1 / 47

ภาระกิจของสังคมไทย ในการพัฒนาขบวนการควบคุม การบริโภคยาสูบในยุคโลกาภิวัฒน์            

ภาระกิจของสังคมไทย ในการพัฒนาขบวนการควบคุม การบริโภคยาสูบในยุคโลกาภิวัฒน์            . ศ.นพ.ประกิต วาทีสาธกกิจ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่. ข้อเท็จจริง ผู้ที่เสพติดบุหรี่แล้วไม่เลิกสูบ. ครึ่งหนึ่งจะเสียชีวิต

veda-rush
Download Presentation

ภาระกิจของสังคมไทย ในการพัฒนาขบวนการควบคุม การบริโภคยาสูบในยุคโลกาภิวัฒน์            

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ภาระกิจของสังคมไทยในการพัฒนาขบวนการควบคุมการบริโภคยาสูบในยุคโลกาภิวัฒน์            ศ.นพ.ประกิต วาทีสาธกกิจ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่

  2. ข้อเท็จจริงผู้ที่เสพติดบุหรี่แล้วไม่เลิกสูบข้อเท็จจริงผู้ที่เสพติดบุหรี่แล้วไม่เลิกสูบ • ครึ่งหนึ่งจะเสียชีวิต • ครึ่งหนึ่งของผู้ที่เสียชีวิตจะมีอายุ ระหว่าง 35-69 ปี • การเลิกสูบบุหรี่เป็นผลดีต่อสุขภาพและลดการเสียชีวิต

  3. ภาพรวมปัญหาการสูบบุหรี่ของประเทศไทยภาพรวมปัญหาการสูบบุหรี่ของประเทศไทย • ผู้เสพติดบุหรี่ 11 ล้านคน • เสียชีวิตปีละ 40,000 กว่าคน • เป็นสาเหตุที่สำคัญลำดับที่สองของการเจ็บป่วย และเสียชีวิต • แต่ละปีมีเยาวชนเสพติดบุหรี่ใหม่ประมาณ 3 แสนคน ทดแทนผู้สูบบุหรี่ที่เลิกสูบหรือเสียชีวิต

  4. การรณรงค์ไม่สูบบุหรี่ที่ผ่านมาการรณรงค์ไม่สูบบุหรี่ที่ผ่านมา • 2517 แพทยสมาคมผลักดันให้พิมพ์คำเตือน • 2519 กทม.ห้ามสูบบุหรี่ในโรงภาพยนตร์และรถเมล์ • 2523 สมาคมอุรเวชช์ สมาคมโรคหัวใจ ผลัก ดันให้เปลี่ยนคำเตือน • 2526 สถาบันมะเร็งแห่งชาติจัดประชุมบุหรี่ และสุขภาพ ครั้งที่ 1

  5. พ.ศ.2529 ก่อตั้งโครงการรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ • พ.ศ.2530 ชมรมแพทย์ชนบทจัดวิ่งรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ • พ.ศ.2531 มติ ครม.ห้ามสร้างโรงงานยาสูบเพิ่ม • พ.ศ.2532 คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคห้ามโฆษณาบุหรี่ • พ.ศ.2532 ครม.ตั้งคณะกรรมการควบคุมการบริโภคยาสูบแห่งชาติ(คบยช.) • พ.ศ.2533 เปิดให้มีการนำเข้าบุหรี่เสรี • พ.ศ.2534 ตั้งสำนักงานควบคุมการบริโภคยาสูบ กสธ.

