1 / 27

ทิศทางการเปิดเสรีทางเศรษฐกิจของไทย

ทิศทางการเปิดเสรีทางเศรษฐกิจของไทย. เก็จพิรุณ เกาะสุวรรณ์ กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ 21 พฤษภาคม 2556. พัฒนาการในการเจรจาเศรษฐกิจการค้าระหว่างประเทศ. New World. Old World. GSP. S & D. FTA/RTA กระแสหลักในการเจรจาเศรษฐกิจการค้าระหว่างประเทศ  Building block --- Living agreement

tobias
Download Presentation

ทิศทางการเปิดเสรีทางเศรษฐกิจของไทย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ทิศทางการเปิดเสรีทางเศรษฐกิจของไทยทิศทางการเปิดเสรีทางเศรษฐกิจของไทย เก็จพิรุณ เกาะสุวรรณ์ กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ 21 พฤษภาคม 2556

  2. พัฒนาการในการเจรจาเศรษฐกิจการค้าระหว่างประเทศพัฒนาการในการเจรจาเศรษฐกิจการค้าระหว่างประเทศ New World Old World GSP S & D • FTA/RTA กระแสหลักในการเจรจาเศรษฐกิจการค้าระหว่างประเทศ Building block--- Living agreement • ครอบคลุมการค้าหลายมิติ สินค้า บริการ การลงทุน การอำนวยความสะดวก และ new issues (แรงงาน ทรัพย์สินทางปัญญา สิ่งแวดล้อม การจัดซื้อจัดจ้างโดยรัฐ นโยบายแข่งขัน เป็นต้น) ประเทศพัฒนาให้เปล่าแบบฝ่ายเดียวแก่ประเทศกำลังพัฒนาและด้อยพัฒนา แต่ไม่ถาวร เช่น EU(Everything but arms)

  3. ความเปลี่ยนแปลงในโลก • ร่วมสร้างกฎเกณฑ์ทางการค้า พหุภาคี WTO • เสริมสร้างอำนาจต่อรอง • ขยายตลาด และแหล่งวัตถุดิบ โลกาภิวัตน์ การแข่งขัน การเปลี่ยนแปลง ภูมิภาค ASEAN, APEC, ASEM • เสาะหาโอกาสทางการส่งออก • ยึดตลาดใหม่ ช่วงชิงโอกาส • สร้างพันธมิตรทางเศรษฐกิจ ทวิภาคี

  4. ความตกลงการค้าเสรี ASEAN WTO APEC Bilateral Relation AEC* WTO System (non DDA) Committee on Trade and Industry Bilateral FTAs • ASEAN’s FTAs • ASEAN + 1 (living agreements) • -RCEP FTAAP DDA

  5. ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ปี 2558 (2015) ชุมชนอาเซียน กฎบัตรอาเซียน ประชาคม เศรษฐกิจ อาเซียน (AEC) ประชาคม ความมั่นคง อาเซียน (ASC) ASEAN Charter พิมพ์เขียว AEC (AEC Blueprint) One Vision One Identity One Community ประชาคม สังคม-วัฒนธรรม อาเซียน (ASCC)

  6. AEC 4เป้าหมายภายใต้ AEC Blueprint 1. เป็นตลาดและฐานการผลิตร่วม 2. สร้างเสริมขีดความสามารถแข่งขัน เคลื่อนย้ายสินค้าเสรี e-ASEAN นโยบายภาษี เคลื่อนย้ายบริการอย่างเสรี นโยบายการแข่งขัน เคลื่อนย้ายการลงทุนอย่างเสรี สิทธิทรัพย์สินทางปัญญา เคลื่อนย้ายแรงงานมีฝีมืออย่างเสรี การคุ้มครองผู้บริโภค เคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรีมากขึ้น ปี 2015 พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 3. การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค 4. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก ลดช่องว่างการพัฒนา ระหว่างสมาชิกเก่า-ใหม่ ปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจ สร้างเครือข่ายการผลิต จำหน่าย สนับสนุนการพัฒนา SMEs จัดทำ FTA กับประเทศนอกภูมิภาค

  7. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) “การเปลี่ยนแปลงเกิดจากผลการดำเนินการอย่างค่อยเป็นค่อยไป AEC ไม่ได้ทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงในทันที แต่เป็น work in progress และเป็น milestone” การค้าไทย-อาเซียนขยายตัวสูงต่อเนื่อง อาเซียนเป็นคู่ค้า No.1 มีสัดส่วน 20%

