1 / 58

กองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบ สถาบันการเงิน ( Financial Institution Development Fund : FIDF )

กองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบ สถาบันการเงิน ( Financial Institution Development Fund : FIDF ). สาเหตุการเกิดภาวะเศรษฐกิจเติบโตและตกต่ำใน ปี พ.ศ. 2531- 41. - ช่วงปี พ.ศ. 2531-2538 เศรษฐกิจไทยเติบโต โดยเฉลี่ยร้อยละ 8.6 ต่อปี - รายได้ประชากรเพิ่มมากขึ้น ส่งสินค้าออกได้มากขึ้น.

waneta
Download Presentation

กองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบ สถาบันการเงิน ( Financial Institution Development Fund : FIDF )

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบ สถาบันการเงิน (Financial Institution Development Fund : FIDF)

  2. สาเหตุการเกิดภาวะเศรษฐกิจเติบโตและตกต่ำใน ปี พ.ศ. 2531- 41 - ช่วงปี พ.ศ. 2531-2538 เศรษฐกิจไทยเติบโต โดยเฉลี่ยร้อยละ 8.6 ต่อปี - รายได้ประชากรเพิ่มมากขึ้น ส่งสินค้าออกได้มากขึ้น

  3. - พ.ศ. 2533ประเทศไทยประกาศรับ พันธะข้อ 8 ของ IMF( ปล่อยให้การเงินไหลเข้าออกโดยเสรี ) - ผ่อนคลายระเบียบข้อบังคับด้านปริวรรตเงินตรา - ธนาคารแห่งประเทศไทยกำหนดอัตราแลกเปลี่ยนคงที่ $1 = 25 บาท

  4. - พ.ศ. 2536ธนาคารชาติออกใบอนุญาตให้ธนาคารพาณิชย์ทั้ง ในประเทศและสาขาต่างประเทศ สามารถประกอบ กิจการวิเทศธนกิจ (BIBF) ส่งผลให้เกิดการหลั่งไหลของเงินตราต่างประเทศมากขึ้น - เอกชนแห่กู้เงินต่างประเทศมาก เนื่องจากอัตราดอกเบี้ยถูกกว่าในประเทศ ส่วนใหญ่เป็นเงินกู้ระยะสั้น

  5. เงินกู้ ต่างประเทศ เงินกู้ ต่างประเทศ ประเทศไทย

  6. บริษัทเงินทุนออกทำ Road Show ในต่าง ประเทศทำให้มีเงินไหลเข้ามาภายใน • ประเทศเป็นจำนวนมาก • - ราคาที่ดินสูงขึ้น ราคาหุ้นสูงขึ้น • - ประชาชนใช้จ่ายเงินกันอย่างฟุ่มเฟือยสุดขีด • - อสังหาริมทรัพย์เติบโตสุดขีด (เศรษฐกิจฟองสบู่ ) • - อัตราดอกเบี้ยเงินกู้เริ่มสูงขึ้น

  7. - ต้นปี พ.ศ. 2539 ยอดส่งออกลดลงอย่างมาก สาเหตุจากต้นทุนสินค้าสูงเกินไป ค่าเงินบาทแข็งเกินไป -รายได้ประชาชาติ ลดลง 8.2 % - ต้นปี พ.ศ. 2540 Moody และ S&P ประกาศลดอันดับเครดิตของประเทศไทยจาก A-เหลือ B - ความเชื่อมั่นของชาวต่างประเทศลดลง

  8. - นักเก็งกำไรค่าเงินคาดว่าประเทศไทยต้องลดค่าเงินบาทอย่างแน่นอน ( เหมือนประเทศ BRAZIL) - ต่างชาติทยอยถอนเงินกลับ ( เรียกเงินกู้คืน ) - นักเก็งกำไรเริ่มโจมตีค่าเงินบาท ( นายจอร์ช โซรอส )

  9. - ปลายปี 2539 อสังหาริมทรัพย์ ( ที่ดิน คอนโดฯ ตึกแถว ) ขายไม่ออก - เจ้าหนี้ต่างชาติไม่ยอมต่ออายุเงินกู้ - สถาบันการเงินขาดสภาพคล่อง ดึงเงินกู้จากลูกค้าคืนไม่ได้ - สถาบันการเงินหลายแห่งถูกธนาคารแห่งประเทศไทย สั่งให้เพิ่มทุน แต่หลายแห่งไม่สามารถเพิ่มได้

  10. ประชาชนเริ่มถอนเงินฝากจากบริษัทเงินทุนและธนาคารประชาชนเริ่มถอนเงินฝากจากบริษัทเงินทุนและธนาคาร • ประเทศไทยขาดดุลการค้าเป็นจำนวนมาก • - กลางปี พ.ศ. 2540 ประเทศไทยติดต่อขอกู้เงินจาก IMF • - IMFมีข้อกำหนดให้สถาบันการเงินไหนไม่เข้มแข็งให้ปล่อยล้ม