  6. 2535 – พระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ - พระราชบัญญัติคุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่ • 2536 – ครม. มีมติขึ้นภาษีบุหรี่และให้ปรับขึ้น ตามการเปลี่ยนแปลงของค่าครองชีพ • 2544 – พระราชบัญญัติกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริม สุขภาพ (สสส.) • 2547 – รัฐบาลไทยร่วมลงสัตยาบรรณอนุสัญญาควบคุม การบริโภคยาสูบระดับโลก

  7. สถานการณ์การควบคุมการบริโภคยาสูบสถานการณ์การควบคุมการบริโภคยาสูบ สิ่งที่ได้ดำเนินการแล้ว 1. มีกฎหมายควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ 2. มีกฎหมายห้ามสูบบุหรี่ในที่สาธารณะ 3. มีนโยบายขึ้นภาษีบุหรี่เป็นระยะ ๆ 4. มีหน่วยงานควบคุมการบริโภคยาสูบ กสธ. 5. มีองค์กรเอกชนรณรงค์ไม่สูบบุหรี่ 6. มีกฎหมายนำภาษีบุหรี่มาสนับสนุนการควบคุมยาสูบ

  8. ผลที่เกิดขึ้น • อัตราการสูบบุหรี่ของเพศชายลดลงตามลำดับ • จำนวนชายไทยที่เลิกบุหรี่มีกว่าสองล้านคน • อัตราการสูบบุหรี่ของเพศหญิงไม่เพิ่มขึ้น • จำนวนผู้สูบบุหรี่ในภาพรวมยังไม่ลดลง • รัฐบาลมีรายได้จากภาษีเพิ่มขึ้นหลายหมื่นล้านบาทในขณะที่ยอดขายบุหรี่ไม่เพิ่มขึ้น • ประชาชนตื่นตัวถึงพิษภัยของการสูบบุหรี่และไม่ยอมรับการสูบบุหรี่ • ประเทศไทยได้รับการยกย่องถึงความก้าวหน้าในการควบคุมยาสูบ

  9. Number and percentage of smokers (15 years and over) Year Smoker % Male % Female % 1988 10.0 28.4 9.3 53 0.70 4.0 1991 11.3 29.3 10.5 55 0.83 4.4 1993 10.3 25.6 9.8 48 0.56 2.7 1996 11.225.8 10.6 49 0.60 2.8 1999 10.2 22.4 9.6 43 0.59 2.6 200110.5 22.5 9.9 43 0.55 2.4 2004 9.6 19.5 9.1 37 0.52 2.1

  10. อัตราการสูบบุหรี่ประชากรไทยอายุมากกว่า 15 ปี หญิง ชาย 1986 2004 1986 2004 • 15-19 = 24 10.5 0.8 0.26 • 20-24 = 54 32 1.7 0.9 • 25-29 = 65 41 3 1.5 • 30-34 = 67 43 4 1.3 • 35-39 = 70 43 5.8 1.7 • 40-44 = 72 43 8.8 2.6 • 45-49 = 72 47 8.8 3.3 • 50-54 = 76 38 10.5 4.3 • 55-59 = 76 45 10.5 3.8 • 60 = 67 35 8.7 3.0 • รวม = 49 37 4.1 2.1 สำนักงานสถิติแห่งชาติ

  11. Total Number of Smoker and Smoking Prevalence(Population over 15 years) Source : National Bureau of Statistic : age 15 years and above

  12. Smoking prevalence 1989-2004 Source : National Bureau of Statistic : age 15 years and above

  13. อัตราการสูบบุหรี่ประชากรอายุมากกว่า 15 ปี ชาย (จีน) ชาย (ไทย) 19841996 1986 1996 2004 • 15 = 14 17 24 18 10.5 • 20 = 4452 54 49 32 • 25 = 6263 65 54 41 • 30 = 6868 67 56 43 • 35 = 6970 70 58 43 • 40 = 7070 70 56 43 • 45= 7370 72 56 47 • 50= 7368 72 57 38 • 55 = 7165 76 57 45 • 60 = 6960 67 49 35

  14. Excise tax, cigarette sales and tax revenue YearTax(%)SalesTax revenue (million Pack) (million of Baht) 1992 55 2035 15,438 1993 55 2135 15,345 1994 60 2328 20,002 1995 62 2171 20,736 1996 68 2463 24,092 1997 68 2415 29,755 1999 70 1810 26,708 2000 71.5 1826 28,110 2001 75 1727 29,627 2002 75 1716 31,247 2003 75 1904 33,582 2004 75 2110 36,326 Source: the Excise Department, Ministry of Finance .Thailand

