1 / 29

Engineering Graphics II [WEEK4]

Engineering Graphics II [WEEK4]. การเชื่อม งานเชื่อมใน Solid Work. การเชื่อม (Welding). การเชื่อม. การเชื่อมมีวัตถุประสงค์เพื่อ “ ยึดต่อชิ้นงานอย่างถาวร ” การเชื่อมโลหะที่พบได้โดยทั่วไปประกอบด้วย 6 ประเภทใหญ่ๆ 1. การเชื่อมแก็ส (Gas Welding) 2. การเชื่อมไฟฟ้า (Arc Welding)

tuyet
Download Presentation

Engineering Graphics II [WEEK4]

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Engineering Graphics II [WEEK4] • การเชื่อม • งานเชื่อมใน Solid Work

  2. การเชื่อม (Welding)

  3. การเชื่อม • การเชื่อมมีวัตถุประสงค์เพื่อ “ยึดต่อชิ้นงานอย่างถาวร” • การเชื่อมโลหะที่พบได้โดยทั่วไปประกอบด้วย 6 ประเภทใหญ่ๆ 1. การเชื่อมแก็ส (Gas Welding) 2. การเชื่อมไฟฟ้า (Arc Welding) 3. การเชื่อมอัด (Press Welding, Resistance Welding) 4. การเชื่อม TIG (Tungsten Inert Gas Welding)

  4. การเชื่อม 5. การเชื่อม MIG (Metal Inert Gas Welding) 6. การเชื่อมใต้ฟลักซ์ (Submerged Arc Welding)

  5. การเชื่อมแก็ส การเชื่อมแก็สอาศัยความร้อนจากการเผาไหม้ระหว่างแก็สเชื้อเพลิงอะเซทิลีนกับออกซิเจน หลอมละลายโลหะให้ติดกันด้วยการเติมลวดเชื่อม (Filler Metal or Welding rod) หรืออาจให้เนื้อโลหะหลอมละลายติดกันเองโดยไม่เติมลวดเชื่อมก็ได้

  6. การเชื่อมไฟฟ้า การเชื่อมไฟฟ้าหรืออาจเรียกว่าการเชื่อมอาร์ค (Arc Welding) เกิดจากการนำความร้อนที่ใช้ในการเชื่อมจากการเกิดประกายอาร์คระหว่างชิ้นงานและลวดเชื่อม จะทำให้ลวดเชื่อมหลอมละลายเสมือนเป็นการป้อนเนื้อโลหะให้แก่รอยเชื่อม

  7. การเชื่อมอัด การเชื่อมอัดเป็นการอาศัยความร้อนจากความต้านทานไฟฟ้าและอัดให้ชิ้นงานติดกัน เนื่องจากหลักการเชื่อมนี้ทำให้มีชื่อเรียกหลายชื่อคือ Press Welding, Resistance Welding, Spot Welding เป็นต้น

  8. การเชื่อม TIG การเชื่อม TIG อาศัยความร้อนที่เกิดจากการอาร์คระหว่างลวดทังสเตนกับชิ้นงานเชื่อม โดยมีแก็สเฉื่อยปกคลุมบริเวณรอยเชื่อมทั้งหมดเพื่อไม่ให้อากาศภายนอกเข้ามาทำปฏิกริยาในบริเวณรอยเชื่อม

  9. การเชื่อม MIG การเชื่อม MIG อาศัยความร้อนที่เกิดจากการอาร์คระหว่างลวดเชื่อมกับชิ้นงาน ลวดเชื่อมที่ใช้เป็นโลหะเปลือยที่ส่งป้อนอย่างต่อเนื่อง โดยมีแก็สเฉื่อยปกคลุมบริเวณรอยเชื่อมทั้งหมดเพื่อไม่ให้อากาศภายนอกเข้ามาทำปฏิกริยาในบริเวณรอยเชื่อม

  10. การเชื่อมใต้ฟลักซ์ การเชื่อมใต้ฟลักซ์จะอาศัยความร้อนจากการอาร์คระหว่างลวดเชื่อมเปลือยกับชิ้นงาน โดยมีฟลักซ์ชนิดเม็ด (Granular Flux) ปกคลุมบริเวณอาร์ค ฟลักซ์ชนิดเม็ดที่อยู่ใกล้รอยเชื่อมจะหลอมละลายปกคลุมบริเวณที่ทำการเชื่อมเพื่อป้องกันอากาศภายนอกทำปฏิกริยา

