1 / 7

แนวทางปฏิบัติเพื่อแก้ปัญหาไม่มีหมุดหลักฐานแผนที่ระบบ U . T . M . เพื่อรังวัดแปลงที่ดิน

1. ตรวจสอบว่าพื้นที่ดำเนินงานมีหมุดหลักฐานแผนที่ระบบ U.T.M. ของ ส.ป.ก. หรือหน่วยงานอื่นที่ใช้ปฏิบัติงานได้ เช่น กรมที่ดิน และถ้ามีใช้ปฏิบัติงานได้ ให้ดำเนินการโยงยึดใช้ปฏิบัติงาน (ดูระยะทางและงบฯ) ถ้าไม่มีให้ดำเนินการตามข้อ 2

Download Presentation

แนวทางปฏิบัติเพื่อแก้ปัญหาไม่มีหมุดหลักฐานแผนที่ระบบ U . T . M . เพื่อรังวัดแปลงที่ดิน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 1. ตรวจสอบว่าพื้นที่ดำเนินงานมีหมุดหลักฐานแผนที่ระบบ U.T.M. ของ ส.ป.ก. หรือหน่วยงานอื่นที่ใช้ปฏิบัติงานได้ เช่น กรมที่ดิน และถ้ามีใช้ปฏิบัติงานได้ ให้ดำเนินการโยงยึดใช้ปฏิบัติงาน (ดูระยะทางและงบฯ) ถ้าไม่มีให้ดำเนินการตามข้อ 2 2. สร้างหมุดหลักฐานแผนที่เพื่อใช้เก็บรายละเอียดแปลงที่ดิน ใช้ออกงานไปก่อน และทำการโยงยึดค่าพิกัดระบบ U.T.M. ในภายหลังโดย - สร้างหมุดฯ ในตำแหน่งที่มั่นคง ถาวร ยากต่อการถูกทำลาย เช่น สถานที่ราชการ - ระยะห่างระหว่างหมุดประมาณ 400 เมตร หรือขึ้นอยู่กับสภาพภูมิประเทศ แต่ต้องไม่มีสิ่งอื่นมาบังแนวเล็ง และฝังหมุดเสมอดินหันหัวตัวอักษรไปทางทิศเหนือ - ใช้หมุดหลักฐานแผนที่แบบ ค. (หลักกลมขนาด 8 x 15 cm.) และกรณีจำเป็นเร่งด่วน อนุโลมให้ใช้หลักเขตแปลงที่ดิน ส.ป.ก. แทน และถ้าใช้หมุดฯ แบบ ค. ให้ประสานขอหมายเลขหลักจาก คุณสมศักดิ์ ธูปสมุทร โทร. 086-666-3832 แนวทางปฏิบัติเพื่อแก้ปัญหาไม่มีหมุดหลักฐานแผนที่ระบบ U.T.M. เพื่อรังวัดแปลงที่ดิน

  2. - การสร้างหมุดหลักฐานแผนที่ฯ พิจารณาดังนี้ 1. กรณีมีแปลงที่ดินที่ต้องรังวัดหลายแปลงใน 1 ระวาง (1:4,000) ให้สร้างหมุดหลักฐานแผนที่เพื่อเก็บรายละเอียดแปลงที่ดินบริเวณริมระวางหรือที่เหมาะสม 4 – 5 คู่ เพื่อใช้ออกงานหรือเข้าบรรจบ เพื่อให้การโยงยึดค่าพิกัดเพื่อรังวัดแปลงที่ดินมีระยะทางประมาณ 1 กิโลเมตร 2. กรณีมีแปลงที่ดินที่ต้องรังวัด 1 – 2 แปลง ให้สร้างหมุดหลักฐานฯ 1 – 2 คู่ 3. ให้ทำบันทึกแจ้งการฝังหมุดทุกหมุดพร้อมที่ตั้งให้ สผส. ทราบ เพื่อพิจารณาสนับสนุนการโยงยึดค่าพิกัดเป็นระบบ U.T.M.

  3. แนวทางการสร้างหมุดหลักฐานแผนที่เพื่อเก็บรายละเอียดแปลงที่ดินแนวทางการสร้างหมุดหลักฐานแผนที่เพื่อเก็บรายละเอียดแปลงที่ดิน กรณี มีแปลงที่ดินที่ต้องรังวัดหลายแปลง GPS 10060 GPS 10052 GPS 10059 GPS 10051 วงรอบปิด AZ 70º53΄ 45.215 ม. แปลงที่ดิน วงรอบเปิด GPS 10056 GPS 10080 GPS 10055 GPS 10081

  4. แนวทางการสร้างหมุดหลักฐานแผนที่เพื่อเก็บรายละเอียดแปลงที่ดินแนวทางการสร้างหมุดหลักฐานแผนที่เพื่อเก็บรายละเอียดแปลงที่ดิน กรณี มีแปลงที่ดินที่ต้องรังวัด 1-2 แปลง แปลงที่ดิน 10 0936 10 1078

  5. หมุดหลักฐานแผนที่ แบบ ค.

  6. ตัวอย่างการเขียน Description R.P.1 ต้นมะค่า Ø0.50 ม. AZ 70º53΄ 45.215 ม. GPS 10056 ไป บ. ประดู่ AZ 110º22΄ 30.135 ม. R.P.2 เสาไฟฟ้าหมายเลข 1 AZ 160º53΄30΄΄ 125.215 ม. AZ 79º44΄ 60.324 ม. ทางลูกรัง R.P.3 ต้นมะค่า Ø0.50 ม. GPS 10055 ไป บ. สระมะค่า AZ 135º22΄ 43.112 ม. R.P.4 เสาไฟฟ้าหมายเลข 2

More Related