1 / 41

8 Disciplines Problem Solving Process

8 Disciplines Problem Solving Process. ข้อกำหนด Problem Solving Methods .

valeria
Download Presentation

8 Disciplines Problem Solving Process

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 8 Disciplines Problem Solving Process

  2. ข้อกำหนด Problem Solving Methods • A supplier shall use disciplined problem solving methods when an internal or external nonconformance to specificationor requirement occurs .When external nonconformance occur,the supplier shall respond in a manner prescribed by the customer. Refer to the customer documents. • องค์กรต้องมีวิธีการแก้ปัญหาที่มีระเบียบวินัยเมื่อพบข้อบกพร่องทั้งภายในและภายนอกที่ไม่สอดคล้องกับข้อกำหนดหรือความต้องการ • ในกรณีที่เป็นข้อบกพร่องที่พบภายนอกต้องตอบสนองโดยใช้วิธีการที่กำหนดไว้โดยลูกค้าตามเอกสารที่ได้กล่าวอ้างอิง

  3. 8D Approach –The Eight Discipline ApproachหรือTeam Oriented Problem Solving (TOPS) • เป็นวิธีการแก้ปัญหา (Problem Solving Method) ที่กำหนด โดยFord เมื่อพบข้อบกพร่องที่ฟอร์ด Chrysler -7 Step Corrective Action Process General Motor - PR & R (Problem Reporting and Resolution Procedure (GP5, GM 1746) ISO 9000 -CAR (Corrective Action Request)

  4. การปฏิบัติการ-Action แก้ปฏิบัติการแก้ไขการปฏิบัติการการป้องกัน Corrective Action Preventive Action Action taken to eliminate the cause Action taken to the cause of Of a detected nonconformities or a potential nonconformity or Other undesirable situation other potentially undesirable การปฏิบัติการที่ดำเนินการเพื่อขจัดสาเหตุของข้อบกพร่องsituation ที่ถูกตรวจพบหรือตรวจพบสถานการณ์อื่นๆ การปฏิบัติการทที่ดำเนินการเพื่อขจัดสาเหตุของ ที่ไม่พึงประสงค์ข้อบกพร่องที่ไม่อาจเกิดขึ้นได้หรือสถานการณ์ อื่น ๆ ที่ไม่พึงประสงค์

  5. ISO 9001:2000 ISO 9001:2000 การปฏิบัติการแก้ไข-Corrective Action วิธีการปฏิบัติสำหรับการปฏิบัติการแก้ไขต้องกำหนดความต้องการต่างๆดังนี้ • การชี้บ่งข้อบกพร่อง (รวมถึงการร้เรียนจากลูกค้า) • การค้นหาสาเหตุของข้อบกพร่อง • การประเมินว่ามีการปฏิบัติการใดที่จำเป็นต่อการทำให้มั่นใจว่าไม่เกิดซ้ำ • กำหนดการปฏิบัติการแก้ไขที่จำเป็นและนำไปใช้ • บันทึกผลของการปฏิบัติการที่ได้ดำเนินไป • ทบทวนการปฏิบัติการแก้ไขที่ได้ดำเนินไป

  6. จุดเริ่มต้นของ รายงาน • เมื่อลูกค้าเขียนMMR (Material Rejection Report) หรือField QualityInformation ซึ่งบังคับให้ต้องมีการ - ชี้บ่งรากของปัญหา (Root Causes) - กำหนดมาตราการในการรับมือกับปัญหา (Counter measures) • ขึ้นกับความรวดเร็วที่ทราบสาเหตุของข้อบกพร่อง -หากรู้สาเหตุได้ทันที ให้ใช้ 8D Report (Form 3.12A)หรือ Concern Analysis Report -หากไม่รู้สาเหตุในทันที ให้ใช้ Analyzed Report for Recurrence Prevention(Form 3.12B)

