1 / 21

การนำองค์กรภาครัฐสู่การ พัฒนาคุณภาพ การบริหาร จัดการภาครัฐ ก.พ.ร. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

การนำองค์กรภาครัฐสู่การ พัฒนาคุณภาพ การบริหาร จัดการภาครัฐ ก.พ.ร. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข. Public Sector Management Quality Award กำหนดการ. กำหนดการ. กรอบการประเมินฯ ปี 2553 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ปัจจัยแห่งความสำเร็จ. กรอบการประเมินผลตัวชี้วัด

Download Presentation

การนำองค์กรภาครัฐสู่การ พัฒนาคุณภาพ การบริหาร จัดการภาครัฐ ก.พ.ร. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การนำองค์กรภาครัฐสู่การการนำองค์กรภาครัฐสู่การ พัฒนาคุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐ ก.พ.ร. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข

  2. Public Sector Management Quality Awardกำหนดการ กำหนดการ กรอบการประเมินฯ ปี 2553 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ปัจจัยแห่งความสำเร็จ

  3. กรอบการประเมินผลตัวชี้วัดกรอบการประเมินผลตัวชี้วัด การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ สำหรับส่วนราชการระดับกรม และจังหวัด ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553

  4. ตัวชี้วัดที่ 11 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (น้ำหนัก ร้อยละ 20)

  5. แนวทางการกำหนดผลลัพธ์หมวด 7

  6. ความสำเร็จกับคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐความสำเร็จกับคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ วิสัยทัศน์ พันธกิจ ประเด็นยุทธศาสตร์ • ปัจจัยภายนอก • เศรษฐกิจ สังคม • นโยบาย การเมือง OP:ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย ปัจจัยภายใน 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 7. ผลลัพธ์การ ดำเนินการ 1. การนำองค์กร 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้

  7. P. ลักษณะสำคัญขององค์กร P1. ลักษณะองค์กร P2. ความท้าทายต่อองค์กร ก. ลักษณะพื้นฐานของส่วนราชการ ข. ความสัมพันธ์ ภายในและภายนอกองค์กร ก. สภาพการแข่งขัน ข. ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์ ค. ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินการ 14 การปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงาน 15 แนวทางการเรียนรู้ขององค์กร 1 พันธกิจและการให้บริการ 1.1 พันธกิจ หน้าที่ 1.2 แนวทางวิธีการให้บริการ 2 ทิศทาง 2.1 วิสัยทัศน์ 2.2 เป้าประสงค์หลัก 2.3 วัฒนธรรม 2.4 ค่านิยม 3 ลักษณะโดยรวมของบุคลากร 4 เทคโนโลยี อุปกรณ์ สิ่งอำนวยความสะดวก 5 การดำเนินการภายใต้กฏหมาย 6 โครงสร้างองค์กร/การกำกับดูแลตนเองที่ดี 7 องค์กรที่เกี่ยวข้อง 8 กลุ่มผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 9 สภาพการแข่งขัน (คู่เทียบ) 10 ปัจจัยความสำเร็จในการแข่งขัน 11 ข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ 12 ข้อจำกัดด้านข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ • 13 ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์ • ด้านพันธกิจ • ด้านปฏิบัติการ • ด้านบุคลากร 7

  8. ระบบบริหารจัดการ • Approachแนวทางที่เป็นระบบทำซ้ำได้ ภายใต้ข้อมูลสารสนเทศที่น่าเชื่อถือ • Deploymentการถ่ายทอดสู่การปฎิบัติอย่างคลอบคลุม ทั่วถึง • Learning การติดตามประเมินผล สรุปบทเรียน ปรับปรุงและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ • Integration ความสอดคล้องระบบจัดการ ผลลัพธ์ที่ได้เป็น input ให้กระบวนการอื่นทำงานต่อ ผลลัพธ์ที่ได้ตอบเป้าองค์กร

  9. หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

  10. หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3.1 ความรู้เกี่ยวกับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3.2 ความสัมพันธ์และความพึงพอใจของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ก. ความรู้เกี่ยวกับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ข. การวัดความพึงพอใจของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ก.การสร้างความสัมพันธ์กับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • (25)4 การสร้างความสัมพันธ์เพื่อ • สนองความคาดหวัง • สร้างความประทับใจ • มีภาพลักษณ์ที่ดี • มีผู้ใช้บริการเพิ่มขึ้น • (26)5 การสร้างระบบที่ให้ผู้รับบริการ • 5.1การสร้างระบบที่ให้ผู้รับบริการ • และผู้มีส่วนได้เสียสามารถติดต่อ • ขอข้อมูล • ขอรับบริการ • ขอร้องเรียน • 5.2การกำหนดวิธีปฏิบัติของ • บุคลากรระบบติดตามการปฏิบัติ • (27)6 การจัดการข้อร้องเรียน • กระบวนการจัดการ • วิธีการแก้ไขที่ทันท่วงที • รวบรวมและวิเคราะห์เพื่อการปรับปรุง • (28)7 การทบทวนปรับปรุงการสร้างความสัมพันธ์ • ให้เหมาะสม • ทันสมัย • (29)8 การวัดความพึงพอใจและไม่พึงพอใจ • 8.1การวัดความพึงพอใจและไม่พึงพอใจ • ผู้รับบริการ • ผู้มีส่วนได้สวนเสีย • 8.2การนำข้อมูลไปใช้เพื่อ • สร้างความประทับใจ • ทำให้เกิดภาพลักษณ์ที่ดี • ปรับปรุงการทำงาน • (30)9 การติดตามเรื่องคุณภาพบริการ • ให้ได้ข้อมูลป้อนกลับทันท่วงที • นำไปใช้ต่อได้ • (31)10 การเปรียบเทียบข้อมูลความพึงพอใจ • ผู้รับบริการ • ผู้มีส่วนได้สวนเสีย • (32)11 การทบทวนปรับปรุงการวัดความพึงพอใจ • ให้เหมาะสม • ทันสมัย • (22)1 การจำแนกกลุ่มผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • ประเภท/กลุ่ม • การคำนึงถึงผู้รับบริการที่พึงมีในอนาคต • (23)2 การรับฟังและเรียนรู้ • 2.1 การรับฟังและเรียนรู้ความต้องการความคาดหวัง • 2.2 การนำข้อมูลไปใช้ในการวางแผนปฏิบัติปรับปรุง • (24)3 การทบทวนปรับปรุงการรับฟังและเรียนรู้ • ให้เหมาะสม • ทันสมัย CS4 CS1 CS 5 CS6 CS2 CS3 CS7 CS3

