1 / 25

มาตรการป้องกันและ ปราบปรามการกระทำความผิด เกี่ยวกับยาเสพติดในสถานประกอบการ

มาตรการป้องกันและ ปราบปรามการกระทำความผิด เกี่ยวกับยาเสพติดในสถานประกอบการ. กฎหมาย ประกาศ ระเบียบที่เกี่ยวข้อง. 1. พ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามยาเสพติด พ.ศ. 2519 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2543 มาตรา 13 ทวิ, 13 ตรี, 15 , 17 ทวิ.

Download Presentation

มาตรการป้องกันและ ปราบปรามการกระทำความผิด เกี่ยวกับยาเสพติดในสถานประกอบการ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. มาตรการป้องกันและปราบปรามการกระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดในสถานประกอบการมาตรการป้องกันและปราบปรามการกระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดในสถานประกอบการ

  2. กฎหมาย ประกาศ ระเบียบที่เกี่ยวข้อง 1. พ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามยาเสพติด พ.ศ. 2519 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2543 มาตรา 13 ทวิ, 13 ตรี, 15, 17 ทวิ 2. ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี 3 ฉบับฉบับที่ 1 กำหนดประเภทสถานประกอบการที่อยู่ภายใต้บังคับ ฉบับที่ 2 กำหนดมาตรการในการปฏิบัติฉบับที่ 3 กำหนดหลักเกณฑ์ฯ การสั่งปิดชั่วคราวหรือการพักใช้ใบอนุญาต 3. ระเบียบ ป.ป.ส. ว่าด้วยการตักเตือน เปรียบเทียบปรับและปิดชั่วคราว หรือพักใช้ใบอนุญาต 4. ระเบียบสำนักงาน ป.ป.ส. ว่าด้วยแบบหนังสือต่าง ๆ

  3. อำนาจหน้าที่ของเจ้าพนักงาน ป.ป.ส. มาตรา ๑๓ ทวิ ให้นายกรัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีมีอำนาจออกประกาศกำหนดมาตรการป้องกันและปราบปรามการกระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดในสถานประกอบการและประกาศกำหนดให้สถานที่ซึ่งใช้ในการประกอบธุรกิจใดๆ เป็นสถานประกอบการที่อยู่ภายใต้บังคับของมาตรการดังกล่าว ทั้งนี้ โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา

  4. อำนาจหน้าที่ของเจ้าพนักงาน ป.ป.ส. มาตรา ๑๓ ตรี ๑. การตรวจพบว่ามีการกระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดใน สถานประกอบการตามมาตรา ๑๓ ทวิ... ๒. เจ้าของ/ผู้ดำเนินกิจการไม่สามารถชี้แจงหรือพิสูจน์ได้... ๓. คณะกรรมการมีอำนาจสั่งปิด/พักใช้ใบอนุญาติชั่วคราว... ๔. เลขาธิการแจ้งหน่วยงานควบคุมทราบ… ๕. ตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่ รมต.กำหนด...

  5. อำนาจหน้าที่ของเจ้าพนักงาน ป.ป.ส. มาตรา ๑๕ทวิ เจ้าของหรือผู้ดำเนินกิจการสถานประกอบการผู้ใดฝ่าฝืน หรือไม่ปฏิบัติตามประกาศตามมาตรา ๑๓ ทวิ ต้องระวางโทษปรับตั้งแต่หนึ่งหมื่นบาทถึงห้าหมื่นบาท

  6. อำนาจหน้าที่ของเจ้าพนักงาน ป.ป.ส. มาตรา ๑๗ทวิ บรรดาความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ที่มีโทษปรับสถานเดียว ให้คณะกรรมการหรือผู้ซึ่งคณะกรรมการมอบหมายมีอำนาจเปรียบเทียบปรับได้

  7. สถานประกอบการที่อยู่ภายใต้บังคับของกฎหมาย(พ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามยาเสพติด พ.ศ. 2519) มี 6 ประเภท 1. สถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิงและสถานที่ซึ่งอยู่ในความควบคุมดูแล 2. สถานีบริการที่บรรจุก๊าซแก่ยานพาหนะ 3. สถานบริการ 4. ที่พักอาศัยในเชิงพาณิชย์ หอพัก อาคารชุด เกสเฮาส์ ที่ให้ผู้อื่นเช่า 5. สถานที่ที่จัดให้มีการเล่นบิลเลียด สนุกเกอร์ 6. โรงงาน

