1 / 20

รูป AIDS ZERO

รูป AIDS ZERO. ยุทธศาสตร์ป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์แห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๕-๒๕๕๙. การคาดประมาณจำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ จำแนกตามช่องทางการติดต่อ ประเทศไทย พ.ศ. 2555 – 2559 โดยใช้ Asian Epidemic Model. คาดประมาณจำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ 2555-2559. โดย Asian Epidemic Model (AEM).

trang
Download Presentation

รูป AIDS ZERO

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. รูป AIDS ZERO ยุทธศาสตร์ป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์แห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๕-๒๕๕๙

  2. การคาดประมาณจำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ จำแนกตามช่องทางการติดต่อ ประเทศไทย พ.ศ. 2555 – 2559 โดยใช้ Asian Epidemic Model

  3. คาดประมาณจำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ 2555-2559 โดย Asian Epidemic Model (AEM) 31 จังหวัดที่คาดว่าจะมีจำนวนผู้ติดเชื้อรายใหม่รวมประมาณร้อยละ 65 ของจำนวนคาดประมาณผู้ติดเชื้อรายใหม่ทั้งหมด ช่องทางการรับและถ่ายทอดเชื้อฯ 6% 41% 32% 10% 11% 62% ของจำนวนผู้ติดเชิ้อฯรายใหม่ 41% ผู้ติดเชื้อฯรายใหม่ 43,040 คน

  4. ยุทธศาสตร์ฯเอดส์ชาติ พ.ศ.๒๕๕๕-๒๕๕๙ • วิสัยทัศน์สู่เป้าหมายไม่มีผู้ติดเชื้อฯรายใหม่ • เป้าหมาย พ.ศ.๒๕๕๙ • จำนวน ผู้ติดเชื้อฯรายใหม่ลดลง ๒ ใน ๓ จากที่คาดประมาณ • อัตราการติดเชื้อฯ เมื่อแรกเกิด น้อยกว่า ร้อยละ ๒ • วิสัยทัศน์สู่เป้าหมายไม่มี • การเสียชีวิตเนื่องจากเอดส์ • เป้าหมาย พ.ศ.๒๕๕๙ • ผู้ติดเชื้อฯ ทุกคนในแผ่นดินไทย เข้าถึงการดูแลรักษาที่มีคุณภาพอย่างเท่าเทียมกัน • จำนวนผู้ติดเชื้อฯเสียชีวิต ลดลงมากกว่าร้อยละ ๕๐ • จำนวนผู้ติดเชื้อฯเสียชีวิตเนื่องจาก วัณโรค ลดลงมากกว่าร้อยละ ๕๐ • วิสัยทัศน์สู่เป้าหมายไม่มีการตีตราและเลือกปฏิบัติ • เป้าหมาย พ.ศ.๒๕๕๙ • กฎหมายและนโยบาย ที่เป็นอุปสรรคต่อการเข้าถึงบริการป้องกันดูแลรักษาและบริการรัฐ ได้รับการแก้ไข • การทำงานเอดส์ทุกด้านมีประเด็นที่เกี่ยวเนื่องกับการเคารพสิทธิมนุษยชน และสนองตอบต่อความจำเพาะกับเพศสภาวะ • จำนวนการถูกเลือกปฏิบัติหรือการละเมิดสิทธิของ ผู้ติดเชื้อฯและกลุ่มประชากรเป้าหมายหลัก ลดลงไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕๐

  5. นวัตกรรมและการเปลี่ยนแปลงนวัตกรรมและการเปลี่ยนแปลง ข. การผสมผสานและบูรณาการให้มาตรการและแผนงานปัจจุบันมีคุณภาพเข้มข้นและมีความยั่งยืน แนวคิดหลักของยุทธศาสตร์

  6. นวัตกรรมและการเปลี่ยนแปลง: ยุทธ ๑ - ๔ ยุทธ ๑ ยุทธ ๒ ยุทธ ๓ พัฒนาระบบข้อมูลเชิงยุทธศาสตร์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์ในทุกระดับ ยุทธ ๔ ยกระดับคุณภาพของมาตรการและแผนงานที่มีอยู่เดิม ให้เข้มข้นและบูรณาการ ยุทธ ๕