  8. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) Think ASEAN 2015 One Vision, One Identity, One Community ตลาดขนาดใหญ่ เพิ่มกำลังการต่อรอง ส่งเสริมแหล่งวัตถุดิบ กลุ่มที่มีวัตถุดิบและแรงงาน เวียดนาม กัมพูชา พม่า ลาว ประโยชน์จากทรัพยากรในอาเซียน ประชากรขนาดใหญ่ (604 ล้านคน) อำนาจต่อรองเพิ่มขึ้น กลุ่มที่มีความถนัดด้านเทคโนโลยี สิงคโปร์ มาเลเซีย ไทย วัตถุดิบ & ต้นทุน ต่ำลง ขีดความสามารถสูงขึ้น ต้นทุนการผลิตลดลง มีแนวร่วมในการเจรจาในเวทีโลก กลุ่มที่เป็นฐานการผลิต ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย เวียดนาม สามารถเลือกหาที่ได้เปรียบที่สุด ดึงดูดการลงทุนและการค้า ดึงดูดในการทำ FTA โอกาสในการใช้ประโยชน์จาก AEC AEC Market: ตลาดและฐานการผลิตเดียว (Single Market and Production Base) ASEAN Citizen: การเคลื่อนย้ายของประชากรและของแรงงานวิชาชีพ (Mobility of ASEAN People & Professional Services) ASEAN Rules and regulations: การพัฒนากฎเกณฑ์และระเบียบที่สามารถใช้ได้ร่วมกันในอาเซียน ASEAN Standard: การจัดทำข้อตกลงยอมรับร่วมกันด้านคุณสมบัติและมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง (MRA- Mutual Recognition Agreement)

  9. ความท้าทาย เป้าหมายร่วมของอาเซียนและประเทศไทยในปี 2015 ความท้าทายในปี 2013 ประเทศไทย ASEAN การแข่งขันรุนแรงในการค้าโลกและการดึงดูด FDI (อันดับ 4 ในอาเซียน) สร้างความเข้มแข็งโดยผนึกกำลังทางเศรษฐกิจ และความเป็นพันธมิตรร่วมกับสมาชิกอาเซียน ความล่าช้าในการปฎิรูปเศรษฐกิจ กระทบต่อขีดความสามารถในการแข่งขันและอาจเข้าสู่ middle income trap การลดอุปสรรคการค้าและการลงทุนระหว่างกัน และเสริมจุดแข็ง ลดจุดอ่อนเพื่อให้ได้ประโยชน์ร่วมกัน(Win-Win) พึ่งพาการนำเข้าพลังงานซึ่งมีต้นทุนสูง การเพิ่มมูลค่าการผลิตในภาคอุตสาหกรรมและการพัฒนาภาคธุรกิจบริการ เพิ่มประสิทธิภาพของเครือข่ายการผลิตในอาเซียน และเชื่อมต่อกับเศรษฐกิจที่เติบโตเร็วนอกกลุ่มอาเซียน การแข่งขันรุนแรงกับประเทศที่เศรษฐกิจเติบโตเร็วนอกอาเซียน การสร้าง Energy and Food Security ปัจจัยโครงสร้างพื้นฐานทางกายภาพและสถาบัน ยังไม่เพียงพอ มีช่องว่างของการพัฒนาเศรษฐกิจระหว่างประเทศสมาชิก และประเทศภายในสมาชิก การสร้าง ASEAN Connectivity ให้สมบูรณ์ ด้านการขนส่ง สื่อสาร สถาบัน และประชาชน มีข้อจำกัดด้านพลังงานและความเสี่ยงด้านภัยธรรมชาติ

  10. ภาษีสินค้า/อุปสรรคนำเข้าจะหมดไปกลายเป็นตลาดอาเซียนภาษีสินค้า/อุปสรรคนำเข้าจะหมดไปกลายเป็นตลาดอาเซียน 1. ภาษีนำเข้าสินค้า – ต้องเป็นศูนย์(ลดเป็นลำดับตั้งแต่ปี 2536) - 1 ม.ค. 53อาเซียน 6 (SG 100%, TH 99.8%,BR 99.2%, PH 99%, IN 98.7%, ML 98.4%) - 1 ม.ค. 58 อาเซียน 4 (CLMV) 2. อุปสรรคทางการค้าที่มิใช่ภาษี (Non-Tariff Barriers: NTBs) - ต้องหมดไป - อาเซียน 5 (1 ม.ค. 53) ฟิลิปปินส์ (1 ม.ค. 55) CLMV (1 ม.ค. 58) 3. กฎว่าด้วยถิ่นกำเนิดสินค้า (ROOs) – เพิ่มทางเลือกอย่างเท่าเทียม (co-equal) - RVC (40), CTC, PSRs 4. มาตรฐานร่วม – ให้สอดคล้องกับระบบสากลและระหว่างอาเซียน -เครื่องใช้ไฟฟ้า ความปลอดภัยทางไฟฟ้า องค์ประกอบด้านแม่เหล็กไฟฟ้า ผลิตภัณฑ์ยาง เภสัชกรรม (กำลังดำเนินการ - เกษตร ประมง ไม้ ยานยนต์ วัสดุก่อสร้าง เครื่องมือแพทย์ ยาแผนโบราณ อาหารเสริม) 5. พิธีการทางศุลกากรที่ทันสมัย - อำนวยความสะดวกทางการค้า - ASEAN Single Window, Self-Certification