  8. บุคคล เจ้าหน้าที่ องค์กรที่เกี่ยวข้อง 1. เจ้าของหรือผู้ดำเนินกิจการสถานประกอบการ 2. เจ้าพนักงาน ป.ป.ส. 3. เลขาธิการ ป.ป.ส./ผู้ว่าราชการจังหวัด 4. คณะอนุกรรมการกลั่นกรองข้อมูลการกระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดในสถานประกอบการ 5. คณะกรรมการ ป.ป.ส. 6. ส่วนราชการหรือหน่วยงานที่ควบคุมสถานประกอบการ แต่ละประเภท

  9. คำสั่งที่เกี่ยวข้อง 2. คำสั่ง ป.ป.ส. ที่ 2/2548 ลงวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2548 เรื่อง แต่งอนุกรรมการกลั่นกรองการกระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดในเขต กทม. และจังหวัด เขต กทม. เขตจังหวัด 1. เลขาธิการ ป.ป.ส. ประธาน 2. ผบช.น. รองประธาน 3. ผู้แทน สป.มท. 4. ผู้แทน บ.กทม. 5. ผู้แทนหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง6. ผบก.อก.บช.น. เลขานุการ 1. ผู้ว่าราชการจังหวัด ประธาน 2. ผบก.ภ.จว. รองประธาน 3. ปลัดจังหวัด 4, 5 ผู้แทนหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (2 คน)6. ผกก.อก.ภ.จว. เลขานุการ มีอำนาจ เปรียบเทียบปรับ

  10. ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ประชาชน สอดส่อง ดูแล แนะนำ ตรวจตรา ยาเสพติด เจ้าของหรือผู้ดำเนินกิจการสถานประกอบการ 6 ประเภท 1 3, 4, 5 คณะอนุกรรมการกลั่นกรอง ผู้ว่าราชการจังหวัด เลขาธิการ ป.ป.ส. ป.ป.ส. ชี้แจง ควบคุม ตรวจตรา เจ้าพนักงาน ป.ป.ส. 2 มาตรการ ตรวจตรา ควบคุม ประสาน 6 หน่วยงานที่มีหน้าที่ควบคุมดูแลสถานประกอบการแต่ละประเภท

  11. หน้าที่และความรับผิดชอบของสถานประกอบการหน้าที่และความรับผิดชอบของสถานประกอบการ 1. ควบคุมดูแล สอดส่องพนักงาน / บุคคลภายนอกไม่ให้กระทำหรือมั่วสุมกันกระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดภายในหรือบริเวณสถานประกอบการ - การจัดทำบันทึกประจำวัน - การบันทึกการเข้า-ออก ผู้มาติดต่อ - การทำบันทึกตรวจตราบริเวณ -

  12. (ต่อ) 2. การคัดเลือกบุคคลที่ไม่มีพฤติการณ์เกี่ยวกับยาเสพติดเข้าทำงาน เช่น การตรวจสารเสพติด การส่งตัวไปให้แพทย์ตรวจ ยกเว้น ผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติดซึ่งพ้นจากสภาพการใช้ยา ฯ เข้าทำงานหรือรับการศึกษาในหน่วยงานภาครัฐ ( มติ ครม. 5 สิงหาคม 2546 ) 3. อบรมพนักงานให้มีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันยาเสพติดอยู่เสมอ 4. จัดทำบันทึก ชื่อ นามสกุล และบัตรประจำตัวประชาชน ที่อยู่ ภูมิลำเนาและประวัติของพนักงานหรือลูกจ้าง

