1 / 44

การประมาณค่า (Estimation)

การประมาณค่า (Estimation). ค่าพารามิเตอร์และ ค่าสถิติที่สำคัญ. การประมาณค่าจะแบ่งเป็น 2 ประเภท. 1. การประมาณแบบจุด ( Point Estimation ). 2. การประมาณแบบช่วง ( Interval Estimation ). ระดับความเชื่อมั่น (Confidence Level).

valmai
Download Presentation

การประมาณค่า (Estimation)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประมาณค่า(Estimation)

  2. ค่าพารามิเตอร์และค่าสถิติที่สำคัญค่าพารามิเตอร์และค่าสถิติที่สำคัญ

  3. การประมาณค่าจะแบ่งเป็น 2 ประเภท 1. การประมาณแบบจุด (Point Estimation) 2. การประมาณแบบช่วง (Interval Estimation)

  4. ระดับความเชื่อมั่น (Confidence Level) หมายถึง โอกาสที่พารามิเตอร์ของประชากรจะอยู่ในช่วงของค่าที่ประมาณได้ แทนด้วย (1 - )100% หรือเรียกว่า ช่วงความเชื่อมั่น (Confidence Interval) เรียก ว่า ความผิดพลาดที่เกิดขึ้น

  5. ช่วงความเชื่อมั่น 99% = 0.01 ช่วงความเชื่อมั่น 95% = 0.05 ช่วงความเชื่อมั่น 90% = 0.10

  6. การประมาณค่า 1. การประมาณค่าเฉลี่ยประชากร 1 กลุ่ม 2. การประมาณผลต่างค่าเฉลี่ยของประชากร 2 กลุ่ม 3. การประมาณค่าสัดส่วนประชากร 1 กลุ่ม 4. การประมาณผลต่างสัดส่วนของประชากร 2 กลุ่ม

  7. การประมาณช่วงความเชื่อมั่นของค่าเฉลี่ยประชากร 1 กลุ่ม กรณีที่ 1 ทราบความแปรปรวนของประชากร (ทราบ )

  8. กรณีที่ 2 ไม่ทราบความแปรปรวนของประชากร แต่ตัวอย่างมีขนาดใหญ่ (ไม่ทราบ แต่ )

  9. กรณีที่ 3 ไม่ทราบความแปรปรวนของประชากร แต่ตัวอย่างมีขนาดเล็ก (ไม่ทราบ แต่ )

  10. ตัวอย่าง 4.1 ถ้าราคาห้องพักของโรงแรมในจังหวัดเชียงใหม่มีการแจกแจงแบบปกติ ด้วยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 1, 500 บาท สุ่มตัวอย่างโรงแรมในจังหวัดเชียงใหม่มา 64 โรงแรม พบว่า มีราคาเฉลี่ย 1,800 บาทต่อห้องต่อคืน จงประมาณช่วงความเชื่อมั่น 95% ของราคาเฉลี่ยของโรงแรมในจังหวัดเชียงใหม่

  11. n = 64 วิธีทำ จากโจทย์ จากข้อมูล จึงใช้กรณีที่ 1 ในการประมาณค่า และจากการเปิดตารางได้ค่า คือ ช่วงความเชื่อมั่น ของ ดังนั้นราคาเฉลี่ยของโรงแรมในจังหวัดเชียงใหม่ประมาณ 1,432.5 บาท ถึง 2,167.5 บาท ต่อห้องต่อคืน ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%

  12. ตัวอย่าง 4.2. ถ้าจำนวนสินค้าที่ผลิตโดยเครื่องจักรยี่ห้อหนึ่งมีการแจกแจงแบบปกติ ผู้ใช้เครื่องจักรยี่ห้อนี้ทำการเก็บข้อมูลเป็นเวลา 36 วัน พบว่า เครื่องจักรผลิตสินค้าได้เฉลี่ยวันละ 350 ชิ้น ด้วยความแปรปรวน 400 ชิ้น2อยากทราบว่าเครื่องจักรยี่ห้อนี้ผลิตสินค้าได้เฉลี่ยวันละประมาณกี่ชิ้น ที่ช่วงความเชื่อมั่น 90%

