1 / 84

ยาเสพติดให้โทษ

ยาเสพติดให้โทษ. แสวง กล้าดี งานยาเสพติด โรงพยาบาลเขาสวนกวาง. ข้อมูลจาก สำนักงาน ปปส. ความหมายของยาเสพติด คือ. สารใดก็ตาม – ธรรมชาติ,กึ่งสงเคราะห์, ผลิต นำเข้าสู่ร่างกาย ไม่ว่าวิธีใด ออกฤทธิ์ต่อร่างกาย และจิตใจ มีการเสพเป็นประจำและมีลักษณะที่สำคัญ 4 ประการ คือ

vienna
Download Presentation

ยาเสพติดให้โทษ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ยาเสพติดให้โทษ แสวง กล้าดี งานยาเสพติด โรงพยาบาลเขาสวนกวาง

  2. ข้อมูลจาก สำนักงาน ปปส.

  3. ความหมายของยาเสพติด คือ • สารใดก็ตาม – ธรรมชาติ,กึ่งสงเคราะห์, ผลิต • นำเข้าสู่ร่างกาย ไม่ว่าวิธีใด • ออกฤทธิ์ต่อร่างกาย และจิตใจ • มีการเสพเป็นประจำและมีลักษณะที่สำคัญ • 4 ประการ คือ • 1. มีอาการดื้อยา ต้องเสพเพิ่มมากขึ้น • 2. มีอาการขาดยา เมื่อเสพเท่าเดิม, ลดหรือหยุด • 3. มีความต้องการอย่างสูงที่จะต้องหามาเสพให้ได้ • 4.เกิดผลเสียต่อตนเองและสังคม

  4. การแยกประเภทของยาเสพติดให้โทษการแยกประเภทของยาเสพติดให้โทษ ทางกฎหมาย • แบ่งเป็น 5 ประเภทตามพรบ.ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ.2522 • ประเภท1 เช่น เฮโรอีน, แอมเฟตามีน (ยาม้า) และอนุพันธุ์,เมทแอมเฟตามีน(ยาบ้า), เอ็มดีเอ็มเอ(ยาอี), เอ็มดีเอ (ยาเลิฟ) และ แอล เอส ดี เป็นต้น • ประเภท2 เช่นฝิ่น, โคเคน, มอร์ฟีน,เมทาโดนและโคเดอีน เป็นต้น • ประเภท3 เป็นยาสำเร็จรูปที่ได้รับอนุญาตให้จำหน่ายตามร้านขายยาได้ เช่น ยาแก้ไอที่มีโคเดอีน,ยาแก้ท้องเสียที่มีไดเฟนอกซีน, ยาระงับปวดทั้งกินและ ฉีดที่มีสารกลุ่มฝิ่นผสมอยู่ เช่น มอร์ฟีนฉีด เป็นต้น

  5. การแยกประเภทของยาเสพติดให้โทษการแยกประเภทของยาเสพติดให้โทษ ทางกฎหมาย • ประเภท 4 เป็นน้ำยาเคมีที่นำมาใช้ในการผลิตยาเสพติดให้โทษประเภท 1 และ 2 ได้แก่ น้ำยาเคมีอาเซติดแอนไฮไดรด์, อาเซติลคลอไรด์ใช้เปลี่ยนมอร์ฟีนเป็นเฮโรอีน, สารเออร์โกเมทรีนและคลอซูโดอีเฟดรีน และสารตัวอื่นๆที่นำมาผลิตยาอีและยาบ้า • ประเภท 5ได้แก่ พืชกัญชา,พืชกระท่อม,พืชฝิ่น และพืชเห็ดขี้ควาย เป็นต้น

  6. การแยกประเภทของยาเสพติดให้โทษการแยกประเภทของยาเสพติดให้โทษ ทางการแพทย์ แบ่งสารเสพติด เป็น 7 ประเภท • 1. สารกลุ่มฝิ่นหรือออกฤทธิ์คล้ายฝิ่น ได้แก่ ฝิ่น,เฮโรอีน,มอร์ฟีน,โคเดอีน, เมทาโดน รวมทั้งยาที่มีสารกลุ่มฝิ่นผสมอยู่ เช่น ยาเมา(แก้ไอ) เป็นต้น • 2. ยานอนหลับและยากล่อมประสาท เช่น แวเลี่ยม, ดอร์มิกุ้ม, ซาแนกส์ เป็นต้น • 3. ยากระตุ้นประสาทได้แก่ยากลุ่มแอมเฟตามีน (เช่นเมทแอมเฟตามีนหรือยาบ้า),กระท่อม, โคเคน,บุหรี่,กาแฟและเครื่องดื่มชูกำลังฯลฯ