  13. (ต่อ) 5.ให้ความร่วมมือกับเจ้าพนักงาน ป.ป.ส. / เจ้าพนักงานฝ่ายปกครอง/ ตำรวจ - แจ้งเมื่อพบว่ามีการกระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดใน หรือบริเวณสถานประกอบการ - ให้ข้อมูล ข่าวสาร หรือแจ้งพฤติการณ์ของบุคคลที่มีเหตุ อันควรสงสัยหรือควรเชื่อว่าจะกระทำความผิดในหรือ บริเวณสถานประกอบการ

  14. (ต่อ) 6. อำนวยความสะดวกแก่เจ้าพนักงาน ฯ ในการตรวจหรือทดสอบหาสารเสพติดในร่างกาย 7. ติดป้ายหรือประกาศเตือนเกี่ยวกับพิษภัย โทษและกฎหมายยาเสพติด 8. ปฏิบัติตามหนังสือเตือนของผู้ว่าราชการจังหวัด หรือเลขาธิการป.ป.ส.

  15. การติดป้ายหรือประกาศเตือนการติดป้ายหรือประกาศเตือน 1. มีป้ายเตือนเกี่ยวกับพิษภัยหรืออัตราโทษตามที่กฎหมายกำหนด เช่น การค้ายาเสพติดมีโทษสูงถึงประหารชีวิต ยาเสพติดพิษร้ายทำลายชีวิต • ขนาด 1. ปั๊มน้ำมัน ปั๊มแก๊ส โรงงาน • ตัวอักษรขนาดไม่น้อยกว่า กว้าง 4 ซม. สูง 7 ซม. • 2. สถานบริการ ที่พักอาศัยเชิงพาณิชย์ สถานที่เล่นบิลเลียด • ตัวอักษรขนาดไม่น้อยกว่า กว้าง 2 ซม. สูง 3 ซม. 2. มีป้ายกฎหมายที่บังคับใช้ มีข้อความว่า สถานประกอบการนี้อยู่ภายใต้บังคับกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด • ขนาดตัวอักษรขนาดเล็กกว่าป้ายเตือน 3. ป้าย ตาม 1 และ 2 จะอยู่ในป้ายหรือประกาศเดียวกันก็ได้

  16. การปฏิบัติตามกฎหมาย • ปฏิบัติตามหนังสือเตือน ของผู้ว่าราชการจังหวัด/เลขาธิการ ป.ป.ส. • ฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามหนังสือเตือน ถูกปรับ 10,000 – 50,000 บาท • กรณีตรวจพบว่ามีการกระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดในสถานประกอบการ เช่น มีการค้า การใช้ การเสพยาเสพติดให้สั่งปิดชั่วคราว หรือพักใช้ใบอนุญาต ดังนี้ - เจ้าของหรือผู้ดำเนินกิจการฯไม่สามารถชี้แจงหรือพิสูจน์ การใช้ความระมัดระวังได้ ให้ปิดชั่วคราวหรือพักใช้ ใบอนุญาตฯ 7 วัน - เจ้าของหรือผู้ดำเนินกิจการฯไม่สามารถชี้แจงได้และเชื่อว่า เกี่ยวข้องกับการกระทำความผิดด้วย ให้ปิดชั่วคราวหรือพัก ใช้ใบอนุญาตฯ 15 วัน

  17. การปรับ การฝ่าฝืน ไม่ปฏิบัติตามมาตรการฯ รายงานคณะอนุกรรมการฯ การปรับ ครั้งที่ 1 = 10,000 บาท ครั้งที่ 2 = 30,000 บาท ครั้งที่ 3 = 50,000 บาท ไม่เสียค่าปรับ ร้องทุกข์กล่าวโทษต่อพนักงานสอบสวน เพื่อดำเนินคดีอาญา

  18. ขั้นตอนการตักเตือน-ปรับโดยย่อขั้นตอนการตักเตือน-ปรับโดยย่อ ประสานหน่วยงานเกี่ยวข้อง ตรวจตรามาตรการบุคคล มีการปฏิบัติถูกต้อง เลขาธิการ ป.ป.ส. มีการแจ้งข่าว จพง. ป.ป.ส. ตรวจสถานประกอบการ (ตรวจซ้ำ) ตักเตือนให้ปรับปรุงแก้ไข ตรวจสถานประกอบการ 6 ประเภท รายงานผล จพง.ปปส. ผวจ. ประสานฝ่ายปกครอง/ ตำรวจ ไม่ปฏิบัติ ตรวจตรามาตรการสถานที่ ชำระค่าปรับ ปฏิบัติถูกต้อง สั่งปรับ 10,000-50,000 บาท คณะอนุกรรมการกลั่นกรองฯ รายงาน ป.ป.ส. รายงานผล ไม่ปฏิบัติ ดำเนินคดีอาญา ไม่ชำระค่าปรับ

