1 / 47

ยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาด้านภาษาอังกฤษ เพื่อรองรับเข้าสู่ประชาคมอาเซียน

ยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาด้านภาษาอังกฤษ เพื่อรองรับเข้าสู่ประชาคมอาเซียน. ดร. วรรณา ช่องดารากุล สถาบันภาษาอังกฤษ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ศธ. Greeting. Good morning Hi Hello. Hey. Yo. What's up? Howdy. Hey there. Hi there. Hello there. Hey man. Wuzzup?. คำชม ทรงพลัง.

ursala
Download Presentation

ยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาด้านภาษาอังกฤษ เพื่อรองรับเข้าสู่ประชาคมอาเซียน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาด้านภาษาอังกฤษเพื่อรองรับเข้าสู่ประชาคมอาเซียนยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาด้านภาษาอังกฤษเพื่อรองรับเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ดร. วรรณา ช่องดารากุล สถาบันภาษาอังกฤษ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ศธ.

  2. Greeting • Good morning • Hi • Hello • Hey.Yo.What's up?Howdy.Hey there.Hi there.Hello there.Hey man.Wuzzup?

  3. คำชม ทรงพลัง • A+ work! • Amazing effort! • Awesome! • Beautiful work. • Beautiful! Bingo! • Bravo! • Breathtaking! • You're so sweet. • You're special! • You made it happen! • You made the difference! • You make me feel good. • You make me happy.

  4. คำชม ทรงพลัง • Good! • Good for you! • Good job! • Good learning! • Good thinking! • Good planning! • Great! • Great answer! • I'm proud of you. • It couldn't be better! • It's everything I hoped for! • Keep up the good work!

  5. วิเคราะห์ยุทธศาสตร์การเตรียมเข้าสู่อาเซียนของเพื่อนบ้านวิเคราะห์ยุทธศาสตร์การเตรียมเข้าสู่อาเซียนของเพื่อนบ้าน

  6. กลุ่มเป้าหมายการพัฒนาของท่านกลุ่มเป้าหมายการพัฒนาของท่าน • ได้แก่............... • ท่านต้องการให้เขา รู้ (ฟัง พูด อ่าน เขียน ภาษาอังกฤษ)ระดับใด • ขณะนี้สำเร็จระดับใด

  7. เพื่อนบ้านของเราวางแผนเชิงรุกอย่างไรเพื่อนบ้านของเราวางแผนเชิงรุกอย่างไร สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เป็นประเทศกำลังพัฒนาที่สามารถพัฒนาตนเองไปได้อย่างรวดเร็วพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และขยายโอกาสทาง วิสัยทัศน์ทางการศึกษา พ.ศ. 2563 มีจุดเน้น 6 ประเด็น ดังนี้ 1) การจัดให้มีการศึกษา ภาคบังคับอย่างทั่วถึง 2) การพยายามขจัดความไม่รู้หนังสือ 3) การขยายการศึกษาในระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา

  8. 4) การฝึกอบรมแรงงานฝีมือ ช่างเทคนิค วิชาชีพ และปัญญาชนให้มีความสามารถในการนำวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสมัยใหม่ • 5) การยกระดับการศึกษาชาติให้ใกล้เคียงมาตรฐานสากล • 6) การศึกษาเป็นแกนสำหรับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์

  9. เมียนม่า • มีระบบการจัดการศึกษาที่แตกต่างจากประเทศอื่นๆ ได้รับอิทธิพลจากระบบการปกครองแบบเผด็จ • การเพิ่มอัตราการเข้าเรียนของประชากรวัยเรียนและลดปัญหาการออกกลางคัน • ขาดแคลนปัจจัยพื้นฐานด้านการศึกษา • การเพิ่มอัตราการเข้าเรียนของประชากรวัยเรียนและลดปัญหาการออกกลางคัน

  10. กัมพูชา • สร้างแนวทางการพัฒนาศักยภาพของประเทศใน 4 สาขาหลัก คือ การเกษตร การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน การพัฒนาภาคเอกชนและสนับสนุนการสร้างงาน และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์