  7. ยุทธศาสตร์ 5ยกระดับคุณภาพ ของมาตรการและแผนงานที่มีอยู่เดิมให้เข้มข้นและบูรณาการ • การป้องกันการติดเชื้อฯ เมื่อแรกเกิด • การป้องกันการติดเชื้อฯ ในกลุ่มเด็กและเยาวชน • การส่งเสริมการใช้ถุงยางอนามัยแบบบูรณาการ • การบริการโลหิตปลอดภัย • การรักษา การดูแล และการให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ติดเชื้อฯ • การดูแลเด็กที่ได้รับผลกระทบจากเอดส์ • การลดการตีตราและการเลือกปฏิบัติ • การสื่อสารสาธารณะ

  8. ความเห็นและข้อเสนอแนะ ของสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เรื่อง วาระเอดส์แห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๕-๒๕๕๙

  9. ผลการศึกษาของคณะทำงานการพัฒนาคุณภาพชีวิต สาธารณสุขและคุ้มครองผู้บริโภค วาระเอดส์แห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๕-๒๕๕๙ เป้าหมายสำคัญ ๓ ประการ • เกิดการปฏิรูปสังคมและการเมืองที่นำไปสู่การลดความเหลื่อมล้ำ สร้างความเป็นธรรมด้านสุขภาพและลดปัญหาเอดส์ • การสร้างความมั่นคงของระบบหลักประกันสุขภาพที่ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการสุขภาพของชุมชนและตนเอง • คนทุกคนบนผืนแผ่นดินไทยมีสุขภาวะ เข้าถึงและได้รับบริการสุขภาพและสวัสดิการพื้นฐานที่จำเป็นในการดำเนินชีวิตบนพื้นฐานการจัดบริการที่เคารพศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์

  10. ข้อเสนอด้านนโยบายการลดการติดเชื้อฯรายใหม่ข้อเสนอด้านนโยบายการลดการติดเชื้อฯรายใหม่ ๔.๑.๑ การจัดตั้งกองทุนด้านการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีของประเทศ ๔.๑.๒ การส่งเสริมการนำเอานโยบายลดอันตรายจากการได้รับ-ถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจาการใช้ยาหรือสารเสพติดด้วยวิธีการฉีด (Harm Reduction) มาใช้จริง โดยการปรับปรุงนโยบายด้านยาเสพติดให้สอดคล้องและเอื้อต่อการดำเนินงานป้องกันการรับ-ถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีรวมทั้งไวรัสตับอักเสบบี และซี ๔.๑.๓ การส่งเสริมและสนับสนุนการเข้าถึงและได้รับบริการปรึกษาและตรวจเลือดโดยสมัครใจและเป็นความลับให้กับ ทุกคนบนผืนแผ่นดินไทย ๔.๑.๔ โครงการถุงยางอนามัยแห่งชาติ

  11. ข้อเสนอด้านนโยบายการลดการเสียชีวิตด้วย อาการสัมพันธ์กับเอดส์ ๔.๒.๑ รัฐบาลควรเสริมสร้างความมั่นคงของระบบสุขภาพและการมีหลักประกันสุขภาพมาตรฐานเดียว โดย • สนับสนุนยุทธศาสตร์การเข้าถึงยาถ้วนหน้าของประชากรไทย - Compulsory Licensing - TRIPS Agreement - Medical Hub - FTA, - แนวปฏิบัติเรื่องโรคเอดส์ของแพทยสภา

  12. ข้อเสนอด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตและขจัดการตีตราการเลือกปฏิบัติด้านสุขภาพข้อเสนอด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตและขจัดการตีตราการเลือกปฏิบัติด้านสุขภาพ ๔.๓.๑ รัฐบาลควรส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการรณรงค์สังคมสาธารณะ เพื่อสร้างความเข้าใจเรื่องสิทธิมนุษยชน ฯ ๔.๓.๒ รัฐบาลควรดำเนินการให้เกิดการปฏิรูปกฎหมาย นโยบายและระเบียบปฏิบัติให้สอดคล้องกับหลักการสิทธิมนุษยชน และรัฐธรรมนูญ

  13. ข้อเสนอด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตและขจัดการตีตราการเลือกปฏิบัติด้านสุขภาพข้อเสนอด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตและขจัดการตีตราการเลือกปฏิบัติด้านสุขภาพ • การมีนโยบายและระเบียบปฏิบัติที่ส่งเสริมการเข้าถึงและได้รับบริการสุขภาพของคนทุกคนบนผืนแผ่นดินไทย • การตรวจเลือดโดยสมัครใจของเด็กที่มีอายุต่ำกว่า ๑๘ ปี เห็นด้วยว่าเด็กและเยาวชนที่อายุต่ำกว่า ๑๘ ปี ควรสามารถตรวจเลือดโดยสมัครใจด้วยตนเองได้ ให้ กระทรวง สธ.พิจารณาข้อปฏิบัติ • การเข้าถึงสิทธิด้านเอดส์ของแรงงานข้ามชาติและบุคคลที่ไม่มีสถานะในประเทศ เห็นด้วย กระทรวง สธ. ขยายสิทธิประโยชน์กลุ่มแรงงานข้ามชาติที่ลงทะเบียบ กระทรวงแรงงาน พยายามให้แรงงานข้ามชาติลงทะเบียนได้ครอบคลุม กระทรวงมหาดไทย ดูแลกลุ่มบุคคลที่ไม่มีสถานะในประเทศ

