1 / 57

ความรู้พื้นฐานเรื่องสี

ความรู้พื้นฐานเรื่องสี. - สีคืออะไร - ใช้สีทำไม - ประเภทของสี - คุณสมบัติของสี. สีคืออะไร. สีหมายถึงของเหลวซึ่งมีส่วนประกอบที่ สำคั ญ 5 อย่างผสมกันมีคุณสมบัติใน กา ร ป้องกัน การ กัดกร่อน และให้ความสวยงาม. ใช้สีทำไม. เราใช้สีเพื่อ - ป้องกันการกัดกร่อน

viola
Download Presentation

ความรู้พื้นฐานเรื่องสี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ความรู้พื้นฐานเรื่องสีความรู้พื้นฐานเรื่องสี - สีคืออะไร - ใช้สีทำไม - ประเภทของสี - คุณสมบัติของสี

  2. สีคืออะไร สีหมายถึงของเหลวซึ่งมีส่วนประกอบที่สำคัญ5อย่างผสมกันมีคุณสมบัติในการป้องกันการกัดกร่อนและให้ความสวยงาม

  3. ใช้สีทำไม เราใช้สีเพื่อ - ป้องกันการกัดกร่อน - ให้ความสวยงาม ป้องกันแสง UV - ทนสารเคมี น้ำ - บางชนิดทนความร้อนได้สูงถึง 400 องศาเซลเซียส

  4. สีประกอบด้วยอะไรบ้าง ? Binder or Resin กาว Pigment ผงสี Solvent ตัวทำละลาย Additives สารเพิ่มคุณสมบัติ

  5. Binder (กาว)/ Resin -อุ้มผงสีให้กระจายกันอย่างสม่ำเสมอ - ช่วยให้สามารถแยกประเภทของสีเช่น Epoxy, Alkyd, Vinyl - ช่วยยึด Pigment กับ Extender เพื่อสร้างฟิล์มสี - ช่วยให้ฟิล์มสีเกาะกับพื้นผิวได้ดี - ช่วยให้ฟิล์มแห้งแข็งและเงาต้านทานสภาวะ อากาศ น้ำ สารเคมี เป็นต้น

  6. Pigment (ผงสี) - ให้สีและทึบแสงสำหรับฟิล์มสีแห้งเเละความสวยงาม - ป้องกันสนิม ทนทานต่อการขัดถู - ชนิดของ Pigment - ลดความสามารถในการซึมผ่านของ- Iron-Oxide (yellow/red) น้ำเช่น MI0. - Titanium dioxide (white) - ให้ความแห้งและทนต่อการขัดถู - Zinc phosphate (red) -ป้องกันเเสงแดดและ อากาศ -Zinc powder (gray)

  7. Solvent (ตัวทำละลาย) - Solvent ใช้ลดความหนืด Solvents : เพื่อความเหมาะสมในการ - Alcohols ใช้งาน - Butylacetate - จะระเหยไปหมดไม่มี - Ketones (MIBK, MEK) เหลือค้างในฟิล์มสี - Xylene - White-spirit

  8. จุดประสงค์ของ Solvents (ตัวทำละลาย) - ละลาย Binder - ให้ความหนืดที่เหมาะสม - ใช้ Thinner ให้ถูกกับชนิดของสี - Solvents มีอัตราการระเหยที่แตกต่างกัน

  9. Additives (สารเพิ่มคุณสมบัติ) - การดูดความชื้น - เกลือของแมงกานิสและโคบอทซึ่งมีปริมาณกรดที่ เหมาะสมจะช่วยเร่งความแห้งตัวให้เร็วขึ้น - Anti-Skinning agent - ป้องกันผิวฟิล์มในส่วนที่เติมลงไป - Anti-sagging -ป้องกันการไหลย้อย