  11. นโยบายพัฒนาสู่ประชาคมอาเซียน 1) พัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้เรื่องความเป็นอาเซียน และ 2) จัดการศึกษาโดยเน้นเรื่องสิทธิมนุษยชน ยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพการศึกษา 1) บรรจุความรู้ด้านความเป็นอาเซียนไว้ในหลักสูตรระดับมัธยมศึกษา 2) ส่งเสริมให้ประเทศสมาชิกของอาเซียนเกิดการแลกเปลี่ยนประสบการณ์เกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตรของโรงเรียน รวมถึงการกำหนดเป้าหมายทางการศึกษาร่วมกันเพื่อเป็นประโยชน์ในการสร้างความเข้าใจกันในระดับนานาชาติ และ 3) จัดการศึกษาโดยเน้นเรื่องสิทธิมนุษยชน

  12. เวียดนามได้กำหนดแผนยุทธศาสตร์ปี ค.ศ. 2001-2010 1) การปรับปรุงคุณภาพของการศึกษาไปในทิศทางที่เข้าถึงการศึกษาระดับสูงของโลก ตอบสนองต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชาติ ภูมิภาค และท้องถิ่น และมุ่งสู่สังคมการเรียนรู้ เพื่อนำการศึกษาของประเทศออกไปให้ห่างพ้นจากความด้อยพัฒนา 2) การให้ความสำคัญกับการอบรมบุคลากรทางด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีขั้นสูง และความสามารถทางการจัดการธุรกิจ ซึ่งจะนำไปสู่ความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ 3) การริเริ่มจัดทำเป้าหมาย วิธีการ และหลักสูตรในทุกระดับ รวมทั้งพัฒนาครู

  13. เพิ่มรายได้ • การพัฒนาการศึกษานอกระบบ • การลดอัตราการไม่รู้หนังสือในกลุ่มผู้ใหญ่ • ให้ผู้ที่ทำงานแล้วได้รับการอบรมเรียนรู้จากหลักสูตรระยะสั้น เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต เพิ่มรายได้ และโอกาสในการเปลี่ยนงาน

  14. เป้าหมายในอนาคตของเวียดนามเป้าหมายในอนาคตของเวียดนาม • เรียนรู้ และฝึกทักษะในการดำรงชีวิตที่ทันสมัย (Modern Life Skills) 5) คุณภาพของกระบวนการเรียนการสอนจะก้าวสู่ระดับมาตรฐานสากลอันทันสมัย • 6) ผลลัพธ์ทางการศึกษาจะสอดรับโดยตรงต่อเศรษฐกิจและสังคมที่ทันสมัย

  15. การพัฒนาสู่ประชาคมอาเซียนของประเทศสหพันธรัฐมาเลเซีย มุ่งเน้นการพัฒนาโรงเรียนให้เป็น “Smart Schools” เพื่อสร้างคนให้มีความคิดริเริ่ม สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศให้เกิดประโยชน์ในการเพิ่มมูลค่าการผลิต 1)ส่งเสริมการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของมาเลเซียในทุก ๆ ด้าน 2) ให้โอกาสผู้เรียนในการพัฒนาศักยภาพและความสามารถที่เป็นจุดแข็งของตนเองได้อย่างเต็มที่ 3) พัฒนาแรงงานที่มีสติปัญญา(Thinking Workforce) ที่มีความชำนาญการ ทางเทคโนโลยี 4) ขยายโอกาส 5) สนับสนุนการมีส่วนร่วม

  16. การยกระดับประเทศสู่ประเทศที่พัฒนาแล้ว (Developed Nation) ภายในปี 2020 • เป้าหมายหลักของมาเลเซีย • ในการพัฒนาด้านการศึกษาฝีมือแรงงาน และยกระดับคุณภาพชีวิตให้กับ ชาวมาเลเซีย เพื่อพัฒนาคนให้มีคุณภาพและเป็นกลไกใน