  7. Desired valuesสำหรับ8D Approach หรือTOPS ของฟอร์ด • มีวิธีการแก้ปัญหาที่มีระเบียบ ด้วยการใช้ความจริงมากกว่าการใช้อคติ(Bias)ส่วนบุคคล,เชิงสร้างสรรค์,แก้ได้ถาวร • ใช้ได้กับปัญหาหรือกิจกรรมใดใด รวมถึงช่วยให้มีการสื่อสารที่สัมฤทธิ์ผลระหว่างแผนกต่าง ๆ ที่มีวัตถุประสงค์เดียวกัน • ต้องทำเป็นเอกสารไว้ใช้ “Concern Analysis Report” • เกิดการเชื่อมต่อในส่วนที่ขาดหายไประหว่าง SPC กับการปรับปรุงคุณภาพ

  8. ขั้นตอนทั้ง 8 ของThe Eight Disciplines ของฟอร์ด • D1-Use Team Approach ใช้หลักการของทีม • D2-Describe the Problem ทำความเข้าใจในปัญหา • D3-Implement and Verify Interim (Containment) Actions) ปฏิบัติเพื่อจำกัดปัญหา • D4-Identify All Potential Causes-ชี้บ่งทุกสาเหตุที่เป็นไปได้ • D5-Define And Implement The Best Permanent Corrective Action -กำหนดและนำการปฏิบัติการแก้ไขแบบถาวรที่ดีที่สุดไปใช้ • D6-Verification-ทวนสอบการปฏิบัติการแก้ไข • D7-Prevent Recurrence –ป้องกันการเกิดซ้ำ • D8-Congratulate You Team-แสดงความยินดีกับทีม

  9. 7-Step Corrective Action Process ของChrysler • Description of The issuer/Nonconformance อธิบายประเด็น / ข้อบกพร่อง • Defination2 Root Cause บอกรากฐานของปัญหา • Interim action and Effective date การปฏิบัติการชั่วคราวและวันที่มีผล • Permanent action and Effective date • การปฏิบัติการถาวรและวันที่มีผล • Verification ทวนสอบ • Control ควบคุม • Prevention ป้องกัน

  10. ลูกค้า พบข้อบกพร่อง Field Failure Analysis :Failure Identifier Corrective Action Coordinator Team Leader หรือ Champion สมาชิก 1 สมาชิก 2 8D Team สมาชิก 3 กระบวนการอยู่ภายใต้การควบคุม การปรับปรุงคุณภาพ

  11. Corrective Action Coordination • นำข้อร้องเรียนจากลูกค้ามาเขียนเป็นเอกสารไว้ • ทำความเข้าใจในข้อร้องเรียน • ประสานงานกับผู้บริหารกำหนด 8D Team • ประสานงานกับลูกค้า / ฝ่ายเกี่ยวข้องเพื่อนำตัวอย่างมาวิเคราะห์ ประกอบการตัดสินใจ • ทำงานร่วมกับ 8D Team • สรุปรายงานและส่งรายงาน 8D ให้ลูกค้าและติดตามผล

  12. Failure Analysis : Failure Identifier • Failure Analysis • Failure Notice / Report • Corrective Action Recommendation • นำไปสู่การแก้ไขการออกแบบ พัฒนาผลิตภัณฑ์และการควบคุมขบวนการ

  13. Failure Analysis Flowchart Failure พบข้อบกพร่อง ค้นหาประวัติของ Failure ที่คล้ายกัน วิเคราะห์ผลทดสอบ X-ray ผ่าชิ้นงาน Examine appearance ตรวจภายนอก ตรวจใต้กล้อง ระบุจุดที่เกิด Failure Fail Test performance ตรวจสอบสมรรถนะ ตรวจโดยการ Scan บันทึก Failure ไว้ใน Database ชี้บ่งสาเหตุของ Failure Pass หยุด Feedback ไปยังผู้เกี่ยวข้อง

  14. D1 : 8D Team หลักการของ 8D Team • สมาชิก 3-8 คน • Cross-functional • มีความรู้และความเข้าใจในผลิตภัณฑ์/ขบวนการ • ทุมเท • ได้รับมอบอำนาจ Empowerment • มีทักษะในการดำเนินกิจกรรมแต่ละ D • กำหนด Team Leader หรือChampion

