1 / 18

โครงการพัฒนาบุคลากรและทีมบริหารด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล

โครงการพัฒนาบุคลากรและทีมบริหารด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล. โรงพยาบาล ลดละ. คณะกรรมการโรงพยาบาล “ลดละ ”. ที่ปรึกษา : อาจารย์ภูมิศิลป์ พละพลีวัลย์. ประธานคณะกรรมการอนุรักษ์พลังงาน. เลขาฯ. อาจารย์ที่ปรึกษา. คุณทรงเดช สารศรี. อ. ภูมิศิลป์ พละพลีวัลย์.

uma-marks
Download Presentation

โครงการพัฒนาบุคลากรและทีมบริหารด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงการพัฒนาบุคลากรและทีมบริหารด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาลโครงการพัฒนาบุคลากรและทีมบริหารด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล โรงพยาบาล ลดละ

  2. คณะกรรมการโรงพยาบาล “ลดละ” ที่ปรึกษา : อาจารย์ภูมิศิลป์ พละพลีวัลย์

  3. ประธานคณะกรรมการอนุรักษ์พลังงานประธานคณะกรรมการอนุรักษ์พลังงาน เลขาฯ อาจารย์ที่ปรึกษา คุณทรงเดช สารศรี อ. ภูมิศิลป์ พละพลีวัลย์ ร.อ.ญ.ทิวาพร นิติวรรัตน์ คณะกรรมการอนุรักษ์พลังงาน ฝ่ายสิ่งแวดล้อม ฝ่ายวิชาการ ฝ่ายประชาสัมพันธ์ ฝ่ายวิศวกรรมและเทคโนโลยี ฝ่ายบริหารจัดการเชื้อเพลิง น.อ.ท.มาโนช มีบำรุง คุณภภรกัญ บารมีพิทักษ์ คุณสำเริง แสงจันทร์ คุณลัดดา เอี่ยมกลิ่น คุณชาลี คงทรัพย์ คุณวุฒิชัย กาญจนสูตร คุณสมบัติ พรหมณี คุณยิ่งลักษณ์ รัตทะทาดา คุณสุรศักด์ แก่นจันทร์ พ.จ.อ.สุชาติ พัดเย็น คุณสมภพ มูลศรี คุณสมศักดิ์ สุนทรภักดิ์ คุณศุภิสรา อ่วมวงษ์

  4. ลดการใช้พลังงานทุกประเภทและใช้อย่างประหยัดพลังงานปี 2555 ต่ำกว่าปี 2554 ได้อย่างน้อย 10% และเป็นเรื่องสำคัญที่ทุกคนต้องถือปฏิบัติ 1. เผยแพร่นโยบายให้ทุกคนรับทราบและมีส่วนร่วมอย่างทั่วถึง โดยให้การอนุรักษ์พลังงานเป็นส่วนหนึ่งของโรงพยาบาล กำหนดแนวทางในการปรับปรุงประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง ดำเนินการและพัฒนาวิธีการจัดการพลังงานอย่างเหมาะสมและเป็นไปตามกฎหมาย กำหนดแนวทางในการจัดสรรทรัพยากรอย่างพอเพียง โดยไม่กระทบต่อคุณภาพการบริการ นโยบายอนุรักษ์พลังงานของ รพ.ลดละ 2. 3. 4. 5.

  5. ผังพื้นที่รับผิดชอบ CCU.

  6. ผลการวิเคราะห์ด้วย EMM      

  7. ผลการวิเคราะห์ด้วย EMM 4.ระบบข้อมูลข่าวสาร จุดแข็ง มีการเก็บข้อมูลจำนวนมากครบถ้วน จุดที่พัฒนาได้ กำหนดช่องทางการสื่อสารข้อมูลระหว่างผู้ปฏิบัติกับ หน.หน่วย อย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง เพื่อนำข้อมูลมาวิเคราะห์ วางแผน ดำเนินงาน และประเมินผลเป็นระยะร่วมกัน 

  8. ผลการวิเคราะห์ด้วย EMM 6.การลงทุน จุดแข็ง มีงบประมาณสนับสนุนจากส่วนกลาง(ภาครัฐ) จุดที่พัฒนาได้ ระยะสั้น - อุปกรณ์ที่ต้นทุนต่ำหรือเร่งด่วน ระยะยาว - อุปกรณ์ที่มีต้นทุนสูงแบ่งเป็นช่วงเวลา ๓ ปี ๕ ปี ๑๐ ปี 