  17. How to ของมาเลเซีย • เสริมสร้างอัตลักษณ์แห่งความเป็นชาวมาเลเซียและชาว ASEAN โดยใช้คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ (core values) ในระดับโรงเรียน • สร้างความเข้มแข็งและความมั่นใจให้เยาวชนเพื่อให้สามารถเผชิญหน้ากับความท้าทาย ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต เพื่อให้คนรุ่นใหม่มีเป้าหมายในชีวิต และมีส่วนร่วมในการสร้างชาติ • พัฒนาผู้นำ เพื่อสร้างผู้นำในอนาคตให้แก่เอเชีย

  18. นโยบาย ยุทธศาสตร์ และมาตรฐานการพัฒนาสู่ประชาคมอาเซียนของประเทศอินโดนีเซีย • ยุทธศาสตร์ด้านการศึกษาของประเทศอินโดนีเซียปี ค.ศ. 2010 – 2014 1) ปรับเปลี่ยนวิธีการจัดกิจกรรมเพื่อขจัดการไม่รู้หนังสือ 2) ปรับเปลี่ยนกระบวนการเรียนรู้จากส่วนกลาง เป็นหลัก ไปเป็นผู้เรียนและชุมชนเป็นหลัก 3) รวบรวมแหล่งทรัพยากรเกี่ยวกับอาเซียน 4) เร่งรัดการจัดกิจกรรมที่จะทำให้นักเรียน ครู อาจารย์และนักวิจัยของประเทศอาเซียนได้พบปะกัน

  19. ช่วยมหาวิทยาลัยที่ต้องการเปิดหลักสูตรอาเซียน (ASEAN studies) • ครูและอาจารย์ให้มีความรู้เฉพาะเกี่ยวกับภาษา วัฒนธรรมและศาสนาของอาเซียน

  20. นโยบาย ยุทธศาสตร์ และมาตรฐานการพัฒนาสู่ประชาคมอาเซียนของประเทศฟิลิปปินส์ • ยุทธศาสตร์ในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนดังนี้ 1) เพิ่มการมีส่วนร่วมของนักเรียนในการจัดการเรียนรู้ 2) พัฒนากรอบการศึกษาร่วมกันสำหรับภูมิภาคอาเซียน 3) แก้ไขปัญหาในเรื่องภาษาเพื่อให้นักเรียนอาเซียนสามารถแข่งขันได้กับสังคมโลก 4) การประสานความร่วมมือทางการศึกษาของอาเซียนในส่วนของมาตรฐานหลักสูตร การประกันคุณภาพ การวัดผล การติดตามและการประเมินผลการศึกษา และ 5) การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการส่งเสริมความร่วมมือทางการศึกษา

  21. ) นโยบาย ยุทธศาสตร์ และมาตรฐานการพัฒนาสู่ประชาคมอาเซียนของประเทศสิงคโปร์ ผู้เรียนส่วนใหญ่สามารถพูดได้ถึง 3 ภาษา คือ ภาษาเดิม ภาษาอังกฤษ และภาษาจีน ทำให้ประชากรของประเทศสิงคโปร์มีความได้เปรียบและมีโอกาสในการทำงานสูงกว่าประเทศอื่นๆ • ด้านหลักสูตรปี 2015 รักษามาตรฐานความรู้ระดับสูง ทักษะและค่านิยม โดยเฉพาะในวิชาหลัก เช่น ภาษา คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ มนุษยศาสตร์และสุขศึกษา พลศึกษา • มุ่งสู่อนาคต • หลักสูตร ที่มีฐานกว้างและเป็นแบบองค์รวม

  22. 4) การเพิ่มรายละเอียดของรูปแบบการเรียนรู้ หลักสูตร การฝึกหัดครู การประเมินผล 5) การเรียนรู้ที่ท้าทายและสนุกสนาน นักเรียนทุกคนจะได้รับการคาดหวังระดับสูง พื้นฐานแข็งแกร่ง และการเรียนรู้ในอนาคต (Strong Fundamentals, Future Learning)

  23. 2) ด้านข้อมูลสารสนเทศ • มีเป้าหมายของการจัดการเรียนรู้ 4 ประการ ดังนี้ (1) สร้างความสามารถในการคิดวิเคราะห์และคุณลักษณะ ที่พึงประสงค์ (2) ปรับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ได้ดีที่สุด (3) ส่งเสริม ให้นักเรียนได้เรียนรู้อย่างกว้างขวางและลึกซึ้ง (4) เรียนรู้ได้ทุกเวลาทุกสถานที่