  7. การแยกประเภทของยาเสพติดให้โทษการแยกประเภทของยาเสพติดให้โทษ ทางการแพทย์ แบ่งสารเสพติด เป็น 7 ประเภท • 4. ยาหลอนประสาท ได้แก่ แอลเอสดี, พีซีพี , เมสคารีน,ยาเค,เห็ดเมาและลำโพง ฯลฯ • 5. ยาที่ออกฤทธิ์หลายอย่าง เช่น กัญชา,ยาอี • 6. สารระเหยต่าง ๆ ได้แก่ สารไฮโดรคาร์บอนที่ใช้ในอุตสาหกรรมหรืองานไม้เช่น อาซีโทน,โทลูอีน ฯลฯ และ ผลิตภัณฑ์ต่างๆเช่น ทินเนอร์, แลคเกอร์และกาวปะยาง เป็นต้น • 7. แอลกอฮอล์ ได้แก่ บรั่นดี,VSOP,วิสกี้,เหล้า, เบียร์, กระแช่, อุ และข้าวหมาก เป็นต้น

  8. วิธีการเสพสารเสพติด 1.ทางปาก - กิน เช่น ยาอี, ยานอนหลับ,ยาม้า - เคี้ยวกลืน กัดกลืน เช่น ใบกระท่อม - อม เช่น เหล้าแห้ง - อมใต้ลิ้น เช่น เฮโรอีน,โคเคน - แตะลิ้น เช่น ยาหลอนประสาทแอลเอสดี - ซุกไว้ตามซอกเหงือก เช่น ฝิ่น - ดื่ม เช่น แอลกอฮอล์,กระท่อม,กัญชา - ดิ่ง(ทิ้งดิ่ง) ปั้นฝิ่นเป็นก้อนกลมแล้วกลืน 2.จมูก - สูด,นัตถุ์เช่น โคเคน,ยาเค - ดม เช่น สารระเหย

  9. วิธีการเสพสารเสพติด 3. สูบ - คลุกบุหรี่สูบ เช่น ฝิ่น,กัญชา,เฮโรอีน,โคเคน - สูบบ้อง หรือพาชนะที่ดัดแปลงมาจากบ้องผ่านน้ำ,ไม่ผ่านน้ำ เช่น ฝิ่น,กัญชา - สูบควัน ได้แก่ยาบ้า โคเคน เป็นต้น 4. ฉีด - ฉีดเข้าใต้ผิวหนัง เช่น เฮโรอีน - ฉีดเข้ากล้าม เช่น มอร์ฟีน - ฉีดเข้าเส้นเลือดดำ เช่น เฮโรอีน,ยาบ้า 5. อื่นๆ เช่น สอดทวารหนัก,ซุกใต้หนังตา,ลิปสติก,ผิวหนัง,พ่นทางสเปรย์, ใส่หัวแหวนดม ฯลฯ

  10. อุปกรณ์การเสพยา

  11. 2. ตัวผู้เสพ ทางร่างกาย - แนวโน้มทางกรรมพันธุ์, บุคลิกภาพ - ความพิการทางร่างกาย ความด้อยทางสติปัญญา - ความเจ็บป่วยเรื้อรัง ความเจ็บปวดเรื้อรัง ทางจิตใจ - โรคประสาท,โรคจิต,โรคซึมเศร้า - การเลี้ยงดูไม่ถูกต้องในวัยเด็ก - การถูกทำร้ายทางร่างกายและจิตใจในวัยเด็ก - ปัญหาทางบุคลิกภาพ ต่อต้านสังคม,พึ่งพา

  12. สรุปสาเหตุตัวผู้เสพ • ความอยากรู้ อยากลอง ด้วยความคึกคะนอง • เพื่อนชวน หรือต้องการให้เป็นที่ยอมรับจากกลุ่มเพื่อน • มีความเชื่อในทางที่ผิด เช่น เชื่อว่ายาเสพติดบางชนิดอาจช่วยให้สบายใจ ลืมความทุกข์ หรือช่วยให้ทำงานได้มาก อ่านหนังสือได้มาก • ถูกหลอกให้ใช้ยาเสพติดโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ เพื่อหนีปัญหา เมื่อมีปัญหาและไม่สามารถแก้ได้ • ใช้เพื่อลดความเจ็บปวดทางกาย อันเนื่องมาจากโรคภัยไข้เจ็บจนเกิดการติดยา เพราะใช้เป็นประจำ

