1 / 17

โครงการนิคมการเกษตร "เกษตรอินทรีย์" จังหวัดยโสธร

โครงการนิคมการเกษตร "เกษตรอินทรีย์" จังหวัดยโสธร. หลักการและเหตุผล. นโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ดำเนินการรูปแบบนิคมการเกษตร ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด การทำเกษตรอินทรีย์ จังหวัดยโสธรมีพื้นที่ส่วนใหญ่ปลูกข้าว มีความพร้อมและมีศักยภาพในการผลิต

vanna-petty
Download Presentation

โครงการนิคมการเกษตร "เกษตรอินทรีย์" จังหวัดยโสธร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงการนิคมการเกษตร "เกษตรอินทรีย์" จังหวัดยโสธร

  2. หลักการและเหตุผล • นโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ดำเนินการรูปแบบนิคมการเกษตร • ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด การทำเกษตรอินทรีย์ • จังหวัดยโสธรมีพื้นที่ส่วนใหญ่ปลูกข้าว มีความพร้อมและมีศักยภาพในการผลิต • ปัญหาการเกษตรแบบเดิมที่มีต้นทุนสูงและใช้สารเคมีมาก ราคาไม่แน่นอน น้ำไม่เพียงพอฤดูแล้ง • เกษตรกรมีความสนใจและต้องการปรับเปลี่ยนมาทำเกษตรอินทรีย์ ผลผลิต มีราคาสูงกว่า ตลาดมีความต้องการสูง มีกลุ่มเกษตรกรที่ประสบความสำเร็จ เป็นต้นแบบ และพร้อมถ่ายทอดองค์ความรู้และสนับสนุนโครงการ • พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่จำเป็น / พัฒนาเกษตรกร การผลิต การตลาด

  3. ข้อมูลเบื้องต้นกลุ่มเกษตรกรทำนาข้าวอินทรีย์ข้อมูลเบื้องต้นกลุ่มเกษตรกรทำนาข้าวอินทรีย์ ตำบลกำแมด อำเภอกุดชุม • พื้นที่ทั้งตำบล 45,625 ไร่ จำนวนประชากร 9,914 คน • พื้นที่เขตปฏิรูปที่ดิน 6,718 ไร่ เกษตรกร 497 ราย • เกษตรกรผ่านการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ 45 ราย เนื้อที่ 1,343 ไร่ แยกเป็น • ข้าว เนื้อที่ 810 ไร่ • พืชอื่นๆ เนื้อที่ 533 ไร่ • ระยะปรับเปลี่ยน 80 ราย เนื้อที่ 1,681 ไร่

  4. ข้อมูลเบื้องต้นกลุ่มเกษตรกรทำนาข้าวอินทรีย์ข้อมูลเบื้องต้นกลุ่มเกษตรกรทำนาข้าวอินทรีย์ ตำบลนาโส่ อำเภอกุดชุม • พื้นที่ทั้งตำบล ๑๗,๓๙๐ ไร่ จำนวนประชากร ๔,๑๖๕ คน • พื้นที่เขตปฏิรูปที่ดิน ๙๓๒ ไร่ เกษตรกร ๔๙ ราย • เกษตรกรผ่านการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ ๑๓๒ ราย เนื้อที่ ๓,๙๕๑ ไร่ แยกเป็น • ข้าว เนื้อที่ ๒,๖๕๑ ไร่ • พืชอื่นๆ เนื้อที่ ๑,๓๓๖ ไร่

  5. ข้อมูลเบื้องต้นกลุ่มเกษตรกรทำนาข้าวอินทรีย์ข้อมูลเบื้องต้นกลุ่มเกษตรกรทำนาข้าวอินทรีย์ ตำบลโนนเปือย อำเภอกุดชุม • พื้นที่ทั้งตำบล 45,625 ไร่ จำนวนประชากร 9,914 คน • พื้นที่เขตปฏิรูปที่ดิน 10,009 ไร่ เกษตรกร 734 ราย