  24. ด้านการสร้างทีมงานรุ่นใหม่ ด้านการสร้างทีมงานรุ่นใหม่ • ยุทธศาสตร์คือการพัฒนาบุคลากรของครูและผู้บริหารโรงเรียนต้องมีคุณภาพสูง • เน้นการเป็นครูและความมีจิตวิญญาณความเป็นครู การพัฒนาครูจะเน้นให้มีความรู้อย่างลึกซึ้งในเรื่องหลักสูตร การสอนและการประเมินผล • เน้นให้ครูจัดการเรียนรู้ ที่ตอบสนองต่อนักเรียนที่มีความอยากเรียนรู้ การค้นคว้าด้วยตนเองและสามารถแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นซึ่งกันและกันได้

  25. นโยบาย ยุทธศาสตร์ และมาตรฐานการพัฒนาสู่ประชาคมอาเซียนของประเทศบรูไนดารุส ซาลาม เน้นใช้ภาษามาเลย์เป็นภาษากลางในการแลกเปลี่ยนทางการศึกษาระหว่างประเทศอิสลาม และใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาในการสื่อสารระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน ทำ 2 แนวทาง ได้แก่ • การผสมผสานการสอนความเป็นอาเซียนเข้าไปในหลักสูตร • ริเริ่มโครงการและกิจกรรมทั้งที่ริเริ่มโดยระดับชาติและริเริ่มโดยสำนักเลขาธิการอาเซียน

  26. 1) การสนับสนุนการสร้างความร่วมมือและเครือข่ายภูมิภาคอาเซียน 2) พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ 3) พัฒนาระบบสารสนเทศและผลการปฏิบัติที่ดีเลิศ และ

  27. เร่งพัฒนาภาษาอังกฤษ

  28. ผลการพัฒนาเครือข่าย • พัฒนาศูนย์ERIC ซึ่งมีครบทุกเขตพื้นที่ ปัจจุบันมี 190 ศูนย์ • จัดอบรมประจำปีเพื่อพัฒนาผู้จัดการศูนย์ฯ และจัดสรรงบประมาณให้อบรมขยายผลครูในพื้นที่และจัดค่ายภาษาอังกฤษ • จัดสรรสื่อ และงบประมาณเพื่อพัฒนาศูนย์ในการให้บริการครูและนักเรียน

  29. ผลการพัฒนาเครือข่าย (ต่อ) • พัฒนาศูนย์พัฒนาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษา ERIC Networking Center ครบทุกอำเภอ ปัจจุบันมี 878 ศูนย์ • จัดสรรงบประมาณเพื่อพัฒนา ศูนย์ และจัดกิจกรรมพัฒนาครู และนักเรียนในอำเภอ • จัดอบรมประจำปีเพื่อพัฒนา ครูผู้ประสานงานศูนย์ฯ

  30. ภายใน ปี 2558 สถานศึกษาและหน่วยงานในสังกัด ศธ.พัฒนาผู้เรียน บุคลากรและกลุ่มเป้าหมาย ให้สามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้ตามระดับที่กำหนด เป้าหมาย ประชาชนตระหนักและตื่นตัวใช้ภาษา อังกฤษมากขึ้น ขยายฐานความร่วมมือภาครัฐและเอกชน ศธ.มีเป้าหมายและกรอบเวลา นักเรียน/นักศึกษา/บุคลากร ใช้ภาษา อังกฤษมากขึ้น ทุกกลุ่มเป้า หมายเข้าถึง แหล่งเรียนรู้ ภาษาอังกฤษ มากขึ้น กำหนดระดับความสามารถทางภาษาอังกฤษ