  13. วิธีทำ n = 36 จากโจทย์ จากข้อมูล จึงใช้กรณีที่ 2 ในการประมาณค่า และจากการเปิดตารางได้ค่า คือ ช่วงความเชื่อมั่น ของ ดังนั้น เครื่องจักรยี่ห้อนี้ผลิตสินค้าได้ประมาณวันละ 344.52 ชิ้น ถึง 355.48 ชิ้น ที่ช่วงความเชื่อมั่น 90%

  14. ตัวอย่าง 4.3. สายการบินแห่งหนึ่งทำการบินในเส้นทาง เชียงใหม่ – กรุงเทพ ทำการตรวจสอบเที่ยวบินในเส้นทางดังกล่าว จำนวน 28 เที่ยวบิน พบว่า มีที่นั่งว่างเฉลี่ยเที่ยวบินละ 18 ที่นั่ง ด้วยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 8.47 ที่นั่ง จงประมาณช่วงความเชื่อมั่น 99% ของจำนวนที่นั่งว่างของสายการบินนี้

  15. วิธีทำ n = 28 จากโจทย์ จากข้อมูล จึงใช้กรณีที่ 3 ในการประมาณค่า และจากการเปิดตาราง ที่ df = n – 1 = 28 – 1 = 27 ได้ค่า คือ ของ ช่วงความเชื่อมั่น ดังนั้น สายการบินนี้มีที่นั่งว่างในเส้นทาง เชียงใหม่ – กรุงเทพ โดยเฉลี่ย เที่ยวบินละ 13.56 ที่นั่ง ถึง 22.44 ที่นั่ง ที่ช่วงความเชื่อมั่น 99%

  16. ตัวอย่าง 4.4 สอบถามประชาชนในหมู่บ้านแห่งหนึ่ง จำนวน 9 ครัวเรือนถึงค่าใช้จ่ายสำหรับอาการมื้อ กลางวัน ได้ข้อมูลดังนี้ 150 170 200 120 250 180 160 170 220 จงประมาณช่วงความเชื่อมั่น 95% ของค่าใช้จ่ายสำหรับอาหารกลางวันโดยเฉลี่ยของหมู่บ้านแห่งนี้

  17. วิธีทำ จากโจทย์ ไม่ทราบความแปรปรวนของประชากร n = 9 และ ดังนั้น จึงใช้กรณีที่ 3 ในการประมาณค่า 9 9 - 1 -1 = 38.73

  18. d.f. = n-1 = 9-1 = 8 จะได้ 2.306 แทนค่าในสูตร 2.306 -2.306 9 9 -29.77 +29.77 229.77 150.23

  19. การประมาณช่วงความเชื่อมั่นของผลต่างค่าเฉลี่ยของประชากร 2 กลุ่ม กรณีที่ 1 ทราบความแปรปรวนของประชากรทั้งสองกลุ่ม (ทราบ )

  20. กรณีที่ 2 ไม่ทราบความแปรปรวนของประชากรทั้ง สองกลุ่ม แต่ตัวอย่างมีขนาดใหญ่ (ไม่ทราบ และ )

  21. กรณีที่ 3 ไม่ทราบความแปรปรวนของประชากรทั้งสองกลุ่ม และ ตัวอย่างมีขนาดเล็ก แต่ทราบว่าความแปรปรวนของ ประชากรทั้งสองกลุ่มเท่ากัน (ไม่ทราบ , แต่ )

  22. กรณีที่ 4 ไม่ทราบความแปรปรวนของประชากรทั้งสองกลุ่ม และตัวอย่างมีขนาดเล็ก แต่ทราบว่าความแปรปรวน ของประชากรทั้งสองกลุ่มเท่ากัน (ไม่ทราบ , แต่ )