  15. แต่เรายังมีภาระกิจที่จะต้องทำอีกมาก… … … …

  16. อัตราการสูบบุหรี่ของชายไทยยังสูงมาก (ร้อยละ 40+) • ยังไม่สามารถลดจำนวนผู้เสพติดในภาพรวม(10 ล้านคน) • วัยรุ่นหญิงมีแนวโน้มการสูบบุหรี่เพิ่มขึ้น • การเปิดการค้าเสรีทำให้การแข่งขันของธุรกิจยาสูบรุนแรงขึ้น • ผู้ที่เสพติดบุหรี่ขณะนี้ส่วนใหญ่เป็นผู้ที่เสพติดมากอยู่ในกลุ่มคนที่ด้อยการศึกษาและฐานะยากจน การรณรงค์จะยากกว่าที่ผ่านมา

  17. การควบคุมการสูบบุหรี่ยังมีปัญหาการควบคุมการสูบบุหรี่ยังมีปัญหา • การบังคับใช้กฎหมายหย่อนยาน • รัฐบาลยังลังเลกับนโยบายการควบคุมยาสูบอย่างจริงจัง • หน่วยงานควบคุมการบริโภคยาสูบขาดบุคลากร • องค์กรและบุคลากรที่ทำงานควบคุมยาสูบระดับรากหญ้ายังมีจำนวนน้อยมาก • การผลักดันนโยบายได้รับการต่อต้านจากธุรกิจยาสูบ • ยังไม่ได้ให้ความสำคัญกับการช่วยผู้ติดบุหรี่ให้เลิกสูบ

  18. วิเคราะห์สิ่งที่ได้ทำมาแล้ววิเคราะห์สิ่งที่ได้ทำมาแล้ว • เน้นหนักไปทางผลักดันนโยบายและมาตรการทางกฎหมาย • เน้นหนักไปที่การป้องกันไม่ให้เด็กติดใหม่ • ทำให้ผู้เสพติดเลิกสูบโดยทางอ้อม • มาตรการที่จะช่วยให้ผู้ที่เสพติดบุหรี่เลิกสูบโดยตรงยังทำน้อย • องค์กรและบุคลากรที่ทำงานเกี่ยวข้องกับยาสูบยังมีน้อยมาก

  19. ฝ่ายที่ส่งเสริมการสูบบุหรี่ฝ่ายที่ส่งเสริมการสูบบุหรี่ ฝ่ายที่รณรงค์ไม่สูบบุหรี่ โรงงานยาสูบ บริษัทบุหรี่ข้ามชาติ กรมสรรพสามิต ร้านค้าปลีก บุหรี่เป็นพระเอก ทำให้เด็กสูบบุหรี่ เป้าหมายผลกำไร(เงิน) ชี้นำโดยเงินตัวเดียว • กลุ่มงานควบคุมยาสูบ กสธ. • มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ • สถาบันส่งเสริมสุขภาพไทย • นักวิชาการ • บุหรี่เป็นสาเหตุก่อโรค • ปกป้องเด็ก • เป้าหมายปกป้องสุขภาพ • ชี้นำโดยองค์การอนามัยโลก - ธนาคารโลก

  20. โรงงานยาสูบไทย การเงินปีงบประมาณ 2546 • สินทรัพย์ 19,173 ล้านบาท • รายได้ 42,502 ล้านบาท • รายจ่าย 36,554 ล้านบาท • กำไรสุทธิ 5,948 ล้านบาท • เงินโบนัส 582 ล้านบาท • เงินนำส่งรัฐ 35,843 ล้านบาท

  21. โรงงานยาสูบไทย วิสัยทัศน์ “เป็นผู้นำของธุรกิจยาสูบในภูมิภาคอาเซียนที่มีความรับผิดชอบต่อสังคม”

