1 / 34

KING MONGKUT’S UNIVERSITY

KING MONGKUT’S UNIVERSITY. OF. TECHNOLOGY THONBURI. PRESENT. DAO คืออะไร ? จะสืบค้นข้อมูลจาก DAO ได้อย่างไร ? หน้าแรกของ DAO วิธีการสืบค้นข้อมูลและตัวอย่างการสืบค้นข้อมูล การแสดงผลการสืบค้นข้อมูล การจัดการผลการสืบค้นข้อมูล. DAO คืออะไร. Dissertation Abstracts Online (DAO)

val
Download Presentation

KING MONGKUT’S UNIVERSITY

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. KING MONGKUT’S UNIVERSITY OF TECHNOLOGY THONBURI PRESENT

  2. DAO คืออะไร? จะสืบค้นข้อมูลจาก DAO ได้อย่างไร ? หน้าแรกของ DAO วิธีการสืบค้นข้อมูลและตัวอย่างการสืบค้นข้อมูล การแสดงผลการสืบค้นข้อมูล การจัดการผลการสืบค้นข้อมูล

  3. DAO คืออะไร Dissertation Abstracts Online (DAO) เป็นฐานข้อมูลที่รวบรวมวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโทและเอก จากมหาวิทยาลัยและสถาบันอุดมศึกษาในสหรัฐอเมริกา แคนาดา รวมทั้งมหาวิทยาลัยบางแห่งในทวีปยุโรป แอฟริกา ออสเตรเลียและเอเชีย ครอบคลุมสาขาวิชามากกว่า 3,000 สาขาเช่นวิศวกรรมศาสตร์ วิจิตรศิลป์ เคมี คณิตศาสตร์ เป็นต้น

  4. จะสืบค้นข้อมูลจาก DAO ได้อย่างไร ? http://www.lib.kmutt.ac.th/online.html http://www.kmutt.ac.th/ http://www.uni.net.th

  5. หน้าแรกของ DAo 1 3 4 2 1. เข้าหน้าจอการสืบค้นแบบ Basic search และ Advanced search 2.การสืบค้นแบบ Browse search 3.เรียกดูผลการสืบค้น 4.เรียกดูบทความที่เราเลือกไว้

  6. วิธีการสืบค้นข้อมูล การสืบค้นแบบ Basic search การสืบค้นแบบ Advanced search การสืบค้นแบบที่ 1 (keyword + Field) การสืบค้นแบบที่ 2 (Search history) การสืบค้นแบบที่ 3 (Subject tree) การสืบค้นแบบที่ 4 (School index) การสืบค้นแบบ Browse search

  7. การสืบค้นแบบ Basic search 5 1 3 2 4 1.ใส่คำที่ต้องการสืบค้น 2.เลือกประเภทของข้อมูลที่ต้องการสืบค้น เช่น Key word, Author, Title, School เป็นต้น 3.หากมีคำที่ใช้สืบค้นหลายคำให้เลือกประเภทของคำเชื่อม And, or หรือ And not เพื่อกำหนดเงื่อนไข 4.กำหนดขอบเขตของระยะเวลาที่ต้องการค้น 5.กดปุ่ม Search เพื่อทำการสืบค้น

  8. ตัวอย่างการสืบค้นแบบ Basic search 1.เลือกคำที่ใช้สืบค้น ในที่นี้เลือกคำว่า vaccine 2.เลือกประเภทข้อมูลที่ใช้สืบค้นในที่นี้เลือก Title 3.คลิกปุ่ม Search