  9. นโยบายการจัดการพลังงานนโยบายการจัดการพลังงาน ทบทวนนโยบายให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบันอย่างเหมาะสมและเป็นไปตามกฎหมาย 1. การประชาสัมพันธ์ กำหนดแผนและช่องทางในการเผยแพร่ผลสำเร็จของโครงการ สู่บุคลากรในองค์กรทุกระดับ เพื่อให้มีการนำไปปฏิบัติอย่างทั่วถึง การจัดการองค์กร หมุนเวียนบุคลากรร่วมเป็นกรรมการ/คณะทำงานในตำแหน่ง ต่างๆ การกระตุ้นและสร้างแรงจูงใจ พัฒนาความรู้/ทักษะ/ศักยภาพของบุคลากรอย่างสม่ำเสมอ สร้างบุคคลต้นแบบ ผลการวิเคราะห์ด้วย EMM-จุดแข็ง 2. 3. 5.

  10. มาตรการและการคำนวณผลประหยัดมาตรการและการคำนวณผลประหยัด ผลสำรวจ : หม้อต้มน้ำปรับอุณหภูมิที่ 110 องศาฯ พิกัดกำลังไฟฟ้า = 2400 watt. เปอร์เซ็นต์การทำงาน = 50 % เวลาทำงาน = 6 ชั่วโมง/วัน วันทำงาน = 365 วัน/ปี ก่อนกำหนดมาตรการ ใช้พลังงาน 2628 หน่วย/ปี • มาตรการด้านเทคนิคและการประชาสัมพันธ์ • 1.ปรับอุณหภูมิที่ 100 องศา ซ. • (เปอร์เซ็นต์การทำงาน = 30 %) • 2. กำหนดเป็นระเบียบปฏิบัติให้ทุกหน่วย ผลประหยัด พลังงานไฟฟ้า = ( 2400 x 6 x 0.3 x 365 ) / 1000 = 1576.8 หน่วย/ปี อัตราค่าไฟฟ้า = 3.4 บาท/หน่วย ค่าไฟฟ้าที่ประหยัดได้ = 2628 – 1576.8 = 1051.2 x 3.4 = 3574.08 บาท/ปี

  11. มาตรการและการคำนวณผลประหยัดมาตรการและการคำนวณผลประหยัด ผลสำรวจ : ปรับอุณหภูมิ เครื่องปรับอากาศที่ 20 องศา ซ. พิกัดกำลังไฟฟ้า = 1200 watt. เปอร์เซ็นต์การทำงาน = 100 % เวลาทำงาน = 8 ชั่วโมง/วัน วันทำงาน = 365 วัน/ปี ก่อนกำหนดมาตรการ ใช้พลังงาน 3504 หน่วย/ปี • มาตรการด้านเทคนิคและการประชาสัมพันธ์ • 1. ปรับอุณหภูมิที่ 25 องศา ซ. (เปอร์เซ็นต์การทำงาน 80 %) • 2. มีการตรวจสอบอย่างสม่ำเสมอ • 3. เผยแพร่ความสูญเสียในการตั้งอุณหภูมิที่ไม่เหมาะสม ผลประหยัด พลังงานไฟฟ้า = ( 1200 x 8 x 0.8 x 365 ) / 1000 = 2803.2 หน่วย/ปี อัตราค่าไฟฟ้า = 3.4 บาท/หน่วย ค่าไฟฟ้าที่ประหยัดได้ = 3504 – 2803.2 = 700.8 x 3.4 = 2,382.72 บาท/ปี

  12. มาตรการและการคำนวณผลประหยัดมาตรการและการคำนวณผลประหยัด ผลสำรวจ : ตู้เย็นแช่ของมากเกินความจำเป็น 1ตู้ พิกัดกำลังไฟฟ้า = 200 watt. เปอร์เซ็นต์การทำงาน = 50 % เวลาทำงาน = 24 ชั่วโมง/วัน วันทำงาน = 365 วัน/ปี ก่อนกำหนดมาตรการ ใช้พลังงาน 876 หน่วย/ปี • มาตรการด้านเทคนิคและการประชาสัมพันธ์ • 1. กำหนดรายการและชนิดสิ่งของที่ใช้แช่สูงสุดไว้ • 2. ตั้งค่าความเย็นที่เหมาะสมกับสิ่งของที่แช่ในตู้เย็น • (เปอร์เซ็นต์การทำงาน = 30 %) • 3. เผยแพร่ผลเสีย(อย่างสร้างสรรค์)ที่เกิดขึ้นผ่านสื่อต่างๆใน รพ. ผลประหยัด พลังงานไฟฟ้า = ( 200 x 24 x 0.3 x 365 ) / 1000 = 525.6 หน่วย/ปี อัตราค่าไฟฟ้า = 3.4 บาท/หน่วย ค่าไฟฟ้าที่ประหยัดได้ = 876 - 525.6 = 350.4 x 3.4 = 1,191.36 บาท/ปี

