1 / 35

บ้านโนนตาล ตำบลมะค่า อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม

บ้านโนนตาล ตำบลมะค่า อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม. บ้านโนนตาลเป็นแหล่งอาหารที่สมบูรณ์ เกื้อหนุนพระพุทธศาสนา รักษาวัฒนธรรม จารีต ประเพณี สามัคคีร่วมใจพัฒนา ประ ช าธิป ไตรเป็นเลิศ. คำขวัญบ้านโนนตาล.

tyrone-bean
Download Presentation

บ้านโนนตาล ตำบลมะค่า อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บ้านโนนตาลตำบลมะค่า อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม

  2. บ้านโนนตาลเป็นแหล่งอาหารที่สมบูรณ์บ้านโนนตาลเป็นแหล่งอาหารที่สมบูรณ์ เกื้อหนุนพระพุทธศาสนา รักษาวัฒนธรรม จารีต ประเพณี สามัคคีร่วมใจพัฒนา ประชาธิปไตรเป็นเลิศ คำขวัญบ้านโนนตาล

  3. บ้านโนนตาล หมู่ ๙ ตำบลมะค่า อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม เดิมทีนั้นมีคนอพยพกลุ่มแรกเข้ามาอยู่อาศัยนำโดยมหาชัย จำนงนิตย์ อพยพมาจากบ้านไผ่เมื่อจับจองที่ทำกิน ด้วยเห็นว่าทำเลแห่งนี้อุดมสมบูรณ์ เหมาะแก่ความสามารถของตนเองซึ่งถนัดในด้านการเกษตร จากนั้นมีผู้คนอพยพข้ามาอยู่อาศัยมากขึ้น เมื่อราวพุทธศักราช 2453 ด้วยสารเหตูที่มีต้นตาลและกระต่ายชุกชุมชาวบ้านจึงเรียกว่า “โนนขี้กระต่าย” ภายหลังทางราชการจึงเปลี่ยนชื่อใหม่ว่า “บ้านโนนตาล ” ราวพุทธศักราช 2505 ต่อมาได้มีการสร้างวัด และโรงเรียนขึ้นในชุมชน ชาวบ้านได้พากันพัฒนาขึ้นมาเรื่อย ๆ ประวัติหมู่บ้านโนนตาล

  4. จนได้รับการสนับสนุนจากองค์กรต่างๆทั้งภาครัฐและเอกชน หน่วยงานราชการต่างทำให้เกิดสาธารณูปโภคกลายเป็นชุมชนที่เข็มแข็ง เมื่อราวปีพุทธศักราช 2511ทางสำนักพุทธศาสนาและสำนักงานที่ดินได้ออกสำรวจวัด เพื่อจะได้จดทะเบียนวัดเป็นทางการ ในสมัยนั้นมีเจ้าอาวาสประจำวัดชื่อ เรือง ชาวบ้านจึงตั้งชื่อวัดว่า วัดตาลเรืองเดิมทีมีเนื้อที่ 7ไร่ 2งาน 80ตารางวา ต่อมาเมื่อพุทธศักราช 2550นายดาวเรือง ภูบังไม้ เป็นผู้ใหญ่บ้าน คุณยายหนวน ทิพย์โยธา พร้อมรู้หลานได้บริจาคที่ดินที่ติดกับรั้ววัดให้กับวัดตาลเรือง แต่เหลืออีกส่วนหนึ่งซึ่งติดกัน ต่อมาคณะกรรมการและชาวบ้านได้ขอชื้อเป็นเงิน 30000บาท เพื่อถวายวัดบ้านตาลเรืองด้วยเหตุนี้วัดจึงมีพื้นที่เพิ่มเป็น 8 ไร่ ประวัติหมู่บ้านโนนตาล (ต่อ )

  5. บ้านโนนตาลหมู่ที่ 9 ตำบลมะค่า อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม มีพื้นที่ทั้งหมด 1845 ไร่ เป็นที่อยู่อาศัย 171 ไร่พื้นที่ทำการเกษตร 1670 ไร่ที่สารธารณะประโยชน์ 4 ไร่ลักษณะหมู่บ้านมีพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นราบลุ่มเป็นทุ่งนาส่วนใหญ่ ห่างจากแม่น้ำชีเพียง 2 กิโลเมตรห่างจากที่ว่าการอำเภอกันทรวิชัย 11 กิโลเมตรมีห้วยหนองครองบึง อยู่หลายแห่งโดยรอบหมู่บ้าน ทิศเหนือ จรดกับบ้านมะค่ะมีแหล่งน้ำคือลำห้วยกุดกว้างและหนองอีปาน ทิศใต้ จรดกับโขงใหญ่และแม่น้ำชีมีแหล่งน้ำคือ กุดไส้ไก่ ทิศตะวันออก จรดกับบ้านกุดเวียน มีแหล่งน้ำคือ กุดเวียนและหนองฝั่งชัน ทิศตะวันตก จรดบ้านเปลือยน้ำ สถานที่ตั้งบ้านโนนตาล

  6. แผนที่หมู่บ้าน

  7. จำนวนครัวเรือน 119 ครัวเรือน ประชากร 509 คน ชาย 244 หญิง 265 คน จำนวนผู้สูงอายุ 85 คน ผู้พิการ 8 คน ผู้ด้อยโอกาส 2คน ผู้จากไป - คน ผู้ประสบปัญหาตาม ( สย ) - คน ผู้ว่างงาน - คน ประชากรครัวเรือน