  15. D1 : Team ชื่อ แผนก หมายเลขโทร Champion :

  16. D2 : Describe Problem :

  17. ตัวอย่างการใช้ 5W2H IQA ของลูกค้า :KTT Who พบชิ้นงานที่ไม่ได้เจาะรูตำแหน่ง H021 What ตามที่แสดงไว้ใน Drawing #k03,#PO#4/44 Why จำนวนงาน 50 ชิ้น How many จากการสุ่ม 120 How ที่ Incoming Inspection Where เมื่อวันที่ 20 ต.ค. 45 When ของ Production Date Code ABC051144 I

  18. หลักการสำคัญของ D2 : ทำความเข้าใจปัญหา ข้อเท็จจริงของปัญหา รู้ถึง Magnitude และความสำคัญของปัญหา อาจต้องหาข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อชี้ประเด็นให้ชัด แนบตัวอย่างที่เป็นข้อบกพร่อง อาจดำเนินการโดยผู้รับคำร้องเรียนของลูกค้า

  19. D3: Containment Action ปฏิบัติการเพื่อจำกัดวงของปัญหา • แยกปัญหาออกมา (Problem isolation)ไม่ให้ลูกค้าได้รับผลกระทบ • จากปัญหามากกว่าที่กำลังเป็นอยู่ • ความยาวนานของการปฏิบัติการจำกัดวงปัญหา-จนกว่าการปฏิบัติการแก้ไข • (Corrective Action) จะเริ่มขึ้น • วิธีการจำกัดวงปัญหา ต้องพอเหมาะกับขนาดของปัญหาและความมีอยู่จริง ของปัญหาในช่วงเวลานั้น ๆ

  20. ตัวอย่างวิธีการจำกัดวงของปัญหา-อาจใช้ 1 หรือมากกว่า 1วิธี • Purge ดึงวัตถุดิบใน lot ที่มีปัญหาออกจากระบบทันที เช่น store , สายการผลิต • ยับยั้งปัญหาการเข้าสู่ระบบ เช่น หยุด Shipment จาก Supplier หรือหยุดส่ง Shipment ไปให้ลูกค้า • แยกสินค้าที่มีหรือสงสัยว่ามีปัญหาออกจากสินค้าที่ไม่มีปัญหา เช่น ตรวจสอบ/Ruscreen/ทดสอบ 100% • แจ้งเตือนปัญหาให้ผู้ที่เกี่ยวข้องมีความตระหนัก เช่น ประชุมทันที , ฝึกอบรมให้ทราบวิธีใหม่ทันที • พิจารณาถึงความจำเป็นของ Product Recall,Contingency Plan

  21. Product Recall System • Physical Recall กับ TraceabilityRecall • กำหนดระดับความรุนแรงของปัญหาที่ต้องการมีการ • Recall เช่น ความปลอดภัยของผู้ใช้งาน ภาพลักษณ์ • ของบริษัท • วิธีการยกระดับปัญหาถึงผู้มีอำนาจตัดสินใจ • Critical Incident Managerment • List ของผู้มีอำนาจตัดสินใจและผู้ดำเนินการในภาคสนาม • ดำเนินการตาม Contingency Plan ที่กำหนดไว้

  22. Contingency Plan • ความสามารถในการทดแทนสินค้าภายใน...ชั่วโมง • การประกันคุณภาพของสินค้าในระหว่าง Contingency • ความรวดเร็วในการกลับคืนสู่สภาพปกติ • Subcontractor • การ Practice หรือการเตรียมพร้อม • การชี้บ่ง สาเหตุที่เป็นไปได้ • ปรับปรุงแก้ไขวิธีการหลังจากที่พบความไม่เหมาะสม

  23. ตัวอย่าง Containment Action Containment Action % Effect Implementation Date ตรวจสอบสินค้ารอส่ง 100% 50% ทันที 1 / 7 /44 ดึงวัตถุดิบ Date code 0204 100% 1 / 7-3 / 44 ออกจากสโตร์ % Effect เป็นการทวนสอบความได้ผลของการปฏิบัติการจำกัดวงปัญหา สามารถช่วยกันไม่ให้ลูกค้าได้รับผลกระทบเพิ่มได้ดีแค่ไหน