  11. การเปิดเสรีการค้าบริการอาเซียนการเปิดเสรีการค้าบริการอาเซียน อาเซียนสามารถถือหุ้นได้ถึง 70%ในธุรกิจบริการในอาเซียน ปี 2556 (2013) ปี 2553 (2010) ปี 2551 (2008) ปี 2558 (2015) ปี 2549 (2006) สาขาเร่งรัดการรวมกลุ่ม e-ASEAN (โทรคมนาคม-คอมพิวเตอร์) สุขภาพ/ท่องเที่ยว/ขนส่งทางอากาศ 70% PIS: Priority Integration Sectors โลจิสติกส์ 70% 49% 51% 70% สาขาอื่นๆ 49% 51% 49% 51% เป้าหมายการเปิดเสรีบริการ = 128 สาขาย่อย ไทยสามารถขยายธุรกิจบริการในอาเซียนได้ โดยเฉพาะในสาขาที่ไทยมีความเข้มแข็ง เช่น ท่องเที่ยว โรงแรม ร้านอาหาร สุขภาพ ซ่อมรถ ก่อสร้าง การศึกษา เป็นต้น รวมทั้งดึงดูดการลงทุนเข้ามาในประเทศมากขึ้น ในขณะเดียวกัน เป็นช่องทางให้อาเซียนเข้ามาประกอบธุรกิจบริการในไทยได้สะดวกขึ้น เกิดการแข่งขัน ทำให้เอกชนไทยมีโอกาสพัฒนาธุรกิจมากขึ้น

  12. การจัดทำข้อผูกพันการค้าบริการภายใต้ AFAS

  13. การแบ่งประเภทสาขาบริการตามหลักเกณฑ์ WTO

  14. รูปแบบการค้าบริการ: ประเทศ Aประเทศ B Mode 1 การให้บริการข้ามพรมแดน Mode 2 การเดินทางไปบริโภคในต่างประเทศ Mode 3 การจัดตั้งธุรกิจ Mode 4 การให้บริการโดยบุคคลธรรมดา

  15. ข้อจำกัด/อุปสรรคต่างๆ ในภาคบริการ ต้องลด/เลิก ประเทศปลายทาง ประเทศ ผู้ให้บริการ • ข้อจำกัดของการเข้าสู่ตลาด • จำกัดสัดส่วนผู้ถือหุ้นต่างชาติ • จำกัดมูลค่าการให้บริการ • จำกัดจำนวนสถานบริการ • จำกัดประเภทนิติบุคคล • จำกัดจำนวนบุคคลผู้ให้บริการ • จำกัดประเภทผู้บริการ • ต้องอนุญาตให้บุคคลากรผู้บริการเข้ามาให้บริการได้

  16. 1.4 อาเซียนได้รับการอำนวยความสะดวกในการประกอบวิชาชีพมากขึ้น MRA ไม่ได้เป็นการเปิดตลาดแต่เป็นเพียงการอำนวยความสะดวกในขั้นตอนการขอใบอนุญาต โดยลดขั้นตอนการตรวจสอบ/รับรองวุฒิการศึกษาหรือความรู้ทางวิชาชีพ สาขาวิศวกรรม MRAs ข้อตกลงยอมรับร่วมนักวิชาชีพในอาเซียนสามารถจดทะเบียนหรือขอใบอนุญาตประกอบวิชาชีพในประเทศอาเซียนอื่นได้ แต่ยังต้องปฏิบัติตามกฏระเบียบภายในของประเทศนั้นๆ สาขานักสำรวจ* สาขานักบัญชี* สาขาสถาปัตยกรรม สาขาแพทย์ สาขาพยาบาล สาขาทันตแพทย์ • ยังเป็นเพียง Framework หรือ หลักการกว้างๆ โดยต้องมีการเจรจาในรายละเอียดต่อไป • สำหรับวิชาชีพสาขาที่ 8 คือ สาขาการท่องเที่ยว ไทยได้ร่วมลงนามกับอาเซียนแล้ว (1 พ.ย. 2555) และกำลังอยู่ในระหว่างดำเนินกระบวนการภายในเพื่อให้ข้อตกลงยอมรับร่วมมีผลใช้บังคับ

