1 / 23

Concepts เทคนิคการสอน “ เงินทอง ของมีค่า ”

Concepts เทคนิคการสอน “ เงินทอง ของมีค่า ”. กรุณา อักษราวุธ พฤษภาคม 2004. Concepts เริ่มแรก. กระทรวงศึกษาธิการขอให้ออกแบบเป็นแต่ละ ช่วงชั้น ครูจะเลือกไปใช้เองได้ตามที่เห็นเหมาะสม แยกเล่มเป็น คู่มือครู และ หนังสือเรียนของเด็ก

vinny
Download Presentation

Concepts เทคนิคการสอน “ เงินทอง ของมีค่า ”

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Concepts เทคนิคการสอน“เงินทอง ของมีค่า” กรุณา อักษราวุธ พฤษภาคม 2004

  2. Concepts เริ่มแรก • กระทรวงศึกษาธิการขอให้ออกแบบเป็นแต่ละช่วงชั้น ครูจะเลือกไปใช้เองได้ตามที่เห็นเหมาะสม • แยกเล่มเป็นคู่มือครูและหนังสือเรียนของเด็ก • อยากให้เด็กทุกคนมีหนังสือของตัวเอง เพื่อบันทึกและใช้งานสะดวก • เตรียมกิจกรรม คำแนะนำ แบบฝึกหัดและคำเฉลยไว้ให้ในคู่มือครู • ต้องรวมเล่มคู่มือครูและเด็กเข้าด้วยกัน เพราะกระทรวงศึกษาธิการมีงบประมาณในการจัดพิมพ์ไม่พอ แต่ได้ใช้ตัวอักษรสีเข้าช่วยตอนคำแนะนำสำหรับครู …..

  3. Concepts เริ่มแรก • สารบัญทำไว้ละเอียด เพื่อให้ค้นหาเรื่องที่ต้องการได้โดยเร็ว และเป็น navigating map ในการเห็นโครงสร้างของหนังสือโดยรวม • ภาคผนวก • ศัพท์น่ารู้ (ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ) • หน่วยงานสำคัญต่าง ๆ (ที่อยู่ โทรศัพท์ website)

  4. ConceptsApplied Economics • ความเข้าใจด้านการเงิน • ความสามารถทางการเงิน • ความรับผิดชอบทางการเงิน • การบริหารและจัดการการเงิน

  5. ความเข้าใจด้านการเงินความเข้าใจด้านการเงิน • บทบาทและหน้าที่ของเงินในระบบเศรษฐกิจ • รู้จักและเข้าใจทางเลือกต่าง ๆ • เงินสด • บัตรเครดิต • บัตรเดบิต • สินเชื่อ ฯลฯ

  6. ความสามารถด้านการเงินความสามารถด้านการเงิน • รอบรู้ • เฉลียวฉลาด • แก้ปัญหาได้ • รู้จักลำดับความสำคัญของทางเลือกต่าง ๆ • สามารถตัดสินใจ บริหารการเงินในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม

  7. ความรับผิดชอบทางการเงินความรับผิดชอบทางการเงิน • รับผิดชอบต่อการใช้จ่าย • บริหารทรัพยากรที่มีจำกัดอย่างเหมาะสม คุ้มค่า มีจริยธรรม • รับผิดชอบต่อตนเอง ครอบครัว สังคมและประเทศชาติ • เข้าใจผลกระทบต่อเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม

  8. การบริหารและจัดการการเงินการบริหารและจัดการการเงิน • รู้จักจัดสรรทรัพยากรอย่างเหมาะสม • วิเคราะห์ • กลั่นกรอง • เปรียบเทียบ • เข้าใจผลกระทบ ผลตอบแทนของทุกทางเลือก • เหมาะสมกับ • สถานการณ์พื้นฐาน • สถานะของแต่ละบุคคล • ในแต่ละโอกาส • การใช้จ่าย • การออม • การลงทุน

  9. เป็นเด็กเป็นเล็ก ไม่เห็นต้องรู้เรื่องเช็ค บัตรเครดิต อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศเลย

  10. เด็กต่างจังหวัด แค่เงินจะใช้สำหรับอาหารกลางวันยังไม่มีพอเลย จะไปรู้เรื่องการเงินมากมายอะไรนักหนา

  11. เงินเป็นของเรา เราควรมีสิทธิ ใช้ทำอะไรก็ได้ตามที่เราพอใจ • ไม่ชอบการควบคุม รู้สึกต่อต้านการทำแผนการใช้จ่ายเงิน เพราะเป็นการจำกัดความคิด ทำให้ไม่มีอิสรภาพในการจับจ่ายใช้สอย พ่อบ้านบางคนคิดแบบนี้ ใช้จ่ายผิดพลาด ทำให้ครอบครัวเดือดร้อนด้วย

  12. วิธีการทางการเงินใหม่ ๆ • ATM • Tele banking • E-commerce • E-auction • Bar code  replenishment • เช็ค บัตรเครคิต บัตรเดบิต บัตรเติมเงิน บัตรสมาชิกร้านค้า traveler check

  13. วิถีชีวิตใหม่ ๆ • ซื้อของกินของใช้เข้าบ้านอาทิตย์ละครั้ง • เลือกหยิบเองจาก supermarket ใหญ่ ๆ