  24. D4 : Root Causes รากของปัญหา ชี้บ่งทุกสาเหตุที่เป็นไปได้ Identify all potential causes ที่อาจช่วยอธิบายได้ว่าทำไมจึงเกิดปละเล็ดลอดออกไปได้ ทดสอบความเป็นไปได้ของแต่ละสาเหตุโดยเทียบกับปัญหาที่ลูกค้าได้รับ และข้อมูลจากการทดสอบเพื่อแยกรากของปัญหาออกมา Isolate/verify the root cause /s by testing each Potential against the problem description and test Data-แนะนำ การจำลองปัญหา ไม่ใช่ เป็นรากของปัญหา ? เลือกสาเหตุที่เป็นไปได้ Select likely causes ใช่ กำหนดวิธีแก้ / ทางเลือก

  25. สำรวจสภาพปัญหาที่ผ่านมาสำรวจสภาพปัญหาที่ผ่านมา 100% สะสม ไม่เจาะรูเป็น40%ของปัญหาทั้งหมด แท่ง1+2 ควรเป็น80% ของทั้งหมด

  26. ชี้บ่งทุกสาเหตุที่เป็นไปได้ identify all potential causes ที่อาจจะช่วยอธิบายว่าทำไมจึงเกิดขึ้นและเล็ดลอดออกไปได้ ? Primary Cause Secondary Cause ปัญหา 5Whys 5 ทำไม Tertiary Cause

  27. วิธีการทดสอบ/ข้อมูล ผลการทดสอบ ความแตกต่างจากปัญหาที่พบ สรุปเป็นไปได้ /ไม่ได้ สาเหตุที่เป็น ไปได้ ผลผ กำหนดทางเลือกในการขจัดรากของปัญหา Alternative corrective action %Contribution รากของปัญหา แนวทางในการปฏิบัติการแก้ไข

  28. บริหารด้วยข้อเท็จจริงบริหารด้วยข้อเท็จจริง Uncertainty , Certainty , Probability • ผลจากการ Failure Analysis • คิดและแก้อย่างเป็นระบบ • สถานที่จริง เหตุการณ์จริง ของจริง (5G) • ความมีเหตุผล • มุ่งเน้นไปที่ระบบ และวิธีการ

  29. การกำหนดวิธีการ / แนวทางแก้ปัญหา Mistake Proofing-4.14.1.2 ภูเก็ต รถ เครื่องบิน เรือ กรุงเทพฯ

  30. D5-Permanent Corrective Actionปฏิบัติการแก้ไขถาวร D4 : เลือกแนวทางการแก้ปัญหาที่ • สอดคล้องกับรากของปัญหา • แต่ละปัญหาเป็นรากของปัญหาจริง ดู %Contribution • Mistake Proofing • D5 : นำ Permanent Corrective Action ไปใช้ • เลือกแนวทางการแก้ปัญหาที่ดีที่สุดไปกำหนดการปฏิบัติการแก้ไขที่ดีที่สุด • มีการเฝ้าติดตาม และมาตราการควบคุม (monitor) • มีการ Contingency action ตามที่จำเป็น

  31. The Best Permanent CorrectivAction • เป็นมาตราการระยะสั้น ปานกลางและยาว • ใช้หลักการของ Mistake Proofing • มีมาตราการควบคุมสำหรับแต่ละ Action เพื่อความมั่นใจว่ารากของปัญหาถูกขจัด • มีการกำหนดมาตราการ monitor มาตราการควบคุมเพื่อแสดงความได้ผลของการแก้ไข-แสดงสถานะ • แต่ละมาตรการกำหนดผู้รับผิดชอบและวันที่ เริ่ม-เสร็จ • รวมถึงการกำหนด Contingency actions ถ้าจำเป็น