  9. ผลการสืบค้นพบเอกสารทั้งหมด 389 บทความ

  10. การสืบค้นแบบ Advanced search:Keyword+field 7 8 9 1 3 6 2 4 5 1.เลือกหัวข้อ Keyword+Field 2.ใส่คำที่ต้องการสืบค้น 3.ระบุขอบเขตของการสืบค้นจาก keyword, Title, School เป็นต้น 4.หากคำค้นมีมากกว่า 1 คำให้ระบุคำเชื่อมด้วย 5.กำหนดขอบเขตของระยะเวลาที่ต้องการ 7.คำค้นที่ระบุไว้จะปรากฏในช่องการสืบค้นโดยอัตโนมัติ 6.คลิกปุ่ม”ADD” 8.คลิกปุ่ม “search”เพื่อทำกาสืบค้นข้อมูล 9.หากต้องการแก้ไขให้คลิกปุ่ม “clear query” จะลบข้อมูลในช่องการสืบค้นออก

  11. ตัวอย่างการสืบค้นแบบAdvanced search : KEYWORD + FIELD 4 5 3 1 2 1.เลือกคำที่ใช้สืบค้นในที่นี้เลือกคำว่า vaccine และAIDS โดยเลือกประเภทเป็น Title 2.เนื่องจากคำสืบค้นมีสองคำจึงต้องใช้คำเชื่อม ในที่นี้ใช้ AND เป็นคำเชื่อม 3.คลิกปุ่ม “ADD” 4.คำค้นจะปรากฏในช่องการสืบค้นอัตโนมัติ 5.คลิกปุ่ม SEARCH

  12. ผลการสืบค้นพบเอกสารทั้งหมด 5 บทความ

  13. การสืบค้นแบบ Advanced search : SEARCH HISTORY 5 7 6 1 3 2 8 4 1.ผู้สืบค้นจะต้องสืบค้นวิธีอื่นๆมาก่อน ซึ่งผลการสืบค้นจะถูกบันทึกไว้ใน search history โดยที่การสืบค้นครั้งใหม่สามารถสืบค้นโดยใช้คำจาก search history ได้เลย 2.ดู set ของคำที่ใช้สืบค้นมาก่อน 3.หากต้องการเลือกคำมากกว่า 1 set ให้ระบุคำเชื่อมด้วย 4.คลิกปุ่ม “ADD” 5.คำค้นที่เราระบุไว้จะปรากฏในช่องการสืบค้นโดยอัตโนมัติ 6.หากต้องการแก้ไขให้คลิกปุ่ม Clear Query ระบบจะลบข้อมูลในช่องการสืบค้นออก 7.คลิกปุ่ม SEARCH เพื่อทำการสืบค้น 8.คลิกตัวเลขในช่อง #Hit เมื่อต้องการดูบทความของการสืบค้นก่อนหน้านี้

  14. ตัวอย่างการสืบค้นแบบ Advanced search : SEARCH HISTORY 1.เลือกคำที่ต้องการสืบค้นจากรายการสืบค้นทั้งหมดในที่นี่ต้องการสืบค้นจากคำใน set#1, set#3 และ set#4 2.คลิกปุ่ม”ADD”set ที่เราต้องการจะปรากฏในช่องการสืบค้น 3.คลิกปุ่ม SEARCH

  15. ผลการสืบค้นพบเอกสารทั้งหมด 4 บทความ

  16. การสืบค้นแบบ Advanced search : SUBJECT TREE 1.คลิกปุ่ม SUBJECT TREE 2.จะปรากฏสาขาวิชาทั้งหมดเลือกสาขาวิชาที่ต้องการ 2 4 1 3 3.เลือกหัวข้อที่ต้องการแล้วคลิกปุ่ม “add” 4.หากต้องการสืบค้นมากกว่าหนึ่งหัวข้อให้ระบุคำเชื่อมด้วย 5 6 7 5.หัวข้อที่เราต้องการสืบค้นจะปรากฏในช่องการสืบค้นโดยอัตโนมัติ 6.คลิกปุ่ม SEARCH เพื่อทำการสืบค้นข้อมูล 7.หากต้องการแก้ไขให้คลิกที่ปุ่ม CLEAR QUERY ระบบจะลบข้อมูลในช่องการสืบค้นออก