  22. พันธกิจ   “เป็นผู้ผลิตและจำหน่ายสินค้าที่ได้มาตรฐานสากลด้วยใบยาที่มีคุณภาพ มีส่วนแบ่งตลาดในระดับแนวหน้าได้รับการยอมรับและความพอใจจากผู้บริโภคกลุ่มผู้ใหญ่ที่ยังเลิกสูบบุหรี่ไม่ได้ รวมทั้งยึดหลักบรรษัทภิบาลและมีความรับผิดชอบต่อสังคมและสภาพแวดล้อม”

  23. นโยบาย โรงงานยาสูบมีนโยบายสำคัญในด้านการปรับปรุงและพัฒนาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงาน โดยจัดแบ่งกลุ่มภารกิจเป็น 4 กลุ่ม คือ - ภารกิจด้านอำนวยการ- ภารกิจด้านการผลิต - ภารกิจด้านการตลาด- ภารกิจด้านใบยา

  24. ความภูมิใจกว่า 60 ปี ที่โรงงานยาสูบมีส่วนช่วยพัฒนาเศรษฐกิจหลักของประเทศผ่านภารกิจคือการผลิตบุหรี่ไทยให้ได้มาตรฐาน ลดการนำเข้าบุหรี่จาดต่างประเทศ โดยสามารถนำรายได้เข้ารัฐหลายหมื่นล้านบาทต่อปี ช่วยส่งเสริมเศรษฐกิจไทย

  25. JTI BAT The largest international tobacco company in the Asia Pacific region; Hold strong positions in several markets including, Malaysia and Australia has offices in Japan, Malaysia, Singapore, Philippines, Thailand, Vietnam, Taiwan, Korea PMI In Asia Volume increased 3.3; Gains were achieved in Indonesia, Malaysia, the Philippines, Thailand and Taiwan

  26. 3บริษัทบุหรี่ข้ามชาติที่ใหญ่ที่สุด3บริษัทบุหรี่ข้ามชาติที่ใหญ่ที่สุด กำไรสุทธิ (2542) • บ.ฟิลิป มอริส $5.05 billion • บริษัทบริติช อเมริกัน $3.18 billion โทแบคโค • บริษัทแจแปน $1.7 billion โทแบคโค

  27. กำไรจากการขายบุหรี่ของฟิลลิป มอริส year กำไรในประเทศกำไรต่างประเทศ 1988 3.1 0.8 2002 5.0 5.7 2003 3.9 6.3 (155,560,000,000.-) (251,440,000,000.-) ( US$ billion)Source: PM annual reports www.altria.com/download/pdf/investors_AltriaGroupInc_2003_AnnualRpt.pdf

  28. ผลิตภัณฑ์ของธุรกิจยาสูบผลิตภัณฑ์ของธุรกิจยาสูบ 1. เป็นสิ่งเสพติดที่มีอำนาจการเสพติดสูงสุด นิโคติน > เฮโรอีน > โคเคน > แอลกอฮอล์ > คาเฟอีน 2. มีผู้เสพติด 10 ล้านคนเศษ (ในไทย) 3. อายุเฉลี่ยที่เริ่มติดคือ 18 ปี (ร้อยละ 65 ติดก่อน 18 ปี) 4. โดยเฉลี่ยจะติดเป็นเวลา 23 ปี 5. เลิกสูบได้สำเร็จร้อยละ 2-3 ต่อปี 6. มีร้านค้าปลีก 5 แสนรายทั่วประเทศ

  29. วงจรของการเสพติด • ผู้เสพติดนิโคตินในบุหรี่ • ร้านค้าปลีกเสพติดกำไรจากการขาย • โรงงานยาสูบเสพติดกำไรและโบนัส • กระทรวงการคลังเสพติดภาษี • นักการเมืองบางฝ่ายเสพติดผลประโยชน์ • มีเยาวชนที่เสพติดใหม่เข้ามาทดแทนลูกค้าที่เลิกสูบหรือเสียชีวิตตลอดเวลา • บริษัทบุหรี่และผู้มีอิทธิพลอยู่เบื้องหลังการค้าบุหรี่เถื่อน