  10. การแห้งตัวของ Binder - Oxidation อาศัยออกซิเจนช่วยในการแห้งตัว - Alkyd - Physically แห้งตัวโดยการระเหยของทินเนอร์ - CR - Vinyl - Acrylic - Chemically เเห้ง โดย ปฎิกริยาทางเคมี - Epoxy - Polyurethane - Polyester - Zinc ethyl silicate

  11. อิทธิพลที่มีต่อการแห้งตัวของสีอิทธิพลที่มีต่อการแห้งตัวของสี - อุณหภูมิ - ระบบระบายอากาศ - ความหนาของฟิล์ม - จำนวนชั้นของสี -%R.H. (ความชื้นสัมพัทธ์)

  12. สีประเภทต่าง ๆ - สีน้ำมัน Alkyd - สีคลอริเนตรรับเบอร์ (CR) - สีไวนิล Vinyl - สีอีพอกชีทาร์ Epoxy tar - สีโมดิฟายอีพอกซี Modified epoxy-Epoxy ester. - สีอีพอกชี่ ชิงค์ริช (Zinc rich Epoxy) - สีอินออแกนิคชิงค์ (Inorganic zinc) - สีโพลียูรีเทรน (Polyurethane) - สีอีฟอกซี (Epoxy pure)

  13. สีน้ำมัน Alkyd ข้อดี - แห้งตัวโดยอากาศ - ง่ายต่อการใช้งาน/ราคาถูก - เป็นสี 1 ส่วน - ซึมสู่พื้นผิวได้ดี - ทนต่อสภาพอากาศได้ดี -Min. Surface Preparation : ST 2 ข้อเสีย - ไม่ทนกรดด่างและสารละลาย - ไม่สามารถใช้ใน immersed areas - ไม่สามารถกันการเสียดสีได้ดี - ไม่สามารถเคลือบความหนา สูงต่อชั้นได้

  14. ระบบสี น้ำมัน Alkyd การเตรียมผิว : ST2-ST3 HandorPowertoolcleaning สีชั้นที่ 1 สี SIGMARINE 24 ความหนา 75 ไมครอน สีชั้นที่ 2 สี SIGMARINE 48 ความหนา 50 ไมครอน สีชั้นที่ 3 สี SIGMARINE 48 ความหนา 50 ไมครอน ความหนาฟิล์มแห้งรวม 175 ไมครอน เหมาะสำหรับ : โครงสร้างอาคาร เช่น โรงเรียน โรงพยาบาล ห้างสรรพสินค้า คลังสินค้า เเละ โรงงานอุตสาหกรรม เป็นต้น อายุการใช้งาน: 5-6 ปี

  15. คุณสมบัติของสี Chlorinated rubber ข้อดี - ทนสารเคมีได้ดี - การแห้งตัวไม่อาศัย อุณหภูมิ Physically - ง่ายต่อการใช้งาน - เป็นสี One Pack - กันน้ำได้ดี ข้อจำกัด - ไม่ทนต่อตัวทำละลาย - เนื้อสีน้อย - ต้องการการเตรียมผิว ดี (Sa 2.5) - เป็น Thermoplastic - ไม่สามารถทนอุณภูมิสูงได้

  16. ระบบสีCoal tar Epoxy การเตรียมผิว : BlasttoSa 2.5 orSSPC -SP 10 สีชั้นที่ 1 สี Intertuf 708 ความหนา 200 ไมครอน สีชั้นที่ 2 สี Intertuf 708 ความหนา 200 ไมครอน หรือ 2x 200 Interseal 670 HS เหมาะสำหรับ : โครงสร้างที่ อยู่ใต้น้ำ ใต้ดิน หรือ ที่ต้องสัมผัสกับน้ำ เช่น Jetty ท่อ ถังน้ำต่างๆเป็นต้น อายุการใช้งาน: 5-6 ปี