  19. การสั่งปิดชั่วคราวหรือพักใช้ใบอนุญาตการสั่งปิดชั่วคราวหรือพักใช้ใบอนุญาต 1. ตรวจพบการกระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดในสถานประกอบการ 2. เจ้าพนักงาน ป.ป.ส. รายงานคณะอนุกรรมการ 3. คณะอนุกรรมการประชุมพิจารณาและลงมติ 4. มติของคณะอนุกรรมการ 4.1 เชื่อว่ามีการกระทำผิด รายงาน ป.ป.ส. 4.2 เชื่อว่าไม่มีการกระทำผิด รายงาน เลขาธิการ ป.ป.ส. เสนอ ป.ป.ส. 5. คณะกรรมการเรียกเจ้าของหรือผู้ประกอบการมาเพื่อ - ชี้แจงหรือพิสูจน์ว่าได้ใช้ความระมัดระวังตามสมควรแล้วหรือไม่ 6. สั่งปิดชั่วคราวหรือสั่งพักใช้ใบอนุญาตประกอบการ 7. แจ้งผู้เกี่ยวข้องทราบและปฏิบัติ

  20. ป.ป.ส. ( คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ) มีอำนาจสั่งปิด หรือสั่งพักใช้ใบอนุญาตประกอบการ ไม่เกินครั้งละ 15 วัน

  21. ขั้นตอนการสั่งปิด/พักใช้ใบอนุญาตโดยย่อขั้นตอนการสั่งปิด/พักใช้ใบอนุญาตโดยย่อ หน่วยงานเกี่ยวข้อง ตรวจสถานประกอบการ(6 ประเภท) พบการกระทำผิดเกี่ยวกับยาเสพติด รายงานผลเสนอความเห็น มีการแจ้งข่าว คณะอนุกรรมการกลั่นกรอง จพง.ปปส. ฝ่ายปกครอง/ ตำรวจ ผู้ช่วยเหลือ เรียกเจ้าของหรือผู้ดำเนินกิจการมาชี้แจง เชื่อว่าไม่กระทำผิด ปฏิบัติตาม ปิดชั่วคราว เลขาธิการ ป.ป.ส. คณะอนุกรรมการฯ ประชุมพิจารณาตรวจสอบกลั่นกรอง การปฏิบัติตามคำสั่ง ป.ป.ส. เจ้าของหรือผู้ประอบการ ป.ป.ส. ชำระค่าปรับทางปกครอง 20,000/วัน ไม่ปฏิบัติ พักใช้ใบอนุญาต เชื่อว่าทำผิด

  22. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. เฝ้าระวัง ปัญหายาเสพติดในสถานประกอบการ 2. ป้องกัน การแพร่ระบาดของยาเสพติดชนิดใหม่ 3. ปราบปราม การกระทำความผิดฯ ในสถานประกอบการ

  23. ปี พ.ศ. จำนวนคดี 2543 2544 2545 2546 2547 222,710 209,264 206,735 99,022 48,479 สถิติการจับกุมคดียาเสพติด 2543 - 2547 สถานการณ์การค้าลดลง 51 % หรือลดลงจากปี 2543 = 5 เท่า

  24. ยาเสพติดที่แพร่ระบาดลดลงยาเสพติดที่แพร่ระบาดลดลง ยาเสพติดที่แพร่ระบาดเพิ่มขึ้น ยาบ้า กัญชา เฮโรอีน สารระเหย กระท่อม ยาอี เคตามีน ไอซ์ โคเคน วัตถุออกฤทธิ์ ยาแก้ไอ ข้อมูลการแพร่ระบาดของยาเสพติด ปี 2545 - 2547

  25. จบการบรรยาย

More Related