  30. สิ่งที่ธุรกิจยาสูบให้แก่สังคมสิ่งที่ธุรกิจยาสูบให้แก่สังคม ด้านบวก 1. ทำภาษีและกำไรปีละหลายหมื่นล้านบาท 2. เกิดการจ้างงานหลายหมื่นคน ด้านลบ 1. ทำให้สุขภาพของคนไทยเสื่อมโทรม 2. เพิ่มความเสี่ยงให้เยาวชนติดสิ่งเสพติดอื่น 3. ประสิทธิภาพของประชากรลดลงจากการป่วยและ เสียชีวิตก่อนวัย 4. ค่าใช้จ่ายผู้ป่วยเพิ่มขึ้นหลายหมื่นล้านบาท (มาก กว่าภาษีที่ได้) ความเห็นของธนาคารโลก - ผลกระทบด้านลบ มากกว่า ด้านบวก (ในเชิงเศรษฐกิจ)

  31. ธนาคารโลก สนับสนุนให้ทุกประเทศควบคุมยาสูบ • เพื่อให้ประชากรมีสุขภาพดีขึ้น • เพื่อเศรษฐกิจที่ดีขึ้น • เพื่อลดความยากจน • เพื่อคุ้มครองเยาวชน ไม่ให้สินเชื่อกิจการยาสูบทุกชนิดตั้งแต่ พ.ศ.2535 !

  32. คำถามของธนาคารโลกต่อสังคม?คำถามของธนาคารโลกต่อสังคม? เราควรจะให้สิทธิแก่เยาวชนวัย 18 ปี หรือต่ำกว่า ในการตัดสินใจว่าจะเป็นผู้ที่สูบบุหรี่เมื่อเป็นผู้ใหญ่หรือไม่?

  33. เยาวชน อายุ 18 ปี หรือต่ำกว่า • เขามีความรู้มากน้อยเพียงไรถึงอันตรายของการสูบบุหรี่ • แม้เขาจะได้รับการให้ความรู้ เขามีวุฒิภาวะที่จะตัดสินใจว่าเขาจะเป็นผู้สูบบุหรี่หรือไม่ • วัยรุ่นส่วนใหญ่ประเมินอำนาจการเสพติดของบุหรี่ต่ำกว่าที่เป็นจริง

  34. การที่สังคมไม่จริงจังต่อการควบคุมการสูบบุหรี่เป็นเรื่องที่ถูกต้องหรือไม่? ในเมื่อ • การเสพติดบุหรี่ติดขณะเป็นวัยรุ่น • เป็นพฤติกรรมเสี่ยงที่เกิดขึ้นขณะเป็นวัยรุ่นที่ส่งผลต่อการมีสุขภาพทรุดโทรมเมื่อเป็นผู้ใหญ่ที่สำคัญที่สุด • ครึ่งหนึ่งของผู้ที่เสพติดแล้วไม่เลิกจะเสียชีวิตจากพฤติกรรมนี้ • ผู้ใหญ่ที่ติดบุหรี่ร้อยละ 80 อยากเลิกแต่ไม่สามารถเลิกได้ • ผู้ที่เสพติดบุหรี่ส่วนใหญ่เป็นผู้ที่ด้อยการศึกษาและยากจน • บุหรี่ก่อให้เกิดการสูญเสียทั้งทางสุขภาพและเศรษฐกิจ • การควบคุมการสูบบุหรี่เป็นการลงทุนที่คุ้มค่าทำไมไม่ทำ

  35. ปัจจัยที่เป็นภาวะคุกคามต่อการควบคุมยาสูบของไทยปัจจัยที่เป็นภาวะคุกคามต่อการควบคุมยาสูบของไทย • เศรษฐกิจที่ดีขึ้น ทำให้กำลังซื้อเพิ่มขึ้น • การเปิดเขตการค้าเสรี • การบริโภคในประเทศพัฒนาแล้วลดลงอย่างต่อเนื่อง • บริษัทบุหรี่ข้ามชาติถูกฟ้องร้องในประเทศตะวันตกมากขึ้น • การเพิ่มประสิทธิภาพของโรงงานยาสูบเพื่อแข่งขัน • นักการเมืองที่มีสายตาสั้นหรือแกล้งไม่ฉลาด

