1 / 22

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม. โดย พนิดา ทรงรัมย์. ความหมายและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์. คอมพิวเตอร์ คือ อุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้สำหรับการประมวลผล ประโยชน์ ยุคแรก 1940 สร้างคอมพิวเตอร์มาเพื่อใช้ในทางคณิตศาสตร์ เพราะ คำนวณได้เร็วกว่ามนุษย์

verdad
Download Presentation

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม โดย พนิดา ทรงรัมย์

  2. ความหมายและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ความหมายและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ • คอมพิวเตอร์ คือ อุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้สำหรับการประมวลผล • ประโยชน์ • ยุคแรก 1940 สร้างคอมพิวเตอร์มาเพื่อใช้ในทางคณิตศาสตร์ เพราะ • คำนวณได้เร็วกว่ามนุษย์ • แตกต่างจากเครื่องคิดเลขคือ สามารถเขียนโปรแกรมให้ทำงานตามวัตถุประสงค์ • สม่ำเสมอในการทำงานมากกว่ามนุษย์ • ยุค 1980 เป็นต้นมา • การเก็บข้อมูล • การสื่อสาร

  3. input process output หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ ตัวอย่าง เราป้อนจำนวนชั่วโมงทำงานของพนักงานเพื่อให้โปรแกรมคำนวณรายได้ของพนักงาน แล้วพิมพ์เอกสารออกมา Input :จำนวนชั่วโมงทำงานของพนักงาน Process:คำนวณรายได้ของพนักงาน Output:พิมพ์เอกสารออกมา

  4. โปรแกรมและภาษา • โปรแกรมเป็นไฟล์ที่เป็นภาษาเครื่อง( machine language) เพื่อไว้สั่งให้เครื่องทำงานตาม • การสร้างโปรแกรมต้องใช้ภาษาทางคอมพิวเตอร์ • ซึ่งสามารถจำแนกออกได้เป็น 3 ระดับดังนี้ • 1. ภาษาเครื่อง (Machine Language) เป็นภาษาที่สามารถสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงาน ได้ทันที โดยเขียนอยู่ในรูปของรหัสของระบบเลขฐานสอง 0 และ 1 • 2. ภาษาระดับต่ำ (Low-level Language) เป็นภาษาที่ใช้ตัวอักษรแทนตัวเลขฐานสอง เช่น ADD A,B เป็นต้น ตัวอย่าง ภาษาระดับต่ำ เช่นภาษาแอสเซมบลี (Assembly Language) • 3. ภาษาระดับสูง (High-level Language) เป็นภาษาที่คล้ายกับประโยคในภาษาอังกฤษ ทำให้สามารถเข้าใจโปรแกรมได้ง่ายขึ้น เช่นPascal, C เป็นต้น

  5. Source Code compiler ภาษาเครื่อง ตัวแปลโปรแกรม (compiler) • ตัวแปลโปรแกรม compiler เป็นตัวแปลภาษาที่อยู่ในเนื้อโปรแกรมให้เป็นภาษาเครื่อง

  6. ชุดคำสั่ง โปรแกรม และตัวแปร • ชุดของคำสั่ง(instruction set) คือ กลุ่มของคำสั่งที่ภาษานั้นรู้จัก • โปรแกรม คือ ลำดับของคำสั่งที่อยู่ในชุดของคำสั่ง • ตัวแปร เป็นองค์ประกอบในการเขียนโปรแกรม สร้างขึ้นเพื่อใช้ในการอ้างถึงตำแหน่งของข้อมูลบนหน่วยความจำหลัก • ตัวแปรจะมีค่าได้เพียงค่าเดียว ณ เวลาหนึ่ง

  7. ผังงานโปรแกรม (flowchart) • นักภาษาคอมพิวเตอร์ได้ออกแบบรูปแบบคำสั่ง เพื่อให้นักเขียนโปรแกรม สามารถนำไปใช้ 3 กรณี • ลำดับการทำงาน • การตัดสินใจ • การวนซ้ำ • ผังงานโปรแกรมจึงเป็นเครื่องมือที่ช่วยในการเขียนโปแกรมที่สามารถแสดงให้เห็นถึง 3 ข้อดังกล่าว

  8. ผังงานโปรแกรม (flowchart)

  9. ผังงานโปรแกรม (flowchart) start ตัวอย่าง หาพื้นที่สี่เหลี่ยมพื้นผ้า Width, Length width Area  Width * Length; length Area stop

  10. ผังงานโปรแกรม (flowchart) start ตัวอย่างบริษัทก่อสร้างแห่งหนึ่งมีขนาดที่ดินในรูปของ ไร่ งาน ตารางวา ต้องการแปลงให้เป็นตารางวา ** 1 ไร่ มี 4 งาน 1 งาน มี 100 ตารางวา Rai, Ngan, Wa NganWa  Ngan * 100; RaiWa  Rai * 400; WaSqr  RaiWa + NganWa + Wa; WaSqr stop