  11. หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย CS1 แบ่งกลุ่มผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย OP8 กลุ่มผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย SP2 จัดทำแผนปฏิบัติราชการ CS2 ช่องทางการรับฟังและเรียนรู้ ความต้องการ/ความคาดหวัง PM2 ข้อกำหนดที่สำคัญ CS3 ระบบการจัดการข้อร้องเรียน RM6จำนวนกระบวนการที่ได้รับ การปรับปรุงให้ผลลัพธ์ดีขึ้น CS4 การสร้างความสัมพันธ์ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย PM6 ปรับปรุงกระบวนการ CS5 การเปิดโอกาสให้ ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม CS6 วัดความพึงพอใจ และไม่พึงพอใจ RM3ร้อยละความสำเร็จของ การเปิดโอกาสให้ ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม PM5 กำหนดมาตรฐาน การปฏิบัติงาน CS7 กำหนดมาตรฐานการบริการ

  12. หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

  13. CS 1: การจำแนกกลุ่มผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

  14. การจำแนกกลุ่มผู้รับบริการ และเครื่องมือวิเคราะห์ผู้รับบริการ

  15. การจำแนกกลุ่มผู้รับบริการ (Customer Segmentation)

  16. เพื่อให้องค์การมีความรู้เกี่ยวกับกลุ่มผู้รับบริการโดยทราบว่าผู้รับบริการขององค์การคือใคร มีความต้องการความคาดหวัง อย่างไร ซึ่งจะนำไปสู่การกำหนดกระบวนการให้บริการ และปรับปรุงพัฒนาองค์การของหน่วยงานและองค์การภาครัฐ ให้สอดคล้องตรงตามความต้องการของผู้รับบริการในแต่ละกลุ่มต่อไป วัตถุประสงค์

  17. นิยาม • ผู้รับบริการ หมายถึง ผู้ที่มารับบริการจากองค์การโดยตรง หรือ ผ่านช่องทางการสื่อสารต่าง ๆ • ผู้รับบริการประกอบด้วย • ผู้รับบริการที่เป็นบุคคล • ผู้รับบริการที่เป็นองค์การ • ผู้รับบริการที่พึงมีในอนาคต

  18. 1 2 3 4 องค์การสามารถกำหนดกลุ่มเป้าหมายในการตอบสนองความต้องการ ความคาดหวังได้อย่างถูกต้อง ทำให้การดำเนินการขององค์การ มีทิศทางและเป้าหมายที่แน่นอนและชัดเจน ตามกลุ่มที่ได้จำแนก เป็นการเสริมสร้างความตื่นตัวให้กับบุคลากรขององค์การในการทราบความต้องการของผู้รับบริการอยู่เสมอ ทำให้เกิดการพัฒนาและปรับปรุงงานบริการให้ตอบสนองความต้องการ ความคาดหวังทั้งในปัจจุบันและอนาคต ประโยชน์

  19. ปัจจัยในการจำแนกกลุ่มผู้รับบริการปัจจัยในการจำแนกกลุ่มผู้รับบริการ ประชากรศาสตร์ ภูมิศาสตร์ อายุ เพศ ขนาดครอบครัว เชื้อชาติ อาชีพ รายได้ ภูมิภาค ประเทศ จังหวัด อำเภอ เขตเมือง จิตวิทยา พฤติกรรม มูลค่าทัศนคติความเชื่อวิถีในการดำเนินชีวิต ช่วงเวลาการใช้บริการ รูปแบบของการใช้บริการ ปัจจัยอื่นๆ เช่น • ประเภทของงานบริการ พันธกิจขององค์การ ช่องทางการให้บริการ • ลักษณะทางกฎหมาย เช่น บุคคล นิติบุคคล องค์การมหาชน และองค์การลักษณะอื่นๆ ตามกฎหมาย เป็นต้น

  20. การจำแนกกลุ่มผู้รับบริการการจำแนกกลุ่มผู้รับบริการ กรมการขนส่งทางบก • กลุ่มรถยนต์นั่งไม่เกิน 7 คน กลุ่ม รถยนต์ นั่งเกิน 7 คน และ รถบรรทุก กลุ่มรถรับจ้างและ รถบริการ กลุ่มรถจักรยานยนต์

  21. การจำแนกกลุ่มผู้รับบริการการจำแนกกลุ่มผู้รับบริการ • ธนาคารไทยพาณิชย์

More Related