  17. ตัวอย่างการสืบค้น Advanced search : SUBJECT TREE 1.เลือกสาขาวิชาที่ต้องการค้นบทความในที่นี้เลือก Communication and the Arts 2.เลือกหัวเรื่องที่ต้องการสืบค้นในที่นี้ต้องการสืบค้นจากหัวเรื่อง Architecture 3.คลิกปุ่ม “ADD” 4.คลิกปุ่ม Search

  18. ผลการสืบค้นพบเอกสารทั้งหมด 4,663 บทความ

  19. การสืบค้นแบบ Advanced search : SCHOOL INDEX 1.เลือกหัวข้อ School index 2.พิมพ์ชื่อมหาวิทยาลัยหรือบางส่วนของชื่อลงในช่องการสืบค้น 3.คลิกปุ่ม “Find school” จะปรากฏรายชื่อมหาวิทยาลัยที่สืบค้นได้ทั้งหมด 1 2 3 6 4.หากต้องการสืบค้นมากกว่า 1 มหาวิทยาลัยให้ใช้คำเชื่อมด้วย 4 5.คลิกปุ่ม”Add” รหัสของมหาวิทยาลัยจะปรากฏในช่องการสืบค้นอัตโนมัติ 5 6.คลิกปุ่ม Search

  20. ตัวอย่างการสืบค้น Advanced search: SCHOOL INDEX 1.ในที่นี้ต้องการสืบค้นบทความจาก UNIVERSITY OF CAMBRIDGE จึงใช้คำว่า cambridge 2.ผลการสืบค้นมี 1 มหาวิทยาลัยชื่อ UNIVERSITY OF CAMBRIDGE(UNITED KINGDOM) 3.คลิกปุ่ม “ADD” 4.คลิกปุ่ม Search

  21. ผลการสืบค้นพบเอกสารทั้งหมด 32 บทความ

  22. การสืบค้นแบบ Browse search 1.เมื่อคลิกปุ่ม browse ระบบจะแสดงรายชื่อสาขาวิชาที่มีอยู่ 2.เลือกสาขาวิชาที่ต้องการจะปรากฏหัวเรื่องทั้งหมดออกมา 1 2 3.คลิกหัวเรื่องที่ต้องการ 3 4 5 4.รหัสหัวเรื่องจะแสดงในช่องการสืบค้น 5.คลิกปุ่ม Search 6.คลิกที่ตัวเลขหากต้องการดูผลการสืบค้นทั้งหมด หากต้องการจำกัดการสืบค้นให้ลงมาที่ Refine Your Search 6

  23. ตัวอย่างการสืบค้นแบบ Browse Search 1.ในที่นี้ต้องการสืบค้นบทความจาก Phisical science 2.เลือกหัวเรื่อง Phisical –Electricity and Magnetism 3.รหัสของ Electricity and Magnetism จะปรากฏในช่องการสืบค้น 4.คลิก Search 5.คลิกที่ตัวเลขแสดงผลเพื่อดูผลการสืบค้น

  24. ผลการสืบค้นพบเอกสารทั้งหมด 4,046 บทความ

  25. การแสดงผลการสืบค้นข้อมูลการแสดงผลการสืบค้นข้อมูล 2 3 1 ในกรณีที่มีผลการสืบค้นมากเกินไป ระบบจะแสดงหน้าจอ Refine your search เพื่อให้ผู้ใช้จำกัดขอบเขตการสืบค้นข้อมูลให้แคบลง หากไม่ต้องการจำกัดการสืบค้นสามารถคลิกที่ตัวเลขแสดงจำนวนผลเพื่อดูรายละเอียดของผลการสืบค้นข้อมูล 1.ให้เพิ่มเติมหรือแก้ไขคำค้นใหม่ 2.กำหนดให้ระบบเลือกสืบค้นจากผลการสืบค้นเดิมหรือผลการสืบค้นใหม่ 3.คลิกปุ่ม Search