  17. ระบบสีCoal tar Epoxy การเตรียมผิว : Blast to Sa 2.5 or SSPC -SP 10 สีชั้นที่ 1 สี Intertuf 708 ความหนา 200 ไมครอน สีชั้นที่ 2 สี Intertuf 708 ความหนา 200 ไมครอน หรือ 2x 200 Interseal 670 HS เหมาะสำหรับ : โครงสร้างที่ อยู่ใต้น้ำ ใต้ดิน หรือ ที่ต้องสัมผัสกับน้ำ เช่น Jetty ท่อ ถังน้ำต่าง เป็นต้น อายุการใช้งาน: 5-6 ปี

  18. คุณสมบัติของสี Epoxy Modified ข้อดี - ไม่ต้องเตรียมผิวดีมาก - กันเคมีได้ดีมาก - กันน้ำได้ดีมาก - เนื้อสีมาก (82-85%) - ทนต่อชั้นได้หนา - ทนต่อการขีดข่วนได้ดี - ทาทับได้บนสีทุกประเภท ข้อจำกัด - ไม่ทนแสง UV - อุณหภูมิเหล็กต้องสูง กว่า 10 องศาเซลเซียส

  19. ระบบสี Epoxy Modified การเตรียมผิว : ST2-ST3 HandorPowertoolcleaning สีชั้นที่ 1 สี SIGMAPRIME 200 ความหนา 100 ไมครอน สีชั้นที่ 2 สี SIGMAPRIME 200 ความหนา 100 ไมครอน สีชั้นที่ 3 สี SIGMADUR 550 ความหนา 50 ไมครอน เหมาะสำหรับ : ซ่อมแซมงานในสภาพการกลัดกร่อนที่รุนเเรง เช่น โรงงานเคมี โรงกลั่นม้ำมัน เป็นต้น อายุการใช้งาน: 5-6 ปี

  20. คุณสมบัติของสี Epoxy zinc rich ข้อจำกัด - อุณหภูมิเหล็กต้องสูงกว่า 10 องศา C - เตรียมผิวดี (Sa 2.5) - ความหนาฟิล์มจำกัด (50-75 ไมครอน) - ไม่สามารถทนได้ทั้งกรด และด่าง (PH 5-9) ข้อดี - ป้องกันสนิมดีมาก - ทนการขีดข่วนสูง - การยึดเกาะดีมาก - ใช้สีทาทับได้หลาย ประเภท

  21. ระบบสีEpoxy zinc rich การเตรียมผิว : Blastto Sa2.5 orSSPC-SP 10 สีชั้นที่ 1 สี SIGMAZINC 102/SIGMAZINC 102 HS ความหนา 75 ไมครอน สีชั้นที่ 2 สี SIGMACOVER 410 ความหนา 125 ไมครอน สีชั้นที่ 3 สี SIGMACOVER 456 ความหนา 50 ไมครอน หรือ SIGMADUR 550 ความหนา 50 ไมครอน เหมาะสำหรับ : โครงสร้างอาคารทางทะเล โรงงานเคมี โรงไฟฟ้า คลังสินค้า เเละ โรงงานอุตสาหกรรม เป็นต้น อายุการใช้งาน: 7-8 ปี

  22. คุณสมบัติของสี Inorganic zinc silicate ข้อดี - ทนต่อตัวทำละลายได้ดี - ทนความร้อนได้สูง(400 องศา c) - ทนการขีดข่วน กระแทก ขัดถู ได้ดี - ป้องกันการกัดกร่อนดีมาก - ใช้สีทาทับได้หลาย ประเภท - ให้คุณสมบัติ Cathodic protection - ทนต่อการเสียดคาน (Friction)ได้ดีมาก ข้อจำกัด - ต้องการความชื้นในการ แห้งตัว(R.H.) - ไม่สามารถทาได้หนา ต่อชั้น ( 75-80 ไมครอน) -ต้องกาวผิว SA2.5 -Profile ( 50-75 ไมครอน) - เป็นสี 2 ส่วน