  14. ทางเลือกของชีวิต • การศึกษา การเลือกอาชีพ • แหล่งกู้เงิน • บ้าน : ซื้อหรือเช่าต้องพิจารณาอะไรบ้าง • รถ : ราคา ค่าบำรุงรักษา ค่าใช้จ่ายประจำ ราคาขายต่อ • การบริหารการเงิน: การออม การลงทุน • เตรียมการสำหรับชีวิตหลังเกษียณ

  15. ความไม่รู้ จำกัดทางเลือกในชีวิต ถูกกีดกันจากโลกการเงิน • เสียประโยชน์ • เสียโอกาส • แม่บ้าน สามีตาย พิการ หย่า มีทางเลือกอะไรสำหรับเลี้ยงดูครอบครัว • คนฉลาดใช้บัตรเครดิตอย่างมีวินัย ไม่ต้องจ่ายเงินสด หมุนเงินไปสร้างรายได้เป็นดอกเบี้ย • สะสมแต้มแลกของขวัญ มีโอกาสสร้างความมั่งคั่งมากกว่าคนต้องจ่ายเงินสดซื้อของ • เงินออมซึ่งบริหารไม่เป็น ถูกอัตราเงินเฟ้อลดค่าลงทุกวัน • ครอบครัวที่มีสถานะทางสังคมต่ำ เด็ก ๆ ไม่มีโอกาสเรียนรู้เรื่องการเงิน ถูกกีดกันจากทาง • เลือกต่าง ๆ ทางการเงิน ไม่มีโอกาสหลุดพ้นจากวงจร “ด้อยกว่า” ทางสังคม

  16. ฝึกเด็กรุ่นใหม่ • เก่งคณิตศาสตร์และคำนวณ • ฝึกให้หัดคิด วิเคราะห์และหาทางแก้ปัญหาต่าง ๆ อย่าง • เป็นระบบ (systematic) • มีเหตุผล (logical) • มีข้อสรุปที่สามารถเอาชนะปัญหาได้ …..

  17. ฝึกเด็กรุ่นใหม่ • หลากหลายปัญหาเพื่อสร้างเสริม ประสบการณ์ชีวิต เพิ่มพูนความรู้ และมุมมองใหม่ ๆ ให้กว้างขวาง • ฝึกให้เด็กกล้าคิด กล้าอภิปราย • ผู้สอนต้องนำข่าวสาร ปัญหาเศรษฐกิจ การเงิน และสังคม ฯลฯ ที่น่าสนใจรอบ ๆ ตัวมาเป็นหัวข้ออภิปรายในห้องเรียน ….

  18. ฝึกเด็กรุ่นใหม่ • เชิญผู้รู้มาเป็นแขกแบ่งปันประสบการณ์ และข้อคิดกับนักเรียน • จดจำรายละเอียด ความรู้ใหม่ ๆ ไว้สอน • หาตัวอย่างมาให้เด็กดู ทดลองทำ เช่น ใบฝากเงินธนาคาร ใบขอกู้ • รอบรู้กฎหมาย กฎระเบียบ ฯลฯ ที่เปลี่ยนแปลงเรียนรู้ร่วมกันกับนักเรียนอย่างสม่ำเสมอ….

  19. ฝึกเด็กรุ่นใหม่ • แต่ละหัวข้อเรื่องไม่จำเป็นต้องใช้เวลาเรียนเท่า ๆ กัน แล้วแต่ • ความเข้าใจของนักเรียน • ความจำเป็นในแต่ละท้องถิ่นว่าเรื่องใดสำคัญกว่ากัน • ความสนใจของนักเรียน ….

  20. ฝึกเด็กรุ่นใหม่ • ฝึกนักเรียนให้รู้จักค้นหาข้อมูล ฝึกวิเคราะห์ แสดงความคิดเห็นที่หลากหลาย เฉลียวฉลาด มีความสามารถ รู้จักพบปะผู้คน • อัตราเงินเฟ้อ อำนาจซื้อ ฯลฯ เปลี่ยนแปลงรวดเร็ว ตลอดเวลา ทุกคนต้องเข้าใจและจัดการการเงินของตนให้เท่าทัน ….

  21. ฝึกเด็กรุ่นใหม่ • รู้จักเปรียบเทียบกับท้องถิ่นอื่น / ประเทศอื่น • การค้าขายระหว่างประเทศ การแข่งขันทางการค้า • การลงทุน แรงงาน วัตถุดิบ โยกย้ายข้ามพรมแดน • อัตราแลกเปลี่ยน • Globalization ต้องแข่งได้ระดับโลก.

  22. ทุกเรื่องที่เรียน อาจไม่ได้ใช้ทันทีทุกประเด็นในชีวิตประจำวัน แต่ทุกเรื่องเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการครองชีวิตในอนาคตเมื่อเป็นผู้ใหญ่

  23. การรู้จักบริหารการเงินการรู้จักบริหารการเงิน เป็นทักษะชีวิต ที่ใช้ได้ตลอดชีวิต เริ่มด้วยความเข้าใจ บริหารและจัดการ เรียนรู้ที่จะมีความรับผิดชอบ

More Related