  32. Corrective Active ผู้รับผิดชอบ เริ่ม เสร็จ สถานะ

  33. D6-Verify Corrective Action (ทวนสอบการปฏิบัติการแก้ไข • เพื่อยืนยันว่า Corrective Action ที่เลือกสามารถ แก้ปัญหาอย่างได้ผล • ยืนยันโดยวิธีการที่สามารถบอกเชิงปริมาณได้ • ผู้ดำเนินกิจกรรมทวนสอบมีความอิสระในการทวนสอบ

  34. ตรวจสอบ..... มีข้อมูลเปรียบเทียบ ก่อน-หลัง • กราฟ • แผนภูมิ • พาเรโต เทียบกับเป้าหมายที่ได้ตั้งไว้ วิเคราะห์อุปสรรค วางแผนแก้ไขใหม่

  35. วิธีการตรวจผลของการแก้ปัญหาวิธีการตรวจผลของการแก้ปัญหา • ตรวจโดยยึดหลักฐานเป็นหลัก • มีร่องรอยของการแก้ไข • เอกสารได้ถูกแก้แล้วหรือไม่ • หลักฐานการสั่งซื้อ • บันทึกเท่าที่หาได้

  36. วิธีการติดตามผลของการแก้ปัญหาวิธีการติดตามผลของการแก้ปัญหา • ตรวจสอบจากการเฝ้าสังเกตุ • ยืนเฝ้าสังเกตุว่าวิธีการหรือพฤติกรรมเปลี่ยนไปหรือไม่ • นำเอกสารที่แก้แล้ว เทียบกับการปฏิบัติงานจริง • ตรวจสอบจากการสัมภาษณ์ • สัมภาษณ์ผู้ปฏิบัติงานในความเข้าใจ • สัมภาษณ์ผู้ที่เกี่ยวข้องเช่นกระบวนการถัด ไปเพื่อยืนยันผลกระทบที่เกิดขึ้น (เชิงบวกและเชิงลบ)

  37. วิธีการติดตามผลของการแก้ปัญหาวิธีการติดตามผลของการแก้ปัญหา ตรวจสอบจากผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง • นำกราฟก่อนแก้และหลังแก้มาเปรียบเทียบกัน • นำรายงานที่เกี่ยวข้องกับมาตรวจสอบในประสิทธิผล • ทำการวัดจริง

  38. วิธีการจัดการหลังติดตามผลของการแก้ปัญหา(ในกรณีที่ไม่ได้ผลตามที่คลาดไว้)วิธีการจัดการหลังติดตามผลของการแก้ปัญหา(ในกรณีที่ไม่ได้ผลตามที่คลาดไว้) • หนทางการแก้ไขที่ได้กำหนดไว้ นำไปใช้งานจริงหรือไม่ • รากของปัญหาที่วิเคราะห์ไว้แต่แรก อาจจะไม่ใช้แล้ว? • มองหาหนทางการแก้ปัญหาใหม่ ? • หนทางเดิมอาจจะดีแล้ว แต่อาจจะต้องเพิ่มความเข้มงวด?

  39. D7-Action (s) to Prevent Recurrences ปฏิบัติการไม่ให้เกิดซ้ำวิธีการจัดการหลังติดตามผลของการแก้ปัญหา คุณได้เรียนรู้อะไร ? ได้บทเรียนอะไรบ้าง ในกรณีที่ได้ผลดีตามที่คาดหมาย • นำวิธีการที่ใช้แล้วได้ผลไปเขียนเป็นเอกสารไว้ • นำไปแก้ไขวิธีการทำงานในเอกสาร,ระบบ,Practiceและ Procedures ที่เกี่ยวข้อง • นำวิธีการที่ได้ผลไปฝึกอบรม และติดตามผลเป็นระยะ ๆ • ถามเสมอว่า “มีที่อื่น ๆ ที่มีรากของปัญหาคล้าย ๆ กันหรือไม่”

  40. D7- Action(s) to Prevent Recurrences Action (s) to ผู้รับผิดชอบ เริ่ม เสร็จ สถานะ Prevent Recurrences

  41. THE END...

More Related