  23. ระบบสีInorganic zinc silicate การเตรียมผิว : Blast to SA 2.5 or SSPC SP 10 สีชั้นที่ 1 สี SIGMAZINC 158 ความหนา 75 ไมครอน สีชั้นที่ 2 สี SIGMACOVER 410 ความหนา 125 ไมครอน สีชั้นที่ 3 สี SIGMACOVER 456 ความหนา 50 ไมครอน หรือ SIGMADUR 550 ความหนา 50 ไมครอน เหมาะสำหรับ : โครงสร้างทางทะเล โรงกลั่นน้ำมัน โรงไฟฟ้า โรงงานหลอมเหล็ก เเละ โรงงานเคมี เป็นต้น อายุการใช้งาน: 15 ปี

  24. คุณสมบัติของสี Polyurethane(2 - packs) ข้อดี - ทนต่อสภาพดินฟ้าอากาศ&UV - ความคงทนของความเงาดีมาก - ทนสารเคมีได้ดีมาก - ทนตัวทำละลายดีมาก - ให้ความแข็งเป็นเลิศ ข้อจำกัด - ราคาแพง - ไม่ควรทำงาน RH เกิน 70% - ระวังอันตรายต่อผิวหนัง (Isocyanate) - เป็นสี 2 ส่วน

  25. ระบบสีEpoxy/Polyurethane การเตรียมผิว : BlasttoSA 2.5 orSSPC-SP 10 สีชั้นที่ 1 สี SIGMACOVER 256/246 ความหนา 75 ไมครอน สีชั้นที่ 2 สี SIGMACOVER 410 ความหนา 125 ไมครอน สีชั้นที่ 3 สี SIGMACOVER 456 ความหนา 50 ไมครอน หรือ SIGMADUR 550 ความหนา 50 ไมครอน เหมาะสำหรับ : โครงสร้างอาคาร เช่น โรงเรียน โรงพยาบาล ห้างสรรพสินค้า คลังสินค้า เเละ โรงงานอุตสาหกรรม เป็นต้น อายุการใช้งาน: 10-15 ปี

  26. ระบบสี ทนความร้อน 260 C การเตรียมผิว : Blast to Sa. 2.5 or SSPC-SP 10 สีชั้นที่ 1 SIGMAZINC 158 ความหนา 75 ไมครอน สีชั้นที่ 2 SIGMATHERM 350 ความหนา 40 ไมครอน สีชั้นที่ 3 SIGMATHERM 350 ความหนา 40 ไมครอน หมายเหตุ SIGMATHERM 350 สามารถทำได้หลายสี เหมาะสมกับงาน : โครงเหล็ก,ท่อ อุปกรณ์ที่ใช้งานที่อุณภูมิ 260 C

  27. ระบบสี ทนความร้อน 540 C การเตรียมผิว : Blast to Sa. 2.5 or SSPC-SP 10 สีชั้นที่ 1 SIGMAZINC 158 ความหนา 75 ไมครอน สีชั้นที่ 2 SIGMATHERM 540 ความหนา 25 ไมครอน สีชั้นที่ 3 SIGMATHERM 540 ความหนา 25 ไมครอน เหมาะสมกับงาน : โครงเหล็ก,ท่อ อุปกรณ์ที่ใช้งานที่อุณภูมิ 540 C

  28. ระบบสี ภายในถัง การเตรียมผิว : Blast to Sa 2.5 or SSPC -SP 10 Shop Primer : SIGMACOVER 280 DFT 30 Microns SYSTEM 1 -SIGMAPHENGUARD 930/935/940 ความหนา 1X125 ไมครอน SYSTEM 2 -SIGMAGUARD 720/720 ความหนา 2X125 ไมครอน SYSTEM 3-SIGMAPHENGUARD CSF 650 ความหนา X 150 ไมครอน ***หมายเหตุ : ตรวจสอบสารเคมีที่ SERVICE จากบริษัทก่อนใช้ระบบสี