  26. 1 2 3 5 6 4 1.แสดงคำค้นและจำนวนที่ค้นได้ 2.เลือกจำนวนบทความที่แสดงผลในหนึ่งหน้า 3.เลือกการเรียงลำดับของบทความตามวันที่, ผู้แต่ง หรือ ชื่อเรื่อง 4.คลิกเพื่อเลือกดูบรรณานุกรมและบทคัดย่อหรือเอกสารฉบับเต็ม 24 หน้า 5.คลิกเลือกเก็บบทความไว้ใน Mark list เพื่อ save, print หรือส่ง E-mail 6.คลิกเลือกบทความนี้เก็บไว้ใน shopping cart เพื่อสั่งซื้อ

  27. ตัวอย่างการแสดงผลการสืบค้นตัวอย่างการแสดงผลการสืบค้น หน้าจอแสดงบรรณานุกรม เช่น ชื่อบทความ, ชื่อผู้แต่ง, ปีที่พิมพ์พร้อมสาระสังเขป

  28. 1 แสดงบรรณานุกรมพร้อมเอกสารฉบับเต็ม 24 หน้า 1.คลิกเพื่อดูเอกสารฉบับเต็มแต่ละหน้า

  29. 1 แสดงเอกสารฉบับเต็มครั้งละหนึ่งหน้า 1.คลิกเพื่อเลือกดูหน้าก่อนหน้านี้, หน้าแสดงเอกสารฉบับเต็ม 24 หน้าหรือหน้าถัดไป

  30. การจัดการผลการสืบค้นข้อมูลการจัดการผลการสืบค้นข้อมูล 4 1 2 3 1.คลิก mark all หากต้องการเลือกทุกบทความเพื่อ print ,save หรือส่ง E-mail 2.คลิกเพื่อเลือกบทความนั้นเก็บไว้ใน marked list เพื่อ print,save หรือส่ง E-mail 3.คลิกเพื่อเลือกบทความเก็บไว้ใน shopping cart เพื่อสั่งซื้อ 4.คลิก marked list เพื่อดูรายการที่เลือกไว้

  31. การ Print 1.คลิก Print List ระบบจะแสดงข้อมูลเพื่อสั่งพิมพ์ 2.ในช่อง Output format ให้เลือก Text(Citation+Abstract) 1 3.ในช่อง Sort by สามารถกำหนดการเรียงลำดับของบทความตามปีและอักษรชื่อผู้แต่ง,อักษรชื่อผู้แต่งหรืออักษรชื่อบทความ 2 3 4 5 4.คลิก Print list ระบบจะแสดงข้อมูลเพื่อจัดพิมพ์ 5.คลิก File และเลือก Print เพื่อสั่งพิมพ์ต่อไป

  32. การส่ง E-mail 2.ใส่ชื่อเรื่องที่ต้องการจะPrint 4 2 1 5 1.คลิก E-mail list 3 6 3.่ใส่ E-mai address ของผู้ที่ต้องการจะส่งข้อมูลให้ 4.ในช่อง Output format ให้เลือก Text(Citation+Abstract) 5.ในช่อง Sort by สามารถกำหนดการเรียงลำดับของบทความตามปีและอักษรชื่อผู้แต่ง,อักษรชื่อผู้แต่หรืออักษรชื่อบทความ 7 7.แสดงผลการส่ง 6.คลิก E-amil list ระบบจะส่งข้อมูลไปยัง E-mail address ที่ต้องการ

  33. การ Download 2.ใส่ชื่อเรื่องที่ต้องการจะ Download 1.คลิก Download 2 3 1 4 5 3.ในช่อง Output format ให้เลือก Text(Citation+Abstract) 4.ในช่อง Sort by สามารถกำหนดการเรียงลำดับของบทความตามปีและอักษรชื่อผู้แต่ง,อักษรชื่อผู้แต่งหรืออักษรชื่อบทความ 6 5.คลิก Download 6.คลิก Save

More Related