  13. 3. สิ่งแวดล้อม - ขาดความใกล้ชิดผูกพันในครอบครัว และสังคม - มีการใช้สารเสพติดในครอบครัว - คบเพื่อนที่เสพยา สูบบุหรี่ตั้งแต่เด็ก - ทำงานใกล้ชิดกับยาโอกาสหาใช้,หาซื้อง่าย - ความกดดันทางเศรฐกิจ,สังคม ใช้ยาจนติด - มั่วสุมในแหล่งบันเทิงหรือที่ที่มียาเสพติด - ความเชื่อโบราณทางศาสนากับการใช้ยาเสพติด

  14. อันตรายจากสารเสพติดให้โทษ อันตรายจากสารเสพติดให้โทษ 1. สารกลุ่มฝิ่น และ เมทาโดน ได้แก่ ฝิ่น มอร์ฟีน เฮโรอีน (ผงขาว) ยาเมา (ยาแก้ไอ) และ เมทาโดน เมื่อเสพ - มีอาการมึนงง เฉื่อยชา ง่วงนอน - ม่านตาหรี่ หายใจ - หัวใจเต้นช้าลง - ความดันเลือดลดลง เมื่อได้ไม่เสพ - หงุดหงิด กระสับกระส่าย ปวดกระดูก ปวดท้อง ลงแดง - ม่านตาขยาย ความดันเลือดสูง ไข้ขึ้น

  15. โรคแทรกซ้อนจากการเสพสารกลุ่มฝิ่นโรคแทรกซ้อนจากการเสพสารกลุ่มฝิ่น พิษเฉียบพลัน กดการหายใจ หรือ ติดเชื้อในกระแสเลือดถึงเสียชีวิตได้ สูบ - หลอดลม,ปอดอักเสบโอกาสเกิดมะเร็งสูงกว่าปกติ ฉีด - ติดเชื้อแบคทีเรีย - ฝีตามร่างกาย ผิวหนัง ปอด สมอง - ติดเชื้อตับอักเสบ เชื้อเอดส์ และติดเชื้อโรคอื่นๆ - กระเพาะอาหารอักเสบ - วัณโรคปอด - กระตุ้นให้โรคจิต, โรคประสาทกำเริบ - เส้นประสาทเสื่อม จากการถูกกดทับ หรือถูกเข็มทำลาย

  16. 2. กลุ่มยานอนหลับและยากล่อมประสาท เมื่อเสพ - เดินเซ พูดเสียงอ้อแอ้ ควบคุมตนเองไม่ได้คลุ้มคลั่ง อาละวาด - ในขนาดสูงจะหลับ และกดการหายใจ เมื่อไม่ได้เสพ - หงุดหงิด กระวนกระวาย ชัก การนำไปผสมแอลกอฮอลล์ ออกฤทธิ์เสริมกดการหายใจ ถึงตายได้ ผู้ติดยานอนหลับ อาการจะดูคล้ายๆ คนเมาสุรา แต่ไม่มีกลิ่นสุราทางลมหายใจ

  17. 3. กลุ่มยากระตุ้นประสาท, ยาบ้า,กระท่อม,โคเคน กาแฟ,บุหรี่,เครื่องดื่มชูกำลังและน้ำอัดลม เมื่อเสพ - ครื้นเครง กระวนกระวาย แน่นหน้าอก, ใจสั่น,ปวดหัว,ม่านตาขยาย, หัวใจวาย - หายใจเร็ว - หัวใจเต้นเร็ว ความดันเลือดสูง - ไข้ขึ้น - อาการประสาทหลอน หวาดกลัว หลงผิด เมื่อไม่ได้เสพ - จะหงุดหงิด กระสับกระส่ายง่วงนอน ซึมเศร้า ฆ่าตัวตาย

  18. พิษจากสารเมทแอมเฟตามีนพิษจากสารเมทแอมเฟตามีน - หัวใจเต้นเร็ว ผิดจังหวะ ภาวะหัวใจล้มเหลว - ความดันโลหิตสูง ทำให้เส้นเลือดแตกในสมองได้ - ชัก - ไข้สูง - หวาดกลัวอย่างรุนแรง หูแว่ว ประสาทหลอน อาการพิษเฉียบพลันรุนแรงถึงตายได้ พิษจากการสูบควันยาบ้า เกิดโรคหลอดลม, ปอดอักเสบ , มะเร็งช่องปาก,คอและปอด สูงกว่าการสูบบุหรี่, วัณโรคปอด