  29. การวางระบบสีและข้อจำกัดการวางระบบสีและข้อจำกัด การใช้งานสีเพื่องานอะไร การวางระบบสีและเงื่อนไข การเตรียมพื้นผิวและสิ่งแวดล้อม

  30. ปัจจัยในการพิจารณาเริ่มต้น-การเลือกระบบสีปัจจัยในการพิจารณาเริ่มต้น-การเลือกระบบสี ต้นทุนแรกเริ่ม - พิจารณาที่ต้นทุนการเตรียมพื้นผิว, อุปกรณ์นั่งร้านการทำงาน - จำนวนสีที่ใช้คิดเป็น 10-20% ของระบบ - % ต้นทุนที่สูงมักจะเป็นการเตรียมพื้นผิว - หลักสำคัญ คือ การตัดสินใจเลือกระดับการ เตรียมพื้นผิวก่อนเลือกระบายสี

  31. อายุการใช้งานระบบสี อายุการใช้งานของระบบสี ขึ้นอยู่กับ :- - การเตรียมพื้นผิวที่ดี - ชนิดของระบบสี - ความหนาฟิล์มสี - ความทนทานต่อสภาพแวดล้อม

  32. Cost -การเลือกระบบสี การใช้สีราคาต่ำและความหนาต่ำจะประหยัดในตอนเริ่มแรกแต่อายุการใช้งานสั้น การใช้สีคุณภาพสูงความหนาสูงต้องตาม SPEC ค่าใช้จ่ายสูง ในตอนเริ่มแรกแต่อายุการใช้งานนาน

  33. ปัจจัยที่มีผลต่อระบบสีปัจจัยที่มีผลต่อระบบสี - สถานที่ตั้งของโครงการ - ประสิทธิภาพการทำงานสีของผู้ทำงานสี - ชนิดของสารเคมีที่ต้องการป้องกันจากสี - สภาวะแวดล้อมของการเกิดการกัดกร่อน - ระยะเวลาในการใช้งานของสี

  34. สีรองพื้น Primer 1. ยึดเกาะกับพื้นผิวดี 2. สามารถป้องกันสนิมได้ดี 3. ยึดเกาะกับสีที่ทาทับได้ดี 4. แรงยึดเกาะภายในฟิล์มดีมาก

  35. สีชั้นกลาง Intermediate 1. ช่วยเพิ่มความหนาให้ระบบสี 2. ทนสารเคมีได้ดี 3. กันน้ำ, ความชื้นซึมผ่านได้ดี 4. ประสานยึดเกาะระหว่างสีรองพื้น และทับหน้า

  36. สีทับหน้าTopcoats 1. ทนต่อสภาพแวดล้อม 2. ทนต่อสารเคมี 3. กันน้ำซึมผ่านได้ดี 4. ทนต่อแรงขีดข่วน 5. ให้ความสวยงาม

  37. Calculation

  38. การคำนวณและควบคุมปริมาณการใช้สีการคำนวณและควบคุมปริมาณการใช้สี - คำนวณจากอะไร - ใช้ข้อมูลจากไหน - ควบคุมเพื่ออะไร

  39. การคำนวณปริมาณการใช้สีและต้นทุนการคำนวณปริมาณการใช้สีและต้นทุน สิ่งที่ต้องรู้ - % ของเนื้อสี - ความหนาฟิล์มแห้งของสีตามระบบ - สภาพการทำงานที่จะสูญเสียไป - พื้นที่ในการทำสี

  40. ปริมาณการสูญเสียloss factor การสูญเสียมี 2 อย่าง - สูญเสียไปกับการทำงาน เช่น ลม เครื่องมือ ช่างพ่นสี กระป๋องสี -สูญเสียไปในตัวชิ้นงาน over thickness