  6. ข้อมูลเบื้องต้นกลุ่มเกษตรกรทำนาข้าวอินทรีย์ข้อมูลเบื้องต้นกลุ่มเกษตรกรทำนาข้าวอินทรีย์ ตำบลบุ่งค้า อำเภอเลิงนกทา • พื้นที่ทั้งตำบล 126,250 ไร่ จำนวนประชากร 12,711 คน • พื้นที่เขตปฏิรูปที่ดิน 45,330 ไร่ เกษตรกร 2,469 ราย • เกษตรกรผ่านระยะปรับเปลี่ยนการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ 15 ราย เนื้อที่ 300 ไร่

  7. เป้าประสงค์ เกษตรอินทรีย์มาตรฐาน มกท. เตรียมพร้อมเข้าสู่ระบบเกษตรอินทรีย์ ๑.เกษตรกรมีรายได้สูงขึ้นและต้นทุนการ ผลิตลดลงร้อยละ ๗๐ ๒.เกษตรกรที่ผ่านการรับรองมาตรฐาน (ระยะปรับเปลี่ยนปีที่ ๑ ร้อยละ๓๐) (ระยะปรับเปลี่ยนปีที่ ๒ ร้อยละ ๕๐) (ระยะที่ได้การรับรองมาตรฐานเกษตร อินทรีย์ ร้อยละ ๗๐) ๓.เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการสามารถ พึ่งพาตนเองด้านปัจจัยการผลิตได้ ร้อยละ ๗๐ เลิกใช้สารเคมี เพิ่มอินทรียวัตถุ พึ่งพาตัวเองด้านเมล็ดพันธุ์ มีแหล่งอาหารบริโภคเพียงพอ มีแหล่งน้ำเพียงพอช่วงฤดูแล้ง สร้างระบบป้องกันการปนเปื้อน เกษตรกรมั่นใจ / อดทน / ซื่อสัตย์

  8. กองทุนพัฒนาหมู่บ้าน จุดเด่นของ ชุมชน โรงสีข้าวชุมชน ธนาคารชุมชน มีการรวมกลุ่มเพื่อแก้ไขปัญหาของชุมชน ใช้เวทีประชาคมตัดสินใจ แกนนำเข้มแข้ง ความคิดก้าวหน้า ความสัมพันธ์ในชุมชนที่ดี มติกลุ่มเป็นคำตอบของชุมชน ใช้บทเรียนของชุมชนในการแก้ปัญหา ใช้ปุ๋ยเคมี และสารเคมีน้อย เผาฟางและตอซังน้อย มีการไถกลบ/ปุ๋ยพืชสด สร้างความมั่นคงด้านอาหาร เน้นความเสมอภาค ความเป็นธรรมในชุมชน อนุรักษ์พันธุกรรมพืช นำร่องส่งเสริมเกษตรกรรมยั่งยืน ความหลากหลายทางชีวภาพ

  9. ระบบการผลิตมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ครบวงจรระบบการผลิตมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ครบวงจร รับสมัครเข้าร่วมโครงการเกษตรอินทรีย์ รวมกลุ่มสมัครเป็นสมาชิกมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ (มกท.) ต่างประเทศ (ยุโรป) ในประเทศ สนับสนุนปัจจัยการผลิต พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน อบรม ฝึกปฏิบัติ หลักมาตรฐาน เกษตรอินทรีย์ครบวงจร แฟร์เทรด ราคาประกัน ตรวจประเมินความเสี่ยงก่อนรับเป็นสมาชิกฯ อบรมเทคนิคการผลิต ชมรมฯ / สหกรณ์กรีนเน็ท รวบรวม ผลผลิต แปรรูป และจำหน่าย ระบบตรวจสอบ และควบคุมภายในกลุ่ม อบรมผู้ตรวจแปลง ตรวจแปลงอย่างน้อย ปีละ 2 ครั้ง ผ อบรมผู้ตรวจรับรอง รับรองผลผลิต ปีละ 2 ครั้ง เกษตรอินทรีย์ รับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ปีที่ 3 เป็นต้นไป (ปีที่ 1-2=ระยะปรับเปลี่ยน) ขายตรง / ตลาดทั่วไป