  14. โครงการปรับภารกิจการจัดการปัญหาเอดส์ โดยบูรณาการ การจัดบริการเชิงรุกและเครือข่ายการทำงาน ให้เข้าสู่กระบวนการกระจายอำนาจในจังหวัด ให้ครอบคลุมถ้วนทั่วกลุ่มเป้าหมายและส่งผลอย่างยั่งยืน (ACHIEVED)

  15. โครงการปรับภารกิจการจัดการปัญหาเอดส์ โดยบูรณาการการจัดบริการเชิงรุกและเครือข่ายการทำงาน ให้เข้าสู่กระบวนการกระจายอำนาจในจังหวัด ให้ครอบคลุมถ้วนทั่วกลุ่มเป้าหมายและส่งผลอย่างยั่งยืน (ACHIEVED) กลุ่มประชากรเป้าหมาย ผู้ติดเชื้อฯ เยาวชน ในชุมชน โรงเรียน และสถานประกอบกิจการ CABA และ เด็กที่มีภาวะเปราะบางอื่นๆ FSW, MSM, IDU, MW, ผู้ต้องขัง (Migrant และ กลุ่มชาติพันธ์ )

  16. โครงการปรับภารกิจการจัดการปัญหาเอดส์ โดยบูรณาการ การจัดบริการเชิงรุกและเครือข่ายการทำงาน ให้เข้าสู่กระบวนการกระจายอำนาจในจังหวัด ให้ครอบคลุมถ้วนทั่วกลุ่มเป้าหมายและส่งผลอย่างยั่งยืน (ACHIEVED) (ความจำเพาะกับกลุ่มประชากรเป้าหมาย) เพศศึกษาในสถานศึกษา สถานประกอบกิจการ บริการ VCT, STI บริการเชิงรุก MMT การดูแลรักษา โดย โดย ภาคประชาสังคม ภาครัฐ สภาวะแวดล้อมทางนโยบาย ทัศนะของสังคม หน่วยงาน

  17. กรอบแนวคิดโครงการ พัฒนาระบบสุขภาพ พัฒนาระบบปกป้องคุ้มครองทางสังคม, พัฒนานโยบาย เด็กที่ได้รับผลกระทบ เด็กที่อยู่ในภาวะเปราะบาง คณะทำงานเด็กในชุมชน -CAG พัฒนาระบบชุมชน

  18. โครงการปรับภารกิจการจัดการปัญหาเอดส์ โดยบูรณาการ การจัดบริการเชิงรุกและเครือข่ายการทำงาน ให้เข้าสู่กระบวนการกระจายอำนาจในจังหวัด ให้ครอบคลุมถ้วนทั่วกลุ่มเป้าหมายและส่งผลอย่างยั่งยืน (ACHIEVED) การติดตามงาน (Monitoring) จำนวนกลุ่มประชากรเป้าหมายเข้าถึงบริการ จำนวนอุปกรณ์ป้องกันที่กระจาย % ของเป้าหมายแต่ละไตรมาส % ของกลุ่มประชากรเป้าหมายในพื้นที่ คุณภาพของบริการ

  19. โครงการปรับภารกิจการจัดการปัญหาเอดส์ โดยบูรณาการ การจัดบริการเชิงรุกและเครือข่ายการทำงาน ให้เข้าสู่ กระบวนการกระจายอำนาจในจังหวัด ให้ครอบคลุมถ้วนทั่วกลุ่มเป้าหมายและส่งผลอย่าง ยั่งยืน (ACHIEVED) อบจ. เทศบาล อบต. แผนและการจัดสรรทรัพยากรสำหรับงานเอดส์ในพื้นที่ จังหวัด ยุทธศาสตร์เอดส์จังหวัด บูรณาการงานเอดส์ในแผนพัฒนาจังหวัด

  20. รูป AIDS ZERO ยุทธศาสตร์ป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์แห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๕-๒๕๕๙

More Related