  19. พิษจากสารอันตรายในยาบ้าพิษจากสารอันตรายในยาบ้า ได้แก่ ฟอร์มอรีน, ยาฆ่าหญ้า, สตริ๊กนีน และสารอื่นๆ พิษจากส่วนผสมในยาบ้า ได้แก่ คาเฟอีน, เอฟริดีน เสริมฤทธิ์กระตุ้นประสาท พิษจากสารโลหะหนักที่เจือปนในยาบ้า ได้แก่ สารปรอท, ตะกั่ว, ทองแดง และสารอื่นๆ การสูบยาบ้าไปนานๆ สมองและร่างกายจะได้สะสมสารพิษ ต่างๆที่เจือปนอยู่ เป็นการตายผ่อนส่ง ยาบ้า ทำให้เกิดโรคจิต รักษาไม่หาย

  20. กระท่อม ขยันทำงาน ทนแดด แต่กลัวอากาศครึ้มฝน เสพนานๆ ผิวหน้าจะดำเมื่อไม่เสพจะปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ อ่อนเพลีย ไม่มีแรง

  21. กระท่อมเป็นยาเสพติดชนิดหนึ่ง อาการขาดยา : ถ้าติดยาแล้วหยุดทันที จะมีอาการน้ำตาไหล น้ำมูกไหล ก้าวร้าว ปวดเมื่อยตามตัว และกล้ามเนื้อแขนขากระตุก ใจสั่น เหนื่อย และฟุ้งซ่าน

  22. กระท่อม... ยาเสพติดประเภท 5 เมื่อเสพเบื้องต้น จะทำให้รู้สึกสบาย ว่องไว ทำงานได้ เมื่อเสพต่อเนื่องจนติด จะเกิดโทษมหันต์ต่อร่างกายและจิตใจ กระท่อมภัยเงียบ...ร้ายแรง...คร่าชีวิต! ประสาทหลอน นอนไม่หลับ กระสับกระส่าย สับสน ผิวหนังดำเกรียม โดยเฉพาะใบหน้า โหนกแก้มทั้งสองข้าง เช่นเดียวกับโรคมะเร็งตับ หรือตับวาย ปากแห้ง คอแห้ง ช่องปากอักเสบติดเชื้อ ใจสั่น หัวใจเต้นเร็ว เหนื่อยมาก หัวใจวาย เสียชีวิต ปวดเมื่อยตามร่างกาย ปวดตามข้อ แขน ขา กระตุกและชักเกร็งได้ เบื่ออาหาร น้ำหนักลด ร่างกายซูบผอม ปวดท้อง ท้องผูกเรื้อรัง อุจจาระดำเป็นก้อนคล้ายมูลแพะ กระเพาะอาหารและลำไส้อุดตัน แตกทะลุ กระท่อม! ยาเสพติดร้ายแรงกว่าที่คิด เปลี่ยนความเชื่อผิดๆ เลิกคิด เลิกลอง เลิกเสพ

  23. “4x100 สูตรผสมมหันตภัย” 4x100 =น้ำพืชกระท่อมต้ม+โค้ก+ยาแก้ไอ+เครื่องดื่มบำรุงกำลัง+ยากันยุง+อัลปราโซแลม ไม่แน่นอนขึ้นอยู่กับความนิยม และการสามารถจัดหาวัตถุดิบในแต่ละพื้นที่ บางแห่งใช้กัญชาร่วมด้วย

  24. 4. กลุ่มยาหลอนประสาท ได้แก่ LSD ยาเค เห็ดเมา พี ซี พี และเมสคาลีน เมื่อเสพ - มีอาการเคลิบเคลิ้ม จินตนาการต่างๆ นานา - มีอาการทางจิต หูแว่ว ประสาทหลอน - ใช้นานๆเกิดการเสพติด และเป็นโรคจิตได้ เมื่อไม่ได้เสพ - หงุดหงิด กระสับกระส่าย แสตมป์ หรือ เมจิกเปเปอร์ คือ กระดาษเคลือบ LSD ยาเค หรือ ยาส่าย(หัว) ทำจากการ เอายาสลบเคตามีนมาอบให้แห้ง เมื่อสูดเข้าไปจะเมา เคลิบเคลิ้ม ส่ายหัวไปมา

  25. 5. สารออกฤทธิ์หลายอย่าง ได้แก่ กัญชา ยาอี • กัญชา • เมื่อเสพ ปริมาณน้อย • - กระตุ้นประสาท ร่าเริง • ปริมาณมาก • - เสพมากขึ้นจะซึม หลับ • - เสพขนาดสูงจะมีอาการประสาทหลอน • - กดการหายใจเสียชีวิตได้ • อาการพิษเฉียบพลันจากการสูบกัญชา • ตาแดง ใจสั่น แน่นหน้าอก กระวนกระวาย หวาดกลัว • อาการพิษเรื้อรัง • การเสพในระยะเวลานานเกิดอาการซึมเฉย - โรคจิตที่ถาวรได้