  8. - ไม่ได้เรียนหนังสือ – คน - ประถมศึกษา 123 คน - มัธยมศึกษา 65 คน - อนุปริญญา 25 คน - ปริญญาตรี 27 คน - สูงกว่าปริญญาตรี 2 คน สถานศึกษาบ้านโนนมี 2 แห่ง คือ - โรงเรียนบ้านโนนตาลกุดเวียนหนองหญ้าม้า - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านโนนตาล การศึกษา

  9. ภาคเกษตร ทำไร่ - ครัวเรือน ทำนา 91 ครัวเรือน ทำสวน 21 ครัวเรือน ทำเลี้ยงสัตว์ 19 ครัวเรือน ประมง 5 ครัวเรือน นอกภาคเกษตร ค้าขาย 20 ครัวเรือน บริการ - ครัวเรือน รับจ้าง 11 ครัวเรือน รับราชการ 6 ครัวเรือน ลูกจ้างเอกชน - ครัวเรือน ว่างงาน -ครัวเรือน ไปประกอบอาชีพที่อื่น - ครัวเรือน การประกอบอาชีพ

  10. สถานที่สำคัญในหมู่บ้านโรงเรียนบ้านโนนตาลกุดเวียนหนองหญ้าม้าสถานที่สำคัญในหมู่บ้านโรงเรียนบ้านโนนตาลกุดเวียนหนองหญ้าม้า

  11. 2. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านโนนตาล

  12. 3.วัดตาลเรือง

  13. 4. โรงผลิตปุ๋ยอินทรีย์

  14. 5.ที่ทำการผู้ใหญ่บ้าน

  15. 6.เสาหลักบ้าน

  16. การตัดเย็บเสื่อผ้าหรือปลอกหมอนจัดทำขึ้นเมื่อ 2550 ปกติได้ไปทำงานในกรุงเทพต่อมาเศรษฐกิจไม่ดีคนที่ไปทำงานด้วยกันจึงพลอยตกงานแล้วได้กับมาจัดตั้งกลุ่มตัดเย็บเสื่อผ้าหรือปลอกหมอนขึ้นมาเพื่อหารายได้และเวลาว่างก็จะทำนาปีและนาปังและจะจัดส่งเสื่อผ้าหรือปลอกหมอนที่ตัดเย็บอาทิตย์ละสองครั้งครั้งละ 200 ชิ้นรับจ้างทำของโรงงาน “สมชายเครื่องนอน” แลรับจ้างทั่วไปในหมู่บ้าน กลุ่มตัดเย็บเสื่อผ้า

  17. ในหมู่บ้านจะมี 2 กลุ่ม 1. กลุ่มตัดเย็บ 2. กลุ่มปลูกเห็ด เป็นกลุ่มธุรกิจส่วนตัว 1. กลุ่มปุ๋ยชีวภาพ 2. ปลูกผักสวนครัว หมู่บ้านนำร่องกองทุนแม่

  18. 1. อ บ ต. 2. หน่วยงานราชการอื่น หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

  19. อุปกรณ์1.ผ้าทำขอบหมอน

  20. 2.กรรไกรตัดผ้า

  21. 3.ดินสอ,ปากกา

  22. 4.เข็ม

  23. 5.ด้าย

  24. 6.ไม้บรรทัด

  25. 7.เข็มมุด

  26. 8.เหล็กแหลม

  27. 9.ไขควงใหญ่

  28. 10.ไขควงเล็ก

  29. 1. วางผ้าตัวหมอนและขอบให้เสมอกัน ใช้เข็มหมุดตรึงไว้เนาผ้า 2 ชิ้น ให้ติดกัน ดึงเข็มหมุดออกใช้ซอล์คขีดเส้นห่างจากริมผ้า 1/2 หรือ 1 เซนติเมตเย็บตะเข็บจริงด้วยวิธี ด้นถอยหลัง หรือ ด้นตะลุย ขั้นตอนการตัดเย็บเสื่อผ้า

  30. พับผ้ากันลุ่ย

  31. 2.กลับผ้าขอบ รีดตะเข็บให้เรียบ 3.พับกันลุ่ยแล้วเนาติดกลับผ้าผืนใหญ่ 4.เย็บตะเข็บด้นตะลุยเท่านั้น รีดให้เรียบดึงผ้าเนาออก 5.ผับครึ่งผ้า โดยเอาลายผ้าจริงไว้ข้างใน 6.เย็บตะเข็บจริงให้แน่นหนา โดยเย็บด้วยด้นตะลุย หรือ ด้นถอยหลังก็ได้ 7.เย็บมุมให้มันตั้งฉากกัน 8.กลับผ้าด้านถูกออก ใช้ปลายดินสอสอดมุมให้เรียบร้อย รีดให้เรียบแล้วเอาปลอกหมอนที่ทำเสร็ดแล้วนำมาไส่หมอนนำไปหนุนได้

  32. เย็บมุมผ้า

  33. หมอนที่ทำเสร็จแล้ว

  34. ค่ะขอขอบคุณค่ะ

More Related