  23. ตัวอย่าง 4.5 นักเศรษฐศาสตร์คนหนึ่งทำการสุ่มเลือกร้านค้าในบริเวณห้างสรรพสินค้า ก จำนวน 32 ร้าน พบว่ามีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนเท่ากับ 6 ล้านบาท ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 1 ล้านบาท และสุ่มเลือกจากห้างสรรพสินค้า ข จำนวน 35 ร้าน พบว่ามีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนเท่ากับ 3.5 ล้านบาท ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 5 ล้านบาท จงประมาณช่วงความเชื่อมั่น 90% ของผลต่างของรายได้เฉลี่ยต่อเดือนของร้านค้าในห้างสรรพสินค้าทั้งสองแห่ง

  24. วิธีทำ จากโจทย์ จากข้อมูล จึงใช้กรณีที่ 2 ในการประมาณค่า และจากการเปิดตาราง ได้ค่า

  25. ดังนั้น ร้านค้าในห้างสรรพสินค้าทั้งสองจะมีรายได้เฉลี่ยต่างกันประมาณเดือนละ 0.97 ถึง 4.03 ล้านบาท ที่ระดับความเชื่อมั่น 90%

  26. ตัวอย่าง 4.6 ถ้าเวลาที่ลูกค้ามาติดต่อธนาคารกรุงไทยมีการแจกแจงแบบปกติ สุ่มตัวอย่างลูกค้าธนาคารกรุงไทยจากสาขาช้างเผือกและสาขาท่าแพ สำรวจเวลาที่ใช้ติดต่อกับพนักงาน ได้ข้อมูลดังตาราง ถ้าทราบว่าความแปรปรวนของเวลาที่ลูกค้ามาติดต่อธนาคารกรุงไทยทั้งสองสาขาเท่ากัน จงประมาณช่วงความเชื่อมั่น 95% ของผลต่างของเวลาเฉลี่ยที่ลูกค้าของธนาคารทั้งสองสาขาที่ใช้ในการติดต่อกับพนักงานธนาคาร

  27. วิธีทำ จากโจทย์ และ จากข้อมูล จึงใช้กรณีที่ 3 ในการประมาณค่า และจากการเปิดตาราง t ที่ ได้ค่า

  28. ดั้งนั้นลูกค้าที่เข้ามาพบพนักงานธนาคารกรุงไทยทั้งสองสาขาใช้เวลาต่างกันเฉลี่ยประมาณ 0.23 – 7.77 นาที ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%

  29. ตัวอย่าง 4.7 จำนวนจุดตำหนิของสินค้าที่เครื่องจักรผลิตได้ในโรงงานทั้งสองเครื่องมีการแจกแจงแบบปกติ โดยเครื่องที่ 1 มีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.05 จุด และเครื่องที่สอง มีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.1 จุด ทำการสุ่มเลือกสินค้าที่ผลิตโดยเครื่องจักรเครื่องที่ 1 มา 100 ชิ้น แล้วตรวจสอบพบว่ามีจุดตำนิเฉลี่ย 0.8 จุด และสุ่มเลือกสินค้าที่ผลิตโดยเครื่องที่ 2 จำนวน 200 ชิ้น พบว่ามีจุดตำหนิเฉลี่ย 0.5 จุด จงประมาณช่วงความเชื่อมั่น 99% ของผลต่างของจำนวนจุดตำหนิเฉลี่ยของสินค้าที่ผลิตโดยเครื่องจักรทั้งสอง

  30. วิธีทำ จากโจทย์ จากข้อมูล จึงใช้กรณีที่ 1 ในการประมาณค่า และจากการเปิดตาราง ได้ค่า

  31. ดังนั้นจำนวนจุดตำหนิเฉลี่ยของสินค้าที่ผลิตโดยเครื่องจักรทั้งสองต่างกันประมาณ 0.28 ถึง 0.32 จุด ที่ระดับความเชื่อมั่น 99%

  32. ตัวอย่าง 4.8 ในในโรงงานผลิตวิทยุแห่งหนึ่ง เจ้าของโรงงานได้สุ่มตัวอย่างคนงานชายและหญิงมาอย่างละ 20 คน สอบถามเกี่ยวกับค่าแรงในสัปดาห์ที่ผ่านมา พบว่าค่าแรงเฉลี่ยของคนงานชายและหญิง เท่ากับ 500 และ 400 บาท ตามลำดับ ความแปรปรวนเท่ากับ 100 และ 50 บาท2 ตามลำดับ ถ้าทราบว่าค่าแรงของคนงานชายและหญิงมีการแจกแจงแบบปกติ และมีความแปรปรวนไม่เท่ากัน จงประมาณช่วงความเชื่อมั่น 95% ของผลต่างระหว่างค่าแรงเฉลี่ยต่อสัปดาห์ของคนงานชายและหญิงของโรงงานแห่งนี้