  13. มาตรการและการคำนวณผลประหยัดมาตรการและการคำนวณผลประหยัด ผลสำรวจ : เปิดเครื่องปรับอากาศแล้วเปิดประตูทิ้งไว้ พิกัดกำลังไฟฟ้า = 1200 watt. เปอร์เซ็นต์การทำงาน = 90 % เวลาทำงาน = 8 ชั่วโมง/วัน วันทำงาน = 365 วัน/ปี ก่อนกำหนดมาตรการ ใช้พลังงาน 3153.6 หน่วย/ปี • มาตรการด้านเทคนิคและการประชาสัมพันธ์ • 1. ติดตั้งโช๊คประตู (เปอร์เซ็นต์การทำงาน = 80 %) • 2. รณรงค์เมื่อเปิดแอร์ต้องปิดประตูทุกครั้ง ผลประหยัด พลังงานไฟฟ้า = ( 1200 x 8 x 0.8 x 365 ) / 1000 = 2803.2 หน่วย/ปี อัตราค่าไฟฟ้า = 3.4 บาท/หน่วย ค่าไฟฟ้าที่ประหยัดได้ = 3153.6 – 2803.2 = 350.4 x 3.4 = 1,191.36 บาท/ปี

  14. มาตรการและการคำนวณผลประหยัดมาตรการและการคำนวณผลประหยัด ผลสำรวจ : หลอดไฟฮาโลเจน ขนาด 50 watt พิกัดกำลังไฟฟ้า = 50 watt. เปอร์เซ็นต์การทำงาน = 100 % เวลาทำงาน = 8 ชั่วโมง/วัน วันทำงาน = 365 วัน/ปี ก่อนกำหนดมาตรการ ใช้พลังงาน 146 หน่วย/ปี • มาตรการด้านเทคนิคและการประชาสัมพันธ์ • 1. เปลี่ยนเป็นหลอดLED 5 watt • (เปอร์เซ็นต์การทำงาน = 100 %) • 2. เผยแพร่ข้อมูลของหลอดไฟฟ้า LED เทียบกับประเภทอื่น ผลประหยัด พลังงานไฟฟ้า = ( 5 x 8 x 1 x 365 ) / 1000 = 14.6 หน่วย/ปี อัตราค่าไฟฟ้า = 3.4 บาท/หน่วย ค่าไฟฟ้าที่ประหยัดได้ = 146 – 14.6 = 131.4 x 3.4 = 446.76 บาท/ปี

  15. สำรวจความต้องการอุปกรณ์ทั้งองค์กรเพื่อนำเสนอพิจารณาจัดซื้อจัดจ้างในคราวเดียวกันสำรวจความต้องการอุปกรณ์ทั้งองค์กรเพื่อนำเสนอพิจารณาจัดซื้อจัดจ้างในคราวเดียวกัน 1 นำผลสำเร็จในการประหยัดพลังงานไปสู่การปฏิบัติในครอบครัวและชุมชน 2 มาตรการอื่นๆ

  16. แผนการดำเนินงาน

  17. การเลือกซื้ออุปกรณ์ที่มีประสิทธิภาพในการประหยัดพลังงานการเลือกซื้ออุปกรณ์ที่มีประสิทธิภาพในการประหยัดพลังงาน นำเทคนิคการใช้อุปกรณ์ที่มีประสิทธิภาพ ในการประหยัดพลังงาน รู้ถึงการกำกับติดตามการดำเนินการเพื่อให้การ ลดใช้พลังงานประสบผลสำเร็จ นำความรู้เรื่อง EMM ไปประเมินสถานภาพการจัดการพลังงานในองค์กร เพื่อนำไปพัฒนา 1 3 4 5 การควบคุมระยะเวลาในการใช้ไฟฟ้าเพื่อการประหยัดพลังงาน 2 สิ่งที่ได้รับจากการอบรม

  18. สมาชิกกลุ่มที่ 6 “ลดละ” ขอบคุณ

More Related