  36. ปัจจัยที่สนับสนุนการควบคุมยาสูบของไทยปัจจัยที่สนับสนุนการควบคุมยาสูบของไทย • การร่วมลงสัตยาบรรณในอนุสัญญาควบคุมการบริโภคยาสูบของโลก • ค่านิยมของการสูบบุหรี่ที่เปลี่ยนไป • การที่มีแหล่งเงินทุนสนับสนุนจาก สสส. • การมีเครือข่าย-องค์กรระดับรากหญ้าเข้าร่วมขบวนการรณรงค์ควบคุมการบริโภคยาสูบในจำนวนที่มากขึ้น • ถ้าฝ่ายการเมืองมีความจริงใจต่อปัญหาสุขภาพและเศรษฐกิจของชาติ

  37. อนุสัญญาควบคุมการบริโภคยาสูบมีผลบังคับใช้ตั้งแต่ กุมภาพันธ์ 2548 มาตรา 6 มาตรการด้านราคาและภาษีเพื่อลดการบริโภคยาสูบ มาตรา 7 มาตรการควบคุมที่ไม่เกี่ยวกับภาษี (เช่นกฎหมายต่าง ๆ ) มาตรา 8 การคุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่ มาตรา 9 การควบคุมส่วนประกอบในการผลิตยาสูบ มาตรา 10 การเปิดเผยส่วนประกอบที่ใช้ในการผลิตยาสูบ

  38. มาตรา 11 การพิมพ์คำเตือนผลิตภัณฑ์ยาสูบ มาตรา 12 การให้สุขศึกษา ประชาสัมพันธ์ การ สร้างความตระหนักแก่ประชาชน มาตรา 13 การควบคุมการโฆษณาและส่งเสริม การขาย มาตรา 14 การช่วยให้ผู้เสพติดเลิกใช้ยาสูบ มาตรา 15 การควบคุมบุหรี่หนีภาษี มาตรา 16 การห้ามขายแก่เด็ก

  39. มาตรา 17 การสนับสนุนการปลูกพืชทดแทนยาสูบ มาตรา 18 การคุ้มครองสิ่งแวดล้อมและสุขภาพจากการทำ ไร่ยาสูบ มาตรา 19 การฟ้องร้องบริษัทบุหรี่ มาตรา 20 กานวิจัยและเฝ้าระวังผลกระทบจากการบริโภค ยาสูบรวมทั้งข้อมูลการดำเนินการของธุรกิจยาสูบ มาตรา 21 การรายงานข้อมูลและผลการดำเนินการตาม มาตราต่าง ๆ มาตรา 22 ความร่วมมือด้านวิทยาศาสตร์ ด้านเทคนิค และ ด้านกฎหมายระหว่างประเทศ มาตรา 26 การจัดสรรงบประมาณสนับสนุนการดำเนินการ ตามรายละเอียดของอนุสัญญา

  40. สิ่งที่ไทยยังไม่ได้ดำเนินการสิ่งที่ไทยยังไม่ได้ดำเนินการ มาตรา 9 การควบคุมส่วนประกอบในการผลิตยาสูบ มาตรา 10 การเปิดเผยส่วนประกอบที่ใช้ในการผลิตยาสูบ มาตรา 17 การสนับสนุนการปลูกพืชทดแทนยาสูบ มาตรา 18 การคุ้มครองสิ่งแวดล้อมและสุขภาพจากการทำ ไร่ยาสูบ มาตรา 19 การฟ้องร้องบริษัทบุหรี่ มาตรา 20 ผลกระทบจากการบริโภคยาสูบและข้อมูลการ ดำเนินการของธุรกิจยาสูบ