  31. เป้าหมายและกิจกรรม 1.ศธ.มีเป้าหมายและกรอบเวลาชัดเจนในการพัฒนาการสื่อสารภาษาอังกฤษ ศธ.ประกาศเป็นนโยบายให้ทุกองค์กรหลักพัฒนาการสื่อสารภาษาอังกฤษแก่บุคลากรและกลุ่มเป้าหมาย TEXT TEXT TEXT องค์กรหลักวิจัย/ ใช้ผลการวิจัย ในการกำหนดนโยบาย การขับเคลื่อนนโยบาย และการวิจัยประเมินโครงการ องค์กรหลักของ ศธ. กำหนดนโยบาย เป้าหมาย และตัวชี้วัด กำหนดใน แผนงบประมาณ และแผนปฏิบัติการ องค์กรหลักของ ศธ. กำหนดโครงสร้าง และกลไกการขับเคลื่อน ติดตาม และรายงาน

  32. เป้าหมายและกิจกรรม 2.กำหนดกำหนดระดับความสามารถด้านภาษาอังกฤษเพื่อใช้กำหนดคุณสมบัติ / สำหรับผู้จบการศึกษาระดับต่าง ๆ ผู้ประกอบวิชาชีพ และประชาชนผู้สนใจ 1.สร้างการยอมรับการกำหนดระดับความสามารถในการสื่อสารภาษาอังกฤษ 2.ผลักดันให้เป็นคุณสมบัติผู้จบการศึกษาทั้งในและนอกระบบการศึกษาทุกระดับ และผู้ประกอบวิชาชีพ TEXT TEXT TEXT ผลักดัน ระเบียบ ข้อบังคับ ให้ภาษาอังกฤษเป็นส่วนหนึ่งของการบรรจุ คัดเลือก ความก้าวหน้า วิจัยเปรียบเทียบการกำหนดระดับความสามารถทางภาษาอังกฤษของประเทศในอาเซียนและกลุ่มประเทศอื่น เพิ่มมาตรฐานความสามารถทางภาษา อังกฤษในมาตรฐาน การประกันคุณภาพการศึกษา ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียร่วมกำหนดระดับความสามารถทางภาษาอังกฤษ เชิญชวนให้บุคคลทั่วไปประเมินตนเองและเทียบเคียงระดับความสามารถในการสื่อสารภาษาอังกฤษ

  33. เป้าหมายและกิจกรรม 3. ประชากรวัยเรียน/บุคลากรในสถานศึกษา/สำนักงานของราชการใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารมากขึ้น -เพิ่มโอกาสการใช้ภาษาอังกฤษ -สร้างสภาพแวดล้อมทางภาษาอังกฤษ TEXT TEXT TEXT จัดกิจกรรมส่งเสริม สร้าง แรงจูงใจ จัดค่าย แข่งขันแลกเปลี่ยนครู นร. กับ นานาชาติ วิจัยพัฒนา สื่อ หลักสูตร Learning Object แหล่งเรียนรู้บน internet และ application ต่าง ๆ ส่งเสริมสถานศึกษาจัดบรรยากาศ จัดกิจกรรมกระตุ้นการพูดภาษาอังกฤษ และการเรียนรู้ด้วยตนเอง วิจัยและพัฒนา และขยายผลรูปแบบการสอน English Bilingual Education พัฒนาครู ครูวิชาอื่น ๆ ให้ใช้ภาษา อังกฤษในการสอน ใช้สองภาษา(อังกฤษ-ไทย) ให้ข้อมูล ประกาศในโรงเรียน และ สถานที่ราชการ

  34. เป้าหมายและกิจกรรม 4. ทุกกลุ่มเป้าหมายมีโอกาสเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพิ่มขึ้น เพิ่มช่องทางการเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ภาษาอังกฤษที่เรียนได้ด้วยตนเอง TEXT TEXT TEXT สร้างสรรค์กิจกรรมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษสำหรับวัย กลุ่มอาชีพต่าง ๆ ผ่านสื่อมวลชน ระบบการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษผ่านระบบอินเตอร์เน็ท คัดสรรแหล่งเรียนรู้ภาษาอังกฤษรูปแบบอื่น ๆ เผยแพร่ สร้างความร่วมมือกับหน่วยงานและองค์กรต่าง ๆ จัดแหล่งเรียนรู้ทั้งศูนย์สอนภาษา อบรม