  10. ชมรมรักษ์ธรรมชาติ • หน่วยงานสังกัด กษ. โครงการเกษตรอินทรีย์พื้นที่นิคมเศรษฐกิจพอเพียง ในเขตปฏิรูปที่ดิน : ส.ป.ก.ยโสธร ความร่วมมือ ปี 2552- 2553 การพัฒนาศักยภาพเกษตรกร • จัดทำฐานข้อมูลเกษตรกร • ต้นแบบฯระบบเกษตรอินทรีย์ (89 ราย) การผลิตข้าวอินทรีย์แบบครบวงจร กระบวนการคัดเมล็ดพันธุ์ข้าว ศูนย์เรียนรู้มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ ศูนย์เรียนรู้การปรับปรุงดินด้วยปุ๋ยพืชสด ศูนย์เรียนรู้การใช้สมุนไพรเพื่อการพึ่งตนเอง • สร้างผู้ตรวจรับรองแปลงของกลุ่มฯ • สมัครเป็นสมาชิกเกษตรอินทรีย์ ส.ป.ก. / ชุมชน ชมรมรักษ์ธรรมชาติ สำนักงานมาตรฐานเกษตรอินทรีย์

  11. ความร่วมมือ ปี 2552- 2553 ส.ป.ก. การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ที่ดิน & สิ่งก่อสร้าง อาคารเรียนรู้ (3) โรงเรือนรวบรวมผลผลิต (1) โรงสีข้าวชุมชน (1) ลานตากคอนกรีต (1) แหล่งน้ำ ขุดสระน้ำประจำไร่นา (135 ) ขุดลอกปรับปรุงแหล่งน้ำ (2) ขุดเจาะบ่อบาดาล (238) ครุภัณฑ์เกษตร รถไถเดินตาม (4) เครื่องสูบน้ำ (20) ปศุสัตว์ ธนาคารควายไถนา / เลี้ยงโค (ธนาคารปุ๋ยเคลื่อนที่) พัฒนาที่ดิน เมล็ดพันธุ์ปุ๋ยพืชสด ตรวจบัญชีฯ บัญชีครัวเรือน / บัญชีฟาร์ม กสก. จดทะเบียนวิสาหกิจชุมชน / อบรมให้ความรู้ กรมการข้าว เมล็ดพันธุ์ข้าว

  12. ส.ป.ก. • หน่วยงานสังกัด กษ. กระบวนการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2554 การพัฒนาศักยภาพเกษตรกร ส.ป.ก. / ชุมชน • จัดทำฐานข้อมูลเกษตรกร • สร้างและพัฒนาศูนย์ต้นแบบฯและขยายองค์ความรู้ระบบเกษตรอินทรีย์ (74 ราย) การกระจายน้ำเพื่อปลูกพืชอาหารและพืชสมุนไพร ด้านการใช้ระบบโซล่าเซลล์เพื่อการเกษตร ด้านการคัดและผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว ด้านการไถกลบตอซัง/ฟางข้าว/ปุ๋ยพืชสด ด้านการจัดการพื้นที่และการใช้ประโยชน์ที่ดิน ด้านความมั่นคงทางอาหาร • โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ(ใช้ศูนย์ต้นแบบเป็นหลัก) จำนวน ๑๒ โครงการ • สมัครเป็นสมาชิกเกษตรอินทรีย์ /ขอรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ (มกท.)

  13. แผนงาน/ ผลงาน ปี 2554

  14. ผลงาน ปี 2554 ส.ป.ก. การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ครุภัณฑ์เกษตร เครื่องคัดเมล็ดพันธุ์ข้าว(๑) เครื่องบรรจุถุงสุญญากาศ(2) เครื่องเป่าเมล็ดข้าวลีบ(1) ครุภัณฑ์เกษตร รถไถเดินตาม (2) เครื่องสูบน้ำ (27) เครื่องสีข้าวชุมชน (1) แหล่งน้ำ ขุดลอกปรับปรุงแหล่งน้ำ (2) ขุดขยายสระเก็บน้ำ (7) ปศุสัตว์ ธนาคารควายไถนา / เลี้ยงโค (ธนาคารปุ๋ยเคลื่อนที่) พัฒนาที่ดิน เมล็ดพันธุ์ปุ๋ยพืชสด ตรวจบัญชีฯ บัญชีครัวเรือน / บัญชีฟาร์ม กสก. จดทะเบียนวิสาหกิจชุมชน / อบรมให้ความรู้ กรมการข้าว เมล็ดพันธุ์ข้าว

  15. THE END

More Related