  11. - ปลายปี พ.ศ. 2540 บริษัทเงินทุน 58 แห่งถูกระงับกิจการ - ต้นปี พ.ศ. 2541 ควบคุมกิจการธนาคาร 4 แห่ง ( มหานคร กรุงเทพฯพาณิชยการ ศรีนคร นครหลวงไทย )

  12. กลางปี พ.ศ. 2541 : • - ธนาคารแห่งประเทศไทยเข้าแทรกแซงธนาคารแหลมทอง และ ธนาคารสหธนาคารโดยสั่งเพิ่มทุน • เข้าแทรกแซงบริษัทเงินทุน 7 แห่งโดยให้รวมกับบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ กรุงไทยธนกิจ แปลงฐานะเป็นธนาคาร ( ไทยธนาคาร ) • ปลายปี 2541 เกิดวิกฤติการณ์ทางการเงินอย่างรุนแรง

  13. วิกฤตการณ์ทางการเงินในตลาดหุ้น วิกฤตการณ์ทางการเงินในตลาดหุ้น จากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในช่วงปี พ.ศ. 2530 - 2539 1. วิกฤตการณ์วันจันทร์ทมิฬ ( Black Money ) - เกิดขึ้นกับตลาดหุ้นทั่วโลก วันจันทร์ที่ 19 ตุลาคม 2530 อันเป็นผลมาจากหุ้นกู้ประเภท Junk Bond - ราคาหุ้นในตลาดโลกตกต่ำอย่างหนัก

  14. - นักลงทุนต่างชาติถอนตัวจากประเทศไทยไปชดเชยการขาดทุนในประเทศของตน - ราคาหุ้นในตลาดหลักทรัพย์ลดลง 48 %

  15. 2. วิกฤตการณ์สงครามอ่าวเปอร์เซีย - ในช่วง 3 เดือน( พ.ค.-ก.ค.) 2533 การซื้อขายหุ้นหนาแน่น เฉลี่ยวันละ 4,000 - 5,000 ล้านบาท - 2 สิงหาคม 2533 อิรักบุกยึดคูเวต - เกิดสงครามอ่าวเปอร์เซีย - ราคาหุ้นตก 50%

  16. - เกิดความเสียหายกับบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์จำนวนมาก - รัฐบาลได้จัดตั้งกองทุน 2 กองทุนเข้าช่วยเหลือโดยเข้าไปซื้อหุ้นในตลาดหลักทรัพย์

  17. 3. วิกฤตการณ์จับนักปั่นหุ้น - หลังเหตุการณ์ในอ่าวเปอร์เซียสงบลง ราคาหุ้นได้กระเตื้องสูงขึ้น - การซื้อขายหุ้นหนาแน่น แต่การซื้อขายส่วนใหญ่เป็นไปในลักษณะการปั่นหุ้น

  18. - 18 พ.ย. 2535 ก.ล.ต. ได้ดำเนินการกล่าวโทษ นายสอง วัชรศรีโรจน์และพวกอีก 11 คน ในข้อหาปั่นหุ้น - ราคาหุ้นได้ตกลงอีกครั้งหนึ่ง

  19. 4. วิกฤตการณ์ตลาดหลักทรัพย์ซบเซา - พ.ศ. 2538-2539 มีความผันผวนของเงินตราต่างประเทศ - ชาวต่างชาติโยกย้ายเงินลงทุนไปต่างประเทศ - เกิดปัญหาการเมืองและผลประกอบการของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ต่ำ - ดัชนีตลาดหลักทรัพย์ลดลง - พ.ศ. 2540 เกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ ( ฟองสบู่แตก )

  20. กองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงินกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน (Financial Institution Development Fund : FIDF) สาเหตุหลักที่ทำให้เกิดปัญหาสถาบันการเงิน • ความด้อยประสิทธิภาพในการกำกับดูแล • สถาบันการเงิน • ระบบกฎหมายล้าสมัย • ความไม่รอบคอบในการบริหารงานของภาค • เอกชน

  21. ขาดความรอบคอบในการให้สินเชื่อ / ให้ • สินเชื่อแก่ญาติมิตร • สถาบันการเงินใช้เงินผิดประเภท • การเปิดเผยข้อมูลต่อสาธารณชนไม่สมบูรณ์ • ประชาชนไม่พิจารณาความเสี่ยงในการฝาก • เงิน

