1 / 24

การลงทุนผลิตไฟฟ้าจากน้ำเสีย อุตสาหกรรมน้ำมันปาล์มดิบ

การลงทุนผลิตไฟฟ้าจากน้ำเสีย อุตสาหกรรมน้ำมันปาล์มดิบ. ลิขิต นิ่มตระกูล บริษัท ปภพ จำกัด 26 มิถุนายน 2550. เป้าหมายโครงการ. เชิงพาณิชย์ ผลิตไฟฟ้าให้ได้มากสุด สิ่งแวดล้อมบำบัดน้ำเสียให้ได้ตามมาตรฐานอุตสาหกรรม. ปัจจัยกำหนดความสำเร็จ. บุคลากรและที่ปรึกษา เทคโนโลยีที่ดี

tovi
Download Presentation

การลงทุนผลิตไฟฟ้าจากน้ำเสีย อุตสาหกรรมน้ำมันปาล์มดิบ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การลงทุนผลิตไฟฟ้าจากน้ำเสียอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์มดิบการลงทุนผลิตไฟฟ้าจากน้ำเสียอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์มดิบ ลิขิต นิ่มตระกูลบริษัท ปภพ จำกัด26 มิถุนายน 2550

  2. เป้าหมายโครงการ • เชิงพาณิชย์ ผลิตไฟฟ้าให้ได้มากสุด • สิ่งแวดล้อมบำบัดน้ำเสียให้ได้ตามมาตรฐานอุตสาหกรรม

  3. ปัจจัยกำหนดความสำเร็จปัจจัยกำหนดความสำเร็จ • บุคลากรและที่ปรึกษา • เทคโนโลยีที่ดี • แผนการลงทุนที่เหมาะสม • ความพร้อมในวิธีการลงทุน

  4. 1. บุคลากรและที่ปรึกษา • ด้านเทคนิค • ด้านการเงิน • ด้านบริหารจัดการ

  5. 2. เทคโนโลยีที่ดี • การผลิตก๊าซชีวภาพ • การกำจัด H2S • เครื่องกำเนิดไฟฟ้า • ระบบจำหน่ายไฟฟ้า

  6. 3.แผนการลงทุนที่เหมาะสม3.แผนการลงทุนที่เหมาะสม • ขนาดที่เหมาะสม, ค่าใช้จ่ายที่ครบถ้วน • แหล่งทุน และดอกเบี้ย • รายได้หลัก และรายได้เสริม (CDM) • สิทธิประโยชน์ทางภาษี (BOI)

  7. 4. วิธีการลงทุน • ลงทุนเอง • ร่วมลงทุนกัน ESCO • ให้สัมปทาน (BOT) ซื้อ Consult ซื้อ Turn Key

  8. เทคโนโลยีชีวภาพ

  9. เทคโนโลยีการผลิตก๊าซชีวภาพเทคโนโลยีการผลิตก๊าซชีวภาพ CODb + CODnd สารอินทรีย์ คาร์โบไฮเดรต, โปรตีน, ไขมัน (FOG) แป้ง, น้ำตาล, ไฟเบอร์, ลิกนิน

  10. จำนวนก๊าซชีวภาพ แบคทีเรีย CODb 1 กก. CH4 + CO2 350 ลิตร 350 ลิตร 50% 50%

  11. พารามิเตอร์ที่ใช้วัดประสิทธิภาพพารามิเตอร์ที่ใช้วัดประสิทธิภาพ • CODb > 1.5 – 3 BOD5

  12. ระบบผลิตก๊าซชีวภาพที่ดีระบบผลิตก๊าซชีวภาพที่ดี 1) ต้องมีระบบลดอุณภูมิ T < 40 Co 2) - ต้องสามารถแยกน้ำมันออกได้เหลือน้อยกว่า 1,500 มก./ลิตร - ต้องสามารถย่อยน้ำมันได้ทั้งหมด 3) - ต้องมีแบคทีเรีย ประสิทธิภาพสูงครบทุกชนิด - สามารถเพิ่มลดจำนวนได้ตามต้องการ 4) ต้องรักษาแบคทีเรียไว้ไม่ให้หลุดไปกับน้ำเสีย V30< 5 มล./ลิตร 5) มีประสิทธิภาพเปลี่ยน CODb เป็นก๊าซชีวภาพมากที่สุด เหลือน้อยกว่า 1,500 มก./ลิตร 6) - ผลิต CH4ได้ 330 + 5% /กก.CODb - ความเข้มข้น CH460 + 5% 7) ระบบความปลอดภัยในการใช้งาน