  33. วิธีทำ จากโจทย์ และ จึงใช้กรณีที่ 4 ในการประมาณค่า คำนวณหา เปิดตาราง t เนื่องจาก ที่ df = 34 ไม่มีจึงดูที่ df = 30 ได้

  34. ดังนั้นค่าแรงเฉลี่ยต่อสัปดาห์ของคนงานชายและหญิงของโรงงานแห่งนี้ต่างกันประมาณ 94.41 ถึง 105.59 บาท ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%

  35. การประมาณช่วงความเชื่อมั่นของสัดส่วนประชากร 1 กลุ่ม ในกรณีที่สุ่มตัวอย่างจำนวน n สิ่ง จากประชากรจำนวน N ให้ แทนจำนวนตัวอย่างที่สนใจ แทนสัดส่วนของกลุ่มตัวอย่างที่สนใจ แทนสัดส่วนของกลุ่มตัวอย่างที่ไม่สนใจ และ ซึ่ง

  36. ดังนั้น การประมาณช่วงความเชื่อมั่น ของ P คือ

  37. ตัวอย่าง 4.9 บริษัทผลิตผงซักฟอกยี่ห้อ A ทำการสุ่มตัวอย่างคนกรุงเทพมหานครมา 500 คน พบว่ามี 152 คนใช้ผงซักฟอกยี่ห้อดังกล่าว จงประมาณช่วงความเชื่อมั่น 90% ของสัดส่วนของคนกรุงเทพมหานครที่ใช้ผงซักฟอกยี่ห้อ A

  38. วิธีทำ ให้ แทน สัดส่วนของคนที่ใช้ผงซักฟอกยี่ห้อ A แทน สัดส่วนของคนที่ไม่ได้ใช้ผงซักฟอกยี่ห้อ A จะได้ ที่ เปิดตาราง Z ได้

  39. แทนค่าในสูตร ดังนั้นสัดส่วนของคนกรุงเทพมหานครที่ใช้ผงซักฟอกยี่ห้อ A มีประมาณ 0.27 ถึง 0.338 หรือประมาณ ร้อยละ 22 ถึงร้อยละ 33.8 ที่ระดับความเชื่อมั่น 90%

  40. การประมาณช่วงความเชื่อมั่นของผลต่างของสัดส่วนประชากร 2 กลุ่ม ให้ แทน สัดส่วนของตัวอย่างที่สนใจกลุ่มที่ 1 แทน สัดส่วนของตัวอย่างที่สนใจกลุ่มที่ 2

  41. ดังนั้น การประมาณช่วงความเชื่อมั่น ของ P1-P2 คือ

  42. ตัวอย่าง 4.11 จากการสุ่มตัวอย่างคนเชียงใหม่ ผู้ชาย 400 คน และผู้หญิง 500 คน พบว่า ชอบดูรายการข่าวการเมือง จำนวน 348 คน และ 280 คน จงประมาณช่วงความเชื่อมั่น 99% ผลต่างของสัดส่วนระหว่างผู้ชายกับผู้หญิงที่ชอบดูข่าวการเมือง

  43. ให้ วิธีทำ แทน สัดส่วนของผู้ชายที่ชอบดูข่าวการเมือง แทน สัดส่วนของผู้หญิงที่ชอบดูข่าวการเมือง จะได้

  44. ที่ เปิดตาราง Z ได้ แทนค่าในสูตร ดังนั้นสัดส่วนของผู้ชายและผู้หญิงที่ชอบดูรายการนี้ต่างกันประมาณ 0.24 ถึง 0.38 หรือคิดเป็นร้อยละ 24 ถึง ร้อยละ 38 ที่ระดับความเชื่อมั่น 99%

More Related