  22. กองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาฯกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาฯ • - เป็นกองทุนที่ธนาคารแห่งประเทศไทยตั้งขึ้น • เมื่อพ.ศ. 2528 • สถาบันการเงินที่ประสบปัญหาในอดีตและปัจจุบันกองทุนฯ จะเข้าไปช่วยเหลือแก้ไข • จนกลับมาเข็มแข็งเหมือนเดิม • - ในอดีตเคยมีแนวความคิดจะตั้ง “สถาบันประกันเงินฝาก”มาก่อน

  23. แต่ นายสมหมาย ฮุนตระกูล อดีตรัฐมนตรี • ว่าการกระทรวงการคลังในสมัยนั้นไม่เห็นด้วย • - ได้นำ พ.ร.บ. สถาบันประกันเงินฝากมาแก้ไขใหม่แล้วเสนอจัดตั้ง กองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาฯ ขึ้นมาแทน

  24. FIDF วัตถุประสงค์ของกองทุนฯ • เพื่อให้ธนาคารแห่งประเทศไทยสามารถช่วยเหลือสถาบันการเงินที่ประสบปัญหาได้อย่างรวดเร็วและคล่องตัว • เพื่อเสริมสร้างความเป็นธรรมและความร่วมมือระหว่างรัฐบาลกับสถาบันการเงินในการรับผิดชอบต่อปัญหา

  25. 3. เพื่อป้องกันผลกระทบต่อเนื่องจากการที่ระบบสถาบันการเงินขาดความมั่นคงและเสถียรภาพ

  26. การดำเนินงานของกองทุนฟื้นฟูฯ 1. ถือกรรมสิทธิ์ หรือมีสิทธิครอบครอง หรือมีทรัพย์สินต่างๆ 2. ให้กู้ยืมเงินแก่สถาบันการเงิน โดยมีหลักประกันตามสมควร 3. ค้ำประกัน หรือรับรอง รับอาวัล

  27. 4. ให้ความช่วยเหลือทางการเงินตามควรแก่กรณี สำหรับผู้ฝากเงินหรือผู้ให้กู้ยืมแก่สถาบันการเงินที่ต้องเสียหาย 5. ซื้อ หรือเข้าหุ้นในสถาบันการเงิน 6. กู้ หรือยืมเงินออกตั๋วและพันธบัตร

  28. แหล่งที่มาของเงินทุน 1. เงินนำส่งจากสถาบันการเงิน กฎหมายกำหนดให้กองทุนเรียกเก็บจากสถาบันการเงินในอัตราร้อยละ 0.4 ของยอดเงินฝาก/เงินกู้ยืม 2. เงินสมทบจากธนาคารแห่งประเทศไทย

  29. สถาบัน การเงิน สถาบัน การเงิน กองทุนฯ สถาบัน การเงิน สถาบัน การเงิน

  30. 3. กู้ยืมจากตลาดเงิน 4. การยืมเงินทดลองจ่ายจากธนาคารแห่งประเทศไทย 5. การออกพันธบัตร

  31. แหล่งใช้ไปของเงินทุนของกองทุนฯแหล่งใช้ไปของเงินทุนของกองทุนฯ • เงินช่วยเหลือแก่สถาบันการเงิน • 2. เงินให้กู้ยืมแก่สถาบันการเงิน • 3. เงินลงทุนระยะสั้นในตลาดเงิน • 4. ลูกหนี้รับโอนจากสถาบันการเงิน

  32. หลักในการแก้ไขปัญหาสถาบันการเงินหลักในการแก้ไขปัญหาสถาบันการเงิน • ให้สถาบันการเงินพยายามแก้ไขปัญหาของตนเองก่อน • ประเมินผลกระทบต่อระบบสถาบันการเงินโดยรวม • ประเมินค่าใช้จ่ายในการให้ความช่วยเหลือ • หาวิธีการแก้ไขให้เหมาะสม

  33. มาตรการแก้ไขปัญหาสถาบันการเงินมาตรการแก้ไขปัญหาสถาบันการเงิน • การฝากเงิน • กองทุนฯ นำเงินไปฝากเพื่อเสริมสภาพคล่องแก่สถาบันการเงิน เพื่อเรียกความเชื่อมั่นของผู้ฝากกลับคืนมาโดยเร็ว

  34. 2. การให้กู้ยืมเงินโดยมีหลักประกัน กองทุนฯ ให้กู้ยืมเงินแก่สถาบันการเงินในอัตราดอกเบี้ยต่ำกว่าปกติ ปล่อยกู้ 5% กองทุนฯ สถาบัน การเงิน กู้ 3%

  35. 3. การซื้อหุ้นเพิ่มทุน ใช้เพื่อแก้ไขปัญหาเงินกองทุนไม่เพียงพอ โดยสั่งลดทุนก่อนเพื่อล้างขาดทุนสะสม