  11. ผังงานโปรแกรม (flowchart) start แบบฝึกหัด 1.1 เขียน flowchart ใหม่ โดยให้ใช้ตัวแปรน้อยที่สุด Rai, Ngan, Wa NganWa  Rai*400+Ngan*100+Wa; WaSqr stop

  12. ตัวอย่างผังงานโปรแกรม (flowchart) start ตัวอย่าง ร้านอาหารแห่งหนึ่งมอบส่วนลด 10% ทันทีที่ลูกค้ามี ยอดทานอาหาร(Amt) เกิน 1,000 บาท ต้องการคำนวณหา เงินที่ลูกค้าจะต้องจ่าย Amt Amt > 1000 N Y Amt  Amt * 0.9; ’Amt is’, Amt stop ** การแสดงคำที่ต้องการแสดงให้ครอบด้วย เครื่อง single quote (’)

  13. ตัวอย่างผังงานโปรแกรม (flowchart) start แบบฝึกหัด1.2เขียน flowchart ให้รับค่าจากคีย์บอร์ดเป็นราคาสินค้า ที่ต้องชำระ(Cost) โดยในกรณีที่ราคามากกว่า5,000 บาท ให้ลดราคา 10% มิฉะนั้นให้ลด 5% โดยแสดงราคาที่ต้องชำระ Cost Cost > 5000 N Y Cost  Cost * 0.95; Cost  Cost * 0.9; ’Cost is’, Cost stop

  14. ตัวอย่างผังงานโปรแกรม (flowchart) ตัวอย่าง เขียน flowchart เพื่อหาผลรวม 1-5 1+2+3+4+5 = 15 start กำหนดค่าเริ่มต้น Cnt = 0, Sum =0; Cnt  0; Sum  0; Cnt = 6 Y N Sum Sum  Sum + Cnt; stop Cnt  Cnt + 1;

  15. ตัวอย่างผังงานโปรแกรม (flowchart) start ตัวอย่าง เขียน flowchart เพื่อหายอดการจำหน่ายรวม ของธุรกิจหนึ่ง ซึ่งได้รับยอดการจำหน่าย(Sales) จากสาขาทั้ง 5 สาขาในแต่ละวัน Cnt  0; Sum  0; Cnt = 5 Y N Sum Sales stop Sum  Sum + Sales; Cnt  Cnt + 1;

  16. ตัวอย่างผังงานโปรแกรม (flowchart) start แบบฝึกหัด 1.4 เขียน flowchart โดยให้รับค่าจากคีย์บอร์ด 5 ค่า ทีละค่า โดยหลังจากรับค่าแต่ละค่าแล้ว ให้เพิ่มค่านั้นไป 10 หน่วย และ จากนั้นจึงพิมพ์ค่าใหม่นั้นออกหน้าจอ โดยใช้การวนซ้ำ (ใช้ตัวแปร X ตัวเดียว) Cnt  0; Y Cnt = 5 N X stop X  X + 10; X Cnt  Cnt + 1;

  17. เฉลยแบบฝึกหัด

  18. ตัวอย่างผังงานโปรแกรม (flowchart) start แบบฝึกหัด1.3 Cost Y Cost > 10000 Cost  Cost * 0.85; N Y Cost > 5000 Cost  Cost * 0.9; N ’Cost is’, Cost stop

  19. ตัวอย่างผังงานโปรแกรม (flowchart) start แบบฝึกหัด 1.6 Sum  0; Cnt  0; วนซ้ำแบบไม่มีที่สิ้นสุด Sales Y Cnt = 5 N Sum N stop Sum  Sum + Sales; Cnt  Cnt + 1;

  20. ตัวอย่างผังงานโปรแกรม (flowchart) start Sum  0; Cnt  0; แบบฝึกหัด 1.6 รับค่า sales แค่ครั้งเดียว Sales Y Cnt = 5 N Sum N stop Sum  Sum + Sales; Cnt  Cnt + 1;

  21. ตัวอย่างผังงานโปรแกรม (flowchart) start แบบฝึกหัด 1.6 Sum  0; Cnt  0; วนซ้ำแบบไม่มีที่สิ้นสุด Sales Y Cnt = 5 N Sum N stop Sum  Sum + Sales; Cnt  Cnt + 1;

  22. ตัวอย่างผังงานโปรแกรม (flowchart) start A, B แบบฝึกหัด 1.7 Cnt  0; Pow  1; Y Cnt = B N Power N stop Pow  Pow * A; Cnt  Cnt + 1;

More Related