  11. สัญลักษณ์ของรอยเชื่อมสัญลักษณ์ของรอยเชื่อม ลูกศร : ชี้บ่งตำแหน่งของรอยเชื่อม : สัญลักษณ์ให้ทำการเชื่อม ณ ที่ใช้งานจริง : ใช้บ่งบอกว่าเป็นแนวเชื่อมรอบชิ้นงาน

  12. ข้อกำหนดอื่นใดๆที่ต้องการบ่งชี้ข้อกำหนดอื่นใดๆที่ต้องการบ่งชี้ F = วิธีการแต่งผิว __= contour ของรอยเชื่อม A = Groove angle R = Root opening { } = สัญลักษณ์พื้นฐานของรอยเชื่อม T T N Groove angle contour N = Number of spot R F __ A สัญลักษณ์ของรอยเชื่อม

  13. L = ความยาวของรอยเชื่อม P = ระยะ pitch ของรอยเชื่อม (วัดจากศูนย์กลางรอยเชื่อม จนถึงศูนย์กลางรอยเชื่อมของรอยเชื่อมถัดไป) T N S = ขนาด Leg size reinforcement Leg size (S) Leg size (S) F __ A Throat แนวเชื่อม สัญลักษณ์ของรอยเชื่อม S L-P

  14. สัญลักษณ์ของรอยเชื่อมสัญลักษณ์ของรอยเชื่อม

  15. การเชื่อมมุม (Fillet Welding) • 5 mm คือ Leg size(S) ของรอยเชื่อม • 60 mm คือ ความยาวของรอยเชื่อม(L) • 200 mm คือ ระยะระหว่างจุดศูนย์กลางของรอยเชื่อม(P)

  16. การเชื่อมมุม (Fillet Welding)

  17. การเชื่อมมุม (Fillet Welding) • แสดงการเชื่อมเป็นวงรอบชิ้นงาน

  18. การเชื่อมมุม (Fillet Welding) ด้านล่างเส้น (Arrow side): แสดงลักษณะการเชื่อมด้านที่ลูกศรชี้ ด้านบนเส้น (Other side) : แสดงลักษณะการเชื่อมด้านที่อยู่ตรงข้ามลูกศรชี้

  19. การเชื่อมร่องราง (Groove or Butt Weld) แสดงสัญลักษณ์บ่งการเชื่อมร่องรางแบบต่างๆ (a) Square butt weld (b) Single V butt weld (c) Double V butt weld (d) Single bevel

  20. การเชื่อมร่องราง (Groove or Butt Weld) (a) T joint (b) U and J weld (c) Corner weld (d) Edge weld

  21. การเชื่อมร่องราง (Groove or Butt Weld)

  22. การเชื่อมร่องราง (Groove or Butt Weld)

  23. ข้อกำหนด < T

  24. โปรแกรม SolidWorks การเชื่อม (Welding)

  25. การแสดงสัญลักษณ์รอยเชื่อมในงานเขียนแบบการแสดงสัญลักษณ์รอยเชื่อมในงานเขียนแบบ เมื่อทำการวางภาพบนงานเขียนแบบเป็นที่เรียบร้อยแล้ว เมื่อเราต้องการแสดงสัญลักษณ์ของรอยเชื่อมตามหลักการข้างต้นทำได้โดยการเลือก Annotation -> Weld Symbol Weld Symbol จะขึ้นกับมาตรฐานที่ใช้ในงานเขียนแบบ ในที่นี้ให้เราตั้งเป็น ANSI

  26. การแสดงสัญลักษณ์รอยเชื่อมในงานเขียนแบบการแสดงสัญลักษณ์รอยเชื่อมในงานเขียนแบบ

  27. การแสดงรอยเชื่อมในชิ้นงานการแสดงรอยเชื่อมในชิ้นงาน • การสร้างรอยเชื่อมบนชิ้นงาน(Part) ทำได้โดยเริ่มจาก Insert -> Weldments • จากนั้นทำการสร้างชิ้นงานส่วนต่างๆจนเป็นที่พอใจแล้วให้กำหนด Insert -> Weldments -> Fillet Bead

  28. การแสดงรอยเชื่อมในชิ้นงานการแสดงรอยเชื่อมในชิ้นงาน

  29. การแสดงรอยเชื่อมในชิ้นงานการแสดงรอยเชื่อมในชิ้นงาน

More Related