  36. การลดทุน - เพิ่มทุน - กองทุนฯจะสั่งให้สถาบันการเงินลดทุนลงและเพิ่ม ทุนตามมาดังนี้ : ทุนจดทะเบียน: หุ้นสามัญ 1,000,000 หุ้น @100 บาท 100,000,000 บาท ขาดทุนสะสม (120,000,000)บาท เงินกองทุน (20,000,000) บาท

  37. ทุนจดทะเบียน: หุ้นสามัญ 1,000,000@10 บาท 10,000,000 บาท ขาดทุน (30,000,000) บาท เงินกองทุน (20,000,000) บาท หุ้นสามัญเก่า 1,000,000 @10 บ 10,000,000 บาท เพิ่มหุ้นสามัญใหม่ 6,000,000 60,000,000 บาท @ 10 บาท ขาดทุน (30,000,000)บาท เงินกองทุน 40,000,000 บาท

  38. 4. การซื้อหุ้นกู้ของสถาบันการเงิน 5. การโอนสิทธิเรียกร้องและทรัพย์สินรอการขาย กองทุนฯ จะรับโอนสินทรัพย์รอการขายและหลักประกันหนี้ของลูกหนี้เพื่อดำเนินการเร่งรัดหนี้ / พัฒนาและจำหน่าย / บังคับคดี สถาบันการเงินมีกองทุนฯ เป็นลูกหนี้ชำระหนี้แทน / มี NPL ลดลง

  39. 6. การประกันความเสียหายแก่ผู้ลงทุน โดยให้ควบรวมกับสถาบันการเงินที่มีระบบการบริหารที่ดีกว่า

  40. มาตรการช่วยเหลือผู้ฝากเงินมาตรการช่วยเหลือผู้ฝากเงิน กองทุนฯ จะชำระคืนเงินต้นและดอกเบี้ยแก่ผู้ฝากเงินกับสถาบันการเงินที่มีปัญหาโดยการรับแลกเปลี่ยนตั๋วสัญญาใช้เงินมาเป็นตั๋วของกองทุนฯ และกองทุนฯจะทยอยจ่ายคืนเงินและดอกเบี้ยตามเงื่อนไขที่กำหนด

  41. สถาบัน การเงิน ตั๋วสัญญาใช้เงิน ประชาชน ตั๋วสัญญาใช้เงิน กองทุนฯ

  42. สถาบันประกันเงินฝาก ( Federal Deposit Insurance Corporation ) เป็นสถาบันที่คุ้มครองผู้ฝากเงินในสถาบันการเงิน วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเสริมสร้างความเชื่อมั่นของประชาชน

  43. 2. ส่งเสริมให้มีการแข่งขันในระบบสถาบัน การเงิน 3. ช่วยคุ้มครองผู้ฝากเงิน

  44. อำนาจของสถาบันประกันเงินฝากอำนาจของสถาบันประกันเงินฝาก สามารถเข้าไปตรวจสอบ แก้ไข เปลี่ยนแปลงในสถาบันการเงิน เช่น ถอดถอนผู้บริหาร แก้ไขระเบียบ การให้ความคุ้มครอง หากเกิดความเสียหายจะจ่ายให้แก่ผู้ฝากรายละ ไม่เกิน 1,000,00 บาท

  45. ข้อดีของสถาบันประกันเงินฝาก 1. ช่วยเสริมสร้างความมั่นคงและเสถียรภาพแก่สถาบันการเงิน 2. ช่วยสนับสนุนให้เกิดการแข่งขันอย่างมี ประสิทธิภาพระหว่างสถาบันการเงินต่างๆ 3. ช่วยให้เกิดความเป็นธรรมแก่ผู้ฝากเงิน

  46. ข้อเสียของสถาบันประกันเงินฝาก 1. อาจทำให้ขาดความระมัดระวังทั้งผู้ฝากและ สถาบันการเงิน 2. การเปิดเผยฐานะของสถาบันการเงิน อาจทำให้ประชาชนแตกตื่นถอนเงิน 3. เป็นการยอมรับว่า ระบบสถาบันการเงินไม่สมบูรณ์

  47. 4.สถาบันประกันเงินฝากไม่ใช่หลักประกันที่สมบูรณ์ของสถาบันการเงิน4.สถาบันประกันเงินฝากไม่ใช่หลักประกันที่สมบูรณ์ของสถาบันการเงิน

  48. ชดเชยความ เสียหาย สถาบันประกัน เงินฝาก ประชาชน ผู้ฝากเงิน เงินนำส่ง สถาบันการเงินต่างๆ (ธนาคาร, บง., บล.)

  49. ข้อแตกต่างระหว่างกองทุนฯ กับสถาบันประกัน ฯ

More Related