  35. เป้าหมายและกิจกรรม ขยายฐานความร่วมมือระหว่าง หน่วยงานรัฐ เอกชน พัฒนาการสื่อสารภาษาอังกฤษและจัดการความรู้ 1. แสวงหาหน่วยงานรัฐ เอกชน องค์กรที่มีความเชี่ยวชาญร่วมมือพัฒนาการสื่อสารภาษาอังกฤษ 2. ใช้องค์ความรู้ทั้งจากการวิจัยและการปฏิบัติเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงาน TEXT TEXT TEXT สนับสนุนการนำเสนอผลการวิจัยเป็นภาษาอังกฤษ การวิจัยพัฒนาการสื่อสารภาษาอังกฤษและการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้กับนานาชาติ การสร้างข้อตกลงความร่วมมือระหว่าง หน่วยงาน รัฐ และ เอกชน องคืกรต่าง ๆ ส่งเสริมการใช้กระบวนการวิจัย/ผลการวิจัย และการจัดการความรู้

  36. เป้าหมายและกิจกรรม ภาคประชาชน ตระหนัก และตื่นตัวเรื่องการใช้ภาษาอังกฤษ การประชาสัมพันธ์ที่ต่อเนื่องส่งผลรวดเร็ว และในวงกว้าง TEXT TEXT TEXT หาตัวแบบ ที่จูงใจ หลาย ๆ แบบเหมาะกับกลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ สร้างทัศนคติที่ดี ต่อ ภาษาอังกฤษประชาสัมพันธ์ ผ่านช่องทาง ต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง

  37. สถาบันภาษาอังกฤษดำเนินการวิจัยรูปแบบการสอนสองภาษาสถาบันภาษาอังกฤษดำเนินการวิจัยรูปแบบการสอนสองภาษา • รูปแบบการจัดการเรียนการสอนสองภาษา (อังกฤษ-ไทย) ในโรงเรียนสังกัด สพฐ. ที่ สภษ. ดำเนินการวิจัย ได้แก่ ๑) EBE (English Bilingual Education) ๒) MEP (Mini-English Program) ๓) EP (English Program) ๔) IP (International Program)

  38. ๑. รูปแบบ EBE (English Bilingual Education) • เพิ่มแรงจูงใจและ เพิ่มโอกาสให้นักเรียน และครูใช้ภาษาอังกฤษ • สำหรับ ป. ๑ - ป. ๖ • จัดในโรงเรียนสภาพทั่วๆ ไปขนาดกลาง และขนาดเล็ก • จัดสอนสองภาษาในวิชาวิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา (ยกเว้นประวัติศาสตร์และศาสนา) ศิลปะ • ครูที่ไม่ใช่ครูสอนภาษาอังกฤษเข้าอบรมการออกเสียง (phonics) การใช้ภาษาอังกฤษในชั้นเรียน(classroom languages) กระบวนการสอนและการประเมินผล • ผู้ปกครองไม่ต้องจ่ายค่าใช้จ่ายเพิ่ม • ผลที่เกิดขึ้นนักเรียนใช้ภาษาอังกฤษอย่างคล่องแคล่ว ครูกล้าใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสาร

  39. ทำให้ครูและนักเรียนใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารในชั้นเรียน คำศัพท์และประโยคพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาที่เรียน ครูใช้คำสั่งในการจัดกลุ่ม ขั้นตอนการทำงานมากขึ้นได้เรียนรู้ การเปิดหนังสือคำชม และข้อมูลป้อนกลับ ฯลฯ เป็นภาษาอังกฤษ