  41. สิ่งที่ไทยทำอยู่แต่ต้องทำให้ดีขึ้นสิ่งที่ไทยทำอยู่แต่ต้องทำให้ดีขึ้น มาตรา 8 การคุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่ มาตรา 12 การให้สุขศึกษา ประชาสัมพันธ์และการ สร้างความตระหนักแก่ประชาชน มาตรา 14 การช่วยให้ผู้เสพติดเลิกใช้ยาสูบ มาตรา 15 การควบคุมบุหรี่หนีภาษี การห้ามขายบุหรี่ ปลอดบุหรี่ มาตรา 16 การห้ามขายแก่เด็กและการห้ามแบ่งซองขาย มาตรา 20 การวิจัยและเฝ้าระวังผลกระทบจากการบริโภค ยาสูบ

  42. การที่จะดำเนินการตามกรอบอนุสัญญาการที่จะดำเนินการตามกรอบอนุสัญญา • ต้องมีองค์ความรู้ ยังขาดด้านเทคนิค • ระบบข้อมูล ยังขาดข้อมูลวิจัย • บุคลากร ยังขาดมาก • องค์กรที่รับผิดชอบ ยังขาดมาก • การบริหารจัดการ ยังขาดระดับประเทศ • งบประมาณสนับสนุน มีแล้ว • กฎหมายที่จะต้องมี ยังขาดอยู่บ้าง • ความจริงใจของฝ่ายการเมือง ยังไม่เต็ม

  43. สรุป • การดำเนินการควบคุมการสูบบุหรี่ที่ผ่านมาทำให้มีการตรากฎหมายเพื่อสนับสนุนหลายฉบับ • รัฐบาลรับการควบคุมยาสูบเป็นนโยบายหลักด้านสุขภาพ • มีการใช้มาตรการทางภาษีเพื่อควบคุมยาสูบ • มีการนำภาษีจากบุหรี่มาสนับสนุนการควบคุมยาสูบและการสร้างเสริมสุขภาพ • มีองค์กรและหน่วยงานเข้าร่วมงานควบคุมยาสูบมากขึ้นตามลำดับ • การไม่สูบบุหรี่เป็นค่านิยมใหม่โดยเฉพาะในสังคมเมือง

  44. สรุป • การแข่งขันของธุรกิจยาสูบเพิ่มความรุนแรงขึ้นจากการเปิดให้มีการค้าบุหรี่เสรี • การเกิดขึ้นของเขตการค้าเสรีทำให้บุหรี่นำเข้ามีราคาถูกและหลากหลาย • ธุรกิจยาสูบคัดค้านมาตรการควบคุมของรัฐรุนแรงขึ้น

  45. สรุป • ต้องขยายเป้าหมายการรณรงค์ไปที่ช่วยให้ผู้ที่สูบบุหรี่ขณะนี้ให้เลิกสูบ • มีความจำเป็นที่จะต้องมีองค์กรควบคุมยาสูบระดับรากหญ้าเพิ่มขึ้นทั่วประเทศ • บุคลากรสาธารณทุกสาขาควรจะร่วมกันช่วยให้ผู้สูบบุหรี่เลิกสูบ • ทุกฝ่ายในสังคมไทยต้องสนับสนุนรัฐบาลในการดำเนินการตามอนุสัญญาควบคุมยาสูบ • เฝ้าระวังให้รัฐบาลดำเนินนโยบายควบคุมยาสูบที่เข้มแข็งอย่างต่อเนื่อง

  46. เป้าหมายที่สังคมไทยต้องบรรลุให้ได้คือเป้าหมายที่สังคมไทยต้องบรรลุให้ได้คือ • ลดจำนวนผู้สูบบุหรี่ลงให้ได้ • ลดอัตราผู้สูบในเพศชายให้ต่ำกว่าร้อยละ 30 จากปัจจุบันร้อยละ 37 • ป้องกันไม่ให้อัตราการสูบของหญิงไทยเพิ่มขึ้น จากปัจจุบันร้อยละ 2.1

More Related