  13. หน่วยผลิตก๊าซชีวภาพ น้ำเสีย AC1 AC2 + MT E = 85% UASB E = 90% CODb = 85,000 CODb = 85,000 CODb = 12,750 CODb = 1,275 CODb = 65,000 CODb = 9,750 CODb = 975

  14. ส่วนประกอบของระบบผลิตก๊าซชีวภาพส่วนประกอบของระบบผลิตก๊าซชีวภาพ • ระบบระบายความร้อน • AC1 • AC2 + MT • บ่อพักน้ำเสีย • UASB • ระบบท่อและปั๊ม • ระบบไฟฟ้า • ระบบควบคุมอัตโนมัติ และบันทึกข้อมูล • ระบบความปลอดภัย • ห้อง LAB • อาคารควบคุม, อุปกรณ์สำนักงาน

  15. พื้นที่ 4.5 ไร่

  16. พื้นที่ 7 ไร่

  17. ส่วนประกอบของระบบผลิตไฟฟ้าส่วนประกอบของระบบผลิตไฟฟ้า • ระบบกำจัด H2S และความชื้น • ระบบส่งก๊าซ • ระบบเครื่องยนต์ก๊าซและ Generator • ระบบควบคุมอัตโนมัติ และบันทึกข้อมูล • ระบบระบายความร้อน • ระบบจำหน่ายไฟฟ้าแรงสูง • ระบบสายส่งแรงสูง • ระบบเผาก๊าซสำหรับ CDM

  18. เครื่องปั่นไฟ Flare

  19. ส่วนสาธารณูปโภคอื่นๆ • ที่ดินและงานปรับปรุงพื้นที่ • บ้านพักพนักงาน • ยานพาหนะและเครื่องมือซ่อมบำรุง • อะไหล่สำรอง

  20. ระบบผลิตไฟฟ้าที่ดี • ระบบกำจัด H2S (2,000 – 3,000 มก./ลิตร) • ระบบชีวภาพ กำจัด H2S เหลือ < 350 ppm. • ค่ากำจัดต่ำ < 5 สตางค์ / ม3 • ไม่มีสารเคมีที่ทำให้เครื่องยนต์เสียหาย • ระบบผลิตไฟฟ้า • เครื่องยนต์ก๊าซชีวภาพ + Generator • รับ H2S ได้ 700 ppm. • อัตราผลิตไฟฟ้า 2.35 KW/Nm3 65%CH4 • ระบบระบายความร้อนใช้ไฟฟ้าไม่เกิน 3.5% ของที่ผลิตได้

  21. เครื่องยนต์ไบโอก๊าซ + Generator

  22. ขนาดของโรงไฟฟ้า • โรงไฟฟ้าขนาด 1 MW • ต้องการก๊าซชีวภาพ 65%CH410,000 ลบ.ม./วัน • ต้องการเดินระบบ 300 วัน/ปี • ต้องการก๊าซชีวภาพ 3,000,000 ลบ.ม./ปี • CODbจากการบีบน้ำมันปาล์ม 40-44 กก./ตัน FFB • ผลิตก๊าซชีวภาพ 65%CH417-19 ม3./ตัน FFB • ต้องมีกำลังการผลิต 165,000 – 170,000 ตัน/ปี

  23. ผลตอบแทนการลงทุน • ผลิตไฟฟ้าได้ 40 kwh./ตัน FFB • ระบบผลิตใช้ไฟฟ้า 5% ที่ผลิตได้ • ค่าไฟฟ้า + ADDER 3 บาท/kwh. • ค่าใช้จ่ายต่างๆ 0.35 – 0.5 บาท/kwh.

  24. การสนับสนุนจากภาครัฐ • เงินกู้ดอกเบี้ย 4% ไม่เกิน 50 ล้านบาท • BOI ให้สิทธิประโยชน์ 8 ปี หรือไม่เกินเงินลงทุน • เพิ่มค่าไฟฟ้าให้ VSPP ที่ผลิตจากไบโอก๊าซ 30 สตางค์/หน่วย

More Related