  40. ๒ รูปแบบ MEP (Mini-English Program) • ระดับปฐมวัย- มัธยมศึกษาตอนปลาย • เพื่อกระตุ้นนักเรียนให้ใช้ภาษาอังกฤษอย่างเข้มข้น • มีทักษะภาษาอังกฤษเทียบเคียงระดับกับมาตรฐานของต่างประเทศ ผลสัมฤทธิ์สูงกว่าค่าเฉลี่ยที่กำหนด • หลักสูตรสถานศึกษาจัดเข้มกว่าปกติ จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรด้านภาษาอังกฤษ และด้านวิชาการ • นร. เรียนวิชาต่าง ๆ เป็นภาษาอังกฤษอย่างน้อย ๑๕ ชั่วโมง • มีครูชาวต่างขาติเจ้าของภาษา/หรือคุณสมบัติเทียบเท่าเป็นผู้สอน • นักเรียนหนังสือ สื่อ และสื่อ ICT เป็นภาษาอังกฤษ • ผู้ปกครองสนับสนุนค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมตามประกาศ ศธ. • ผลที่เกิดขึ้น นักเรียนเก่งภาษา และด้านวิชาการ เป็นตัวแทนแข่งขัน ร่วมกิจกรรมทางภาษา กิจกรรมร่วมกับนานาชาติ ฯลฯ

  41. ๓. EP (English Program) • เพื่อส่งเสริมและพัฒนาต่อยอดเข้มข้นกว่า MEP • จัดระดับปฐมวัย- มัธยมศึกษาตอนปลาย • นักเรียนมีทักษะภาษาอังกฤษเทียบเคียงกับมาตรฐานของต่างประเทศ ผลสัมฤทธิ์สูงตามที่กำหนด • เรียนเป็นภาษาอังกฤษไม่น้อยกว่าสัปดาห์ละไม่น้อยกว่า ๑๘ ชั่วโมง • พัฒนาโลกทัศน์ความเป็นสากล ผ่านการเรียนการสอน ปฏิสัมพันธ์ในชั้นเรียน และกับครูชาวต่างชาติ รวมทั้งบรรยากาศการใช้ภาษาอังกฤษ • ใช้ สื่อ ICT การพัฒนาทักษะ ICT ของนักเรียนและการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรต่าง ๆ • โรงเรียนสามารถระดมทรัพยากรจากผู้ปกครองเป็นค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมในการจัดการเรียนการสอนตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ

  42. ๔. IP (International Program) • มุ่งจัดการเรียนการสอนให้ได้คุณภาพของโรงเรียนนานาชาติ • ต่อยอดจากโปรแกรม EP โดยที่นอกจากจัดการเรียนการสอนรายวิชาต่าง ๆ เป็นภาษาอังกฤษ การจัดกิจกรรมเสริมด้านภาษาแล้วเน้นการเรียนวิชาต่าง ๆ รวมทั้งวิชาภาษาอังกฤษที่กำหนดไว้สำหรับผู้ที่จะได้รับประกาศนียบัตรตามหลักสูตรของต่างประเทศ เช่น General Certificate of Secondary Education (IGCSE) • ทำความร่วมมือกับโรงเรียน/โปรแกรมของต่างประเทศ • นักเรียนจะได้รับประกาศนียบัตร 2หลักสูตร คือทั้งของไทยและของต่างประเทศ • ผู้ปกครองสนับสนุนค่าใช้จ่ายมาก

  43. รูปแบบ EIS (English Integrated Studies) • กลุ่มผู้สนใจ ผู้บริหาร/ ครูร่วมกันพัฒนาขึ้น • เพื่อเพิ่มทักษะภาษาอังกฤษของนักเรียน • เรียน มีการจัดการเรียนการสอนทั้งระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา • ครูไทยสอนวิชาต่าง ๆ โดยใช้ภาษาอังกฤษเบื้องต้นในการสื่อสารกับนักเรียน และใช้ภาษาไทยอธิบายเนื้อหาที่ซับซ้อน • ครูใช้สื่อการสอนภาษาอังกฤษ และสื่อ ICT ต่าง ๆ จาก internet • สพฐ. สนับสนุนครูด้านการพัฒนาทักษะการออกเสียง การสื่อสารเป็นภาษาอังกฤษในชั้นเรียน อบรมผู้บริหาร • ผู้ปกครองสนับสนุนค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมบางส่วน

  44. สรุปจำนวนโรงเรียนที่จัดการเรียนการสอนสองภาษา และและนักเรียน สังกัด สพฐ. ปีการศึกษา 2556

More Related