  26. ยาอีเมื่อเสพ - จะกระตุ้นประสาทรุนแรง ขยับขาตามเสียงเพลง - หลอนประสาท เกิดความรักไว้วางใจกัน - หัวใจเต้นเร็ว,ผิดจังหวะ ความดัน เลือดไข้ขึ้น - กล้ามเนื้อ-กราม เกร็ง กระตุก ทำลายเซลล์สมองเมื่อไม่ได้เสพ - ซึมเศร้ารุนแรง ฆ่าตัวตายได้ อันตรายจาก ยาอี กระตุ้นให้เกิดการหลั่งสารเคมีในสมองมากจนทำให้เซลล์สมองตาย สมองเสื่อม

  27. ปาร์ตี้ ยาอี การเสียชีวิตใน “ปาร์ตี้ยาอี” เนื่องจาก - การเคลื่อนไหวกล้ามเนื้อตลอดเวลา ร่างกาย - เกิดการสะสมสารพิษ การเสียสารน้ำ และเกลือแร่ในร่างกายมากเกินไป - การใช้ยาเสพติดหลายชนิดโดยขาดการควบคุม ร่วมกันออกฤทธิ์ที่เป็นอันตรายรุนแรง - หลังปาร์ตี้จะซึมเศร้ารุนแรงจนถึงฆ่าตัวตายได้

  28. 6. สารระเหย เมื่อเสพ - สูดดมแล้วเมาเคลิบเคลิ้ม เดินเซ - ประสาทหลอน เห็นดาวเห็นเดือน หูแว่วได้ - ทำท่าทางแปลกประหลาด ไม่ได้เสพ จะมีอาการหงุดหงิด วิตกกังวล กระวนกระวาย พิษจากการสูดดมสารระเหย - ทางเดินหายใจ เยื่อบุโพรงจมูก- หลอดลม - ปอดอักเสบ - ทางเดินอาหาร หลอดอาหารอักเสบ, กระเพาะอักเสบ - กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ, ตับ, ไต อักเสบ

  29. พิษจากการสูดดมสารระเหยพิษจากการสูดดมสารระเหย • - ทำลายไขกระดูก เกิดมะเร็งเม็ดเลือดขาว, เม็ดเลือดต่ำ • ทำลายระบบประสาททั้งส่วนปลายและส่วนกลาง • - กล้ามเนื้อแขนขาลีบ • - ทำลายสมองแบบถาวร ทำให้มีอาการสั่น, เดินเซ • - ทำลายเซลล์สืบพันธุ์ ทำให้กำเนิดบุติที่พิการได้ • - ทำให้เกิดโรคสมองเสื่อมเกิดโรคจิตแบบถาวรได้ ทำลายทุกระบบในร่างกาย 25 30

  30. 7. แอลกอฮอล์ เมื่อเสพ - ดื่มแล้วเกิดอาการเมา ควบคุมตัวเองไม่ได้ - กดประสาท กดการหายใจ - เป็นสาเหตุอันดับหนึ่งในการเกิดอุบัติเหตุ เมื่อไม่ได้เสพ - เมื่อเสพติดแล้ว เกิดภาวะพิษสุราเรื้อรัง การหยุดดื่มกระทันหันจะมีอาการชัก หูแว่ว ประสาทหลอน การดื่มแอลกอฮอล์ร่วมกับการใช้ยาอื่น อาจเป็นอันตรายถึงชีวิต

  31. เครื่องดื่มชูกำลัง

  32. สาเหตุของการเสพสารเสพติด ทฤษฎี BIO-PSYCHO-SOCIAL ของการเสพติด ตัวบุคคล (พันธุกรรม) ตัวสาร สิ่งแวดล้อม

  33. “ต่ำกว่า 18 ห้ามดื่ม”

  34. สารระเหย

  35. ยาเค

  36. G H B

  37. สมอง ผิวหนัง สายตา ปากและฟัน เล็บ กล่องเสียง ผิวหนัง หัวใจและหลอดเลือด ปอด ทางเดินอาหาร ผลเสียบางส่วนของการสูบบุหรี่ต่ออวัยวะต่างๆ ในร่างกาย

  38. แอลกอฮอล์ทำลายอวัยวะต่างๆในร่างกายแอลกอฮอล์ทำลายอวัยวะต่างๆในร่างกาย

  39. มอร์ฟีน

  40. เห็ดขี้ควาย

  41. ยาไอซ์

More Related