวทั้งระบบ • หากไม่ผ่านการพิสูจน์สัญชาติ อาจนำครอบครัว ด.ช.หม่อง ฯ เข้าสู่กระบวนการแก้ปัญหาตามยุทธศาสตร์การจัดการปัญหาสถานะและสิทธิของบุคคล บิดาและมารดาของ ด.ช.หม่อง ฯ ควรเข้าสู่กระบวนการพิสูจน์สัญชาติให้เสร็จสิ้นก่อน ซึ่งจะมีผลเชื่อมโยงกับสถานะของบุตร

  32. สรุปผลการประชุมคณะกรรมการอำนวยการ ประสานงาน กำกับดูแลและติดตามประเมินผลตามยุทธศาสตร์ ฯ เมื่อ 9 พ.ย. 2552 1 2 กรณี ด.ช.หม่อง ฯ และกลุ่มเด็กอื่น ๆ ที่มีลักษณะเงื่อนไขเดียวกัน กรณีบุตรแรงงานต่างด้าวอื่น ๆ ที่จดทะเบียนและ มี 2 สถานะ ยืนยันสถานะปัจจุบันคือบุตรแรงงานต่างด้าวในระบบผ่อนผัน หากบิดาและมารดามิได้มา จดทะเบียน / ต่ออายุแรงงานต่างด้าวในระบบผ่อนผัน รอบิดาและมารดาเข้าสู่กระบวนการพิสูจน์สัญชาติ บุตรจะมีสถานะตามกฎกระทรวงภายใต้ พ.ร.บ.สัญชาติ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 มท. อยู่ระหว่าง พิจารณา

  33. ข้อพิจารณาของฝ่ายเลขานุการข้อพิจารณาของฝ่ายเลขานุการ • ปัญหาสถานะของ ด.ช.หม่อง ฯ สะท้อนถึงความไม่สอดรับระหว่างข้อ • กฎหมายและแนวคิดด้านสิทธิมนุษยชน • บิดาและมารดาของ ด.ช.หม่อง ฯ รวมถึงแรงงานต่างด้าวอื่น ๆ ที่มีลักษณะ • เดียวกันควรต้องเข้าสู่กระบวนการพิสูจน์สัญชาติให้เสร็จสิ้นก่อน กรณีไม่ • ผ่านอาจนำเข้าสู่การแก้ปัญหาตามยุทธศาสตร์การจัดการปัญหาสถานะและ • สิทธิของบุคคล • ความสามารถในการแข่งขันเครื่องบินกระดาษพับของ ด.ช.หม่อง ฯ อาจ • เข้าข่ายผู้มีคุณสมบัติทำคุณประโยชน์ให้แก่ประเทศภายใต้ยุทธศาสตร์ ฯ • ขึ้นอยู่กับหลักเกณฑ์ที่จะพิจารณาในโอกาสต่อไป

  34. ประเด็นพิจารณาของที่ประชุมประเด็นพิจารณาของที่ประชุม • การยืนยันสถานะบุคคลของ ด.ช.หม่อง ฯ และกลุ่มเด็ก อื่น ๆ ที่มีลักษณะและเงื่อนไขเช่นเดียวกันว่าเป็นบุตรแรงงานต่างด้าวที่จดทะเบียนในระบบผ่อนผัน • สถานะของบุตรแรงงานต่างด้าวอื่น ๆ ที่จดทะเบียนเป็นกลุ่มเป้าหมายตามยุทธศาสตร์การจัดการปัญหาสถานะและสิทธิของบุคคล แต่บิดาและมารดาไม่ได้จดทะเบียนหรือต่ออายุในระบบผ่อนผัน

More Related