1 / 28

สาระสำคัญในการกำหนดให้มี คณะกรรมการพิทักษ์ ระบบคุณธรรมในราชการพลเรือน ปรีชา นิศารัตน์

สาระสำคัญในการกำหนดให้มี คณะกรรมการพิทักษ์ ระบบคุณธรรมในราชการพลเรือน ปรีชา นิศารัตน์ ผู้อำนวยการสำนักพิทักษ์ระบบคุณธรรม สำนักงาน ก.พ. โทร . (02) 547 - 1672 (081) 829 - 0695. เดิม ก.พ.แต่งตั้งโดยฝ่ายบริหาร มีบทบาท 3 ด้าน

trevor
Download Presentation

สาระสำคัญในการกำหนดให้มี คณะกรรมการพิทักษ์ ระบบคุณธรรมในราชการพลเรือน ปรีชา นิศารัตน์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สาระสำคัญในการกำหนดให้มีคณะกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรมในราชการพลเรือนสาระสำคัญในการกำหนดให้มีคณะกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรมในราชการพลเรือน ปรีชา นิศารัตน์ ผู้อำนวยการสำนักพิทักษ์ระบบคุณธรรม สำนักงาน ก.พ. โทร . (02) 547 - 1672 (081) 829 - 0695

  2. เดิม ก.พ.แต่งตั้งโดยฝ่ายบริหาร มีบทบาท 3 ด้าน 1. ด้านนิติบัญญัติออกกฎ ระเบียบ หลักเกณฑ์ และ วิธีบริหารงาน (ต้องขอความเห็นชอบ จาก ค.ร.ม.) 2. ด้านบริหาร เป็นผู้จัดการฝ่ายบุคคลของฝ่ายบริหาร (ลูกมือฝ่ายบริหาร) 3. ด้านตุลาการ - ตีความวินิจฉัยปัญหาที่เกิดขึ้นจาก การใช้พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน - พิจารณาวินิจฉัยเรื่องอุทธรณ์ - พิจารณาวินิจฉัยเรื่องร้องทุกข์ (ผู้กำกับฝ่ายบริหาร)

  3. ใหม่ ก.พ. แต่งตั้งโดยฝ่ายบริหาร รับผิดชอบ - การจัดระบบทรัพยากรบุคคลต่างๆ - ดูแลค่าตอบแทน - การรักษาวินัยของข้าราชการ ก.พ.ค. แต่งตั้งจากการสรรหาขององค์กรปลอดการเมือง รับผิดชอบ - การพิจารณาเรื่องอุทธรณ์ - การพิจารณาเรื่องร้องทุกข์ - การคุ้มครองระบบคุณธรรม

  4. ผลดีของการจัดตั้งคณะกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรม (ก.พ.ค.) ความยุติธรรม 1. ก.พ.ค. มาจากการสรรหาขององค์กรปลอดการเมือง 2. แต่งตั้งจากผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้มีประสบการณ์ทางบริหาร (มืออาชีพ) 3. ทำงานเต็มเวลา 4. อยู่ในตำแหน่งวาระเดียว (6ปี) 5. ใช้ระบบไต่สวนโดย ก.พ.ค. 6. เดิมถูกลงโทษโดยมติ ก.พ. ให้อุทธรณ์ต่อ ก.พ.อีก เป็นให้ อุทธรณ์ต่อ ก.พ.ค. 7. เดิมเมื่ออุทธรณ์ ก.พ. แล้ว ก.พ.ต้องส่งให้นายกรัฐมนตรีสั่งการ (ไม่ปลอดการเมือง) เป็น ก.พ.ค.วินิจฉัยได้เอง

  5. ความเป็นธรรม เดิม โทษภาค / ตัด / ลด อุทธรณ์ต่อ อ.ก.พ.กระทรวง (วินิจฉัยไม่เป็นมาตรฐานเดียวกัน) เป็น อุทธรณ์ต่อ ก.พ.ค. ทุกสถานโทษ แห่งเดียว (เสมอหน้ากัน)

  6. ความรวดเร็ว 1. ลดขั้นตอนลง (1) เดิม ก.พ.พิจารณาแล้วต้องส่งนายกรัฐมนตรีสั่งการ หากเห็นแย้งต้องเสนอ ค.ร.ม.เป็น ก.พ.ค. มีอำนาจพิจารณาวินิจฉัยได้เอง (2) เดิม อุทธรณ์ ก.พ. ศาลปกครองชั้นต้น ศาลปกครองสูงสุด เป็น อุทธรณ์ต่อ ก.พ.ค. ศาลปกครองสูงสุด

  7. 2. ก.พ.ค. เป็นมืออาชีพ / ทำงานเต็มเวลา 3. แต่งตั้งคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์และคณะกรรมการวินิจฉัย เรื่องร้องทุกข์ช่วยพิจารณา 4. คณะกรรมการพิจารณาไต่สวนวินิจฉัยด้วยตนเอง โดยมีเจ้าหน้าที่ช่วยดำเนินการ

  8. เปรียบเทียบ พ.ร.บ. 2535 กับ พ.ร.บ. 2551 เกี่ยวกับเรื่องอุทธรณ์ เรื่องร้องทุกข์ และการพิทักษ์ระบบคุณธรรม