  41. % สภาพการทำงานการสูญเสียไป -งานโครงสร้าง Steel structure 40-45 % -งานถังภายใน Interior tank 30-35 % -งานถังภายนอก External tank 35-40 % -งานซ่อมแซมที่ใช้ ลูกกลิ้ง เเปรง 15-25 %

  42. สูตรการคำนวณ ความหนาฟิล์มสีเปียก = ความหนาฟิล์มสีแห้ง x 100% (ไมครอน) % ของเนื้อสี ถ้าเติมทินเนอร์ ความหนาฟิล์มสีเปียก = ความหนาฟิล์มสีแห้ง x 100 + %ทินเนอร์ (ไมครอน) % ของเนื้อสี

  43. สูตรการคำนวณ Loss factor ปริมาณสีที่ใช้จริง = ปริมาณพื้นที่ใช้สี (ตรม./ลิตร) ปริมาณการใช้สีจริง ปริมาณการการสูญเสียไป =ปริมาณการใช้จริง(ตรม./ลิตร) x การปรกคุมทางทฤษฎี x100 ( %) ปริมารการใช้จริง(ตรม./ลิตร)

  44. สูตรการคำนวณ ปริมาณสีที่ใช้ตามทฤษฎี = % เนื้อสี x 10 (ตรม./ลิตร) ความหนาฟิล์มสีแห้ง ปริมาณสีที่ใช้ตามทฤษฎี = ความหนาฟิล์มสีแห้ง x พื้นที่ (ลิตร) 10 x % ของเนื้อสี x %loss factor

  45. ตัวอย่างการคำนวณ - WFT : ความหนาฟิล์มสีเปียก - DFT : ความหนาฟิล์มสีแห้ง - %Solid : % เนื้อสี - UF : % ปริมาณสีที่ใช้ - Loss factor : % ปริมาณที่สูญเสียไปกับการทำงาน

  46. ตัวอย่างการคำนวณ สี SIGMACOVER 630 % Solid = 80 DFT = 150 ไมครอน Loss factor = 30% Area = 200 ตารางเมตร : ( 80x10/150 *.70=3.46 sqm/ L Paint for Used = 200 / 3.46 =57.80 L

  47. ตัวอย่างการคำนวณสีloss สี Sigmazinc 158 ความหนาแห้ง 75 ไมครอน การปรกคลุมพื้นที่ทางทฤษฎีที่ 8.8 ตรม./ ลิตร Area = 500 SQM. ปริมาณการใช้สีจริง = 100 ลิตร Loss factor = (5-8.8)x100 = 43.18 % 8.8

  48. การประเมินการใช้สี SIGMAZINC 158 (Inorganic zinc silicate ) - 1 ลิตร ทาได้ 8.8 ตารางเมตร ที่ 75 ไมครอน - 1 ถัง (18.5ลิตร) ทาได้ 162.8 ตารางเมตร) SIGMACOVER 410 (Epoxy Polyamide) - 1 ลิตร ทาได้ 8 ตารางเมตรที่ 100 ไมครอน - 1 ถัง (20ลิตร) ทาได้ 160 ตารางเมตร SIGMADUR 550 (Polyurethane Aliphatic) - 1 ลิตร ทาได้ 11.2 ตารางเมตร ที่ 50 ไมครอน - ถัง (20ลิตร) ทาได้ 224 ตารางเมตร

  49. ปัญหาที่มักจะพบจากระบบสีปัญหาที่มักจะพบจากระบบสี

  50. สีย้อย และไหลSags and Run ลักษณะที่เกิด - เป็นการไหลลงของสีเมื่อมีปริมาณมากเกินไปในฟิล์มสี สาเหตุ - ถือปืนพ่นสีใกล้ชิ้นงานมากเกินไป/ลมแรงเกินไป วิธีแก้ไข - ใช้แปรงทาสีซ่อมบริเวณที่ไหลย้อย ขณะฟิล์มสีเปียก - ถือปืนพ่นสีให้อยู่ในระยะที่เหมาะสม

More Related