  17. อาเซียนจะกลายเป็นศูนย์กลางการลงทุนทั่วโลกอาเซียนจะกลายเป็นศูนย์กลางการลงทุนทั่วโลก NT – MFNการลงทุนในอาเซียนจะเปิดเสรีและโปร่งใสมากขึ้น FLEXIBILITY หากยังไม่พร้อมเปิดเสรี สามารถทำข้อสงวนไว้ได้ • Challenges • นโยบายเชิงรุกเพื่อดึงดูดเงินลงทุนจากต่างประเทศ โดยสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการลงทุน • นโยบายสนับสนุนให้มีการลงทุนในต่างประเทศมากขึ้น FDI Portfolio เกษตร บริการเกี่ยวเนื่อง ประมง ป่าไม้ เหมืองแร่ การผลิต • ACIAความตกลงว่าด้วยการลงทุนอาเซียน (ASEAN Comprehensive Investment Agreement) - ลงนามปี 2552 • IGAความตกลงว่าด้วยการส่งเสริมและคุ้มครองการลงทุนอาเซียน (ASEAN Agreement for the Promotion and Protection of Investment/ Investment Guarantee Agreement) - ปี 1987 • AIAกรอบความตกลงว่าด้วยเขตการลงทุนอาเซียน (Framework Agreement on the ASEAN Investment Area) - ปี 1998

  18. ความตกลงการค้าเสรีของไทยความตกลงการค้าเสรีของไทย ปัจจุบันไทยมีเครือข่ายความตกลงการค้าเสรี 11 ฉบับ ครอบคลุมคู่ค้า 16 ประเทศทั้งในเอเชียและแปซิฟิก รวมมูลค่าการค้า2.55 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐฯ หรือ 56% ของมูลค่าการค้าระหว่างประเทศทั้งหมดปี 2554 ปี 2554 ไทยส่งออกสินค้าไปยังประเทศคู่สัญญา 54% ของการส่งออกทั้งหมด โดยอัตราการส่งออกเติบโต 19% เมื่อเทียบกับอัตราการส่งออกของไทยไปยังประเทศที่เหลือซึ่งมีอัตราเติบโตที่ 15%

  19. การจัดทำความตกลงการค้าเสรีของไทยการจัดทำความตกลงการค้าเสรีของไทย

  20. การจัดทำความตกลงการค้าเสรีของไทยการจัดทำความตกลงการค้าเสรีของไทย

  21. อาเซียนจะได้รับประโยชน์จากการลดภาษีสินค้ากับ 6 ประเทศอย่างมหาศาล % of tariff line

  22. เส้นทางสู่การรวมกลุ่มเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิคเส้นทางสู่การรวมกลุ่มเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิค TPP Track Asian Track 47.8% 47.8% 27.3% 29.9% 17.4% 16.7% 2.8% 6.5% FTAAP: Free Trade Area of the Asia Pacific รวม 21 เขตเศรษฐกิจ TPP 9: P4+ออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกา เปรู มาเลเซีย เวียดนาม TPP 14: TPP 9 + ประเทศที่แสดงความสนใจ (ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ อินโดนีเซีย แคนาดา เม็กซิโก) P 4:บรูไนชิลี นิวซีแลนด์ สิงคโปร์ AEC: ASEAN Economic Community รวม 10 ประเทศ RCEP: Regional Comprehensive Economic Partnership ได้แก่ AEC+จีน เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น อินเดีย ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ CJK: China-Japan-Korea Accord (อาจลงนามในปี 2555) % สัดส่วนต่อการค้าโลกในปี 2553

  23. ความท้าทายที่เกิดขึ้น

  24. บทบาทกระทรวงพาณิชย์ กระทรวงพาณิชย์พร้อมให้การสนับสนุนและอำนวยความสะดวก โดยการทำงานร่วมกัน กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ: ลู่ทางการค้าและการลงทุน กรมการค้าต่างประเทศ: การใช้สิทธิประโยชน์และมาตรการรองรับผลกระทบ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า: การพัฒนาผู้ประกอบการ SMEs กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ: ความรู้เกี่ยวกับข้อตกลง และพันธกรณีของไทย

  25. สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม http://www.ditp.go.th สายด่วน Call center : 1169, 0-2507-8424 www.dft.go.th สายด่วน Call Center: 1385, 0-2547-4855 www.dbd.go.th สายด่วน Call Center : 1570, 0-2528-7600 www.dtn.go.thwww.thaifta.com โทร : 0-2507-7555

  26. แหล่งข้อมูลเพิ่มเติม ข้อมูลอาเซียนโดยรวม / ข้อมูลการค้า / กฏระเบียบการค้า / การลงทุน • www.dtn.go.thและเข้าไปที่ “กรอบภูมิภาค” “อาเซียน” • www.asean.org(เวปไซต์ของสำนักเลขาธิการอาเซียน) • สายด่วนกรมเจรจาฯ 02-507-7555 สอบถาม/ปรึกษา/ขอรับคำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ ในเรื่องเกี่ยวกับASEAN • กรมการค้าต่างประเทศ ศูนย์ปฏิบัติการ “AFTA Hotline” 1385 One Vision, One Identity,One Community

More Related