  9. กระบวนการอุทธรณ์และพิจารณาอุทธรณ์ พรบ. 2535 การอุทธรณ์ โทษไม่ร้ายแรง ภาค/ตัด/ลด โทษร้ายแรง คำสั่งลงโทษของ นรม./ รมต./ ปลัดกระทรวง สั่งตามมติ อ.ก.พ.กระทรวง (ไม่ร้ายแรง) ผู้พิจารณา คือ ก.พ. ผู้พิจารณา คือ อ.ก.พ.จังหวัด /กรม /กระทรวง การวินิจฉัยอุทธรณ์ ยกโทษ, เพิ่มโทษ, ลดโทษ, งดโทษ, แก้ไขเปลี่ยนแปลง เพื่อความถูกต้องตามกฎหมายและเกิดความเป็นธรรม การวินิจฉัยอุทธรณ์ ยกโทษ, เพิ่มโทษ, ลดโทษ, งดโทษ, แก้ไขเปลี่ยนแปลงเพื่อความถูกต้องตามกฎหมายและเกิดความเป็นธรรม รายงานนรม.เพื่อพิจารณาสั่งการ ไม่เห็นด้วยตามมติ ก.พ. ส่งให้ ครม. พิจารณา เห็นด้วยตามมติ ก.พ. ผบ. สั่ง/ปฏิบัติตามมติ อ.ก.พ. กรณีไม่เห็นด้วยกับ คำวินิจฉัยอุทธรณ์ให้ฟ้องต่อศาลปกครองชั้นต้น ผบ. สั่ง/ปฏิบัติตามคำสั่งนรม.

  10. กระบวนการอุทธรณ์และพิจารณาอุทธรณ์ พ.ร.บ. 2551 การอุทธรณ์ อุทธรณ์คำสั่งลงโทษ/สั่งให้ออก ผู้พิจารณา คือ ก.พ.ค. คกก. วินิฉัยอุทธรณ์ • ระยะเวลาพิจารณาอุทธรณ์ • 120 วัน • ขยายไม่เกิน 2 ครั้ง ครั้งละ ไม่เกิน 60 วัน (ม.118) • การวินิจฉัยของ ก.พ.ค. (ม. 120) • ไม่รับอุทธรณ์, ยกอุทธรณ์, มีคำวินิจฉัยให้แก้ไข / ให้ยกเลิกคำสั่งลงโทษ • เยียวยาความเสียหาย/ให้ดำเนินการอื่นใดเพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม • เพิ่มโทษไม่ได้ เว้นแต่ได้รับแจ้งจาก ก.พ. ผบ. สั่งภายใน 30 วัน นับตั้งแต่วันที่ ก.พ.ค. มีคำวินิจฉัย(ม.116) กรณีไม่เห็นด้วย ให้อุทธรณ์คำวินิจฉัยของ ก.พ.ค. ต่อศาลปกครองสูงสุด

  11. กระบวนการร้องทุกข์ พรบ. 2535 การร้องทุกข์และการพิจารณาวินิจฉัยร้องทุกข์ • เหตุเกิดจาก • นรม./ รมต./ ปลัดกระทรวง • กรณี ผบ. สั่งตามมติ อ.ก.พ.กระทรวง กรณีถูกสั่ง พักราชการ กรณีถูกสั่งให้ออก • เหตุเกิดจาก • ผู้บังคับบัญชา • ผวจ./อธิบดี ผู้พิจารณา คือ ก.พ. ผู้พิจารณา คือ อ..ก.พ.จังหวัด /กรม/กระทรวง • คำวินิจฉัยร้องทุกข์ • ยกคำร้องทุกข์, ให้แก้ไขโดยเพิกถอน/ยกเลิกการปฏิบัติที่ไม่ถูกต้องตามกม.ให้ดำเนินการด้วยประการอื่นเพื่อความถูกต้องเป็นธรรม • การวินิจฉัยร้องทุกข์ • ยกคำร้องทุกข์, ให้แก้ไขโดยเพิกถอน/ยกเลิกการปฏิบัติที่ไม่ถูกต้องตามกม.ให้ดำเนินการด้วยประการอื่นเพื่อความถูกต้องเป็นธรรม รายงาน นรม. พิจารณาสั่งการตามที่เห็นสมควร ผบ. สั่งและปฏิบัติตามมติ อ.ก.พ. ผบ. สั่งและปฏิบัติตามคำสั่งนรม. กรณีไม่เห็นด้วยกับคำวินิจฉัยร้องทุกข์ ให้ฟ้องต่อศาลปกครองชั้นต้น ฟ้องต่อศาลปกครองชั้นต้น กรณีไม่เห็นด้วยกับคำวินิจฉัยร้องทุกข์

  12. กระบวนการร้องทุกข์ ตาม พรบ. 2551 การร้องทุกข์และการพิจารณาวินิจฉัยร้องทุกข์ เช่น ไม่พ้นทดลอง,ขาดคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งอยู่ก่อน คับข้องใจเกิดจากการปฏิบัติ/ไม่ปฏิบัติของ ผบ. การสั่งให้ออกที่ไม่อาจอุทธรณ์ได้ • เหตุเกิดจาก • ผู้บังคับบัญชา • ผวจ./อธิบดี เหตุเกิดจาก นรม./ รมต./ ปลัดกระทรวง ผู้พิจารณา คือ ก.พ.ค. คกก. วินิจฉัยร้องทุกข์ ผู้พิจารณา คือ ผบ. เหนือชั้นขึ้นไป • การวินิจฉัยร้องทุกข์ • ไม่รับคำร้องทุกข์, ยกคำร้องทุกข์, ให้แก้ไขหรือเยียวยา, ให้ดำเนินการอื่นใดเพื่อประโยชน์แห่งความเป็นธรรม การวินิจฉัยร้องทุกข์ ไม่รับคำร้องทุกข์, ยกคำร้องทุกข์, ให้แก้ไขหรือ เยียวยา, ให้ดำเนินการอื่นใดเพื่อประโยชน์แห่งความเป็นธรรม กรณีไม่เห็นด้วยกับคำวินิจฉัยร้องทุกข์ ให้ฟ้องต่อศาลปกครองชั้นต้น

More Related