1 / 7

หลักการกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ

หลักการกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ. จัดทำโดย นางสาวพรนภา จักสาน นางสาวจิรัชญา เมืองมูล. หลักการกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ.

Download Presentation

หลักการกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หลักการกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับหลักการกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ จัดทำโดย นางสาวพรนภา จักสาน นางสาวจิรัชญา เมืองมูล

  2. หลักการกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับหลักการกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ • พลังงานไฟฟ้าที่ใช้ในกันปัจจุบัน เกิดจาการค้นคว้า ทดลอง และค้นพบของนักวอทยาศาสตร์ เมื่อประมาณพุทธศักราช 2374 คือ ไมเคิล ฟาราเดย์ (Michael Faraday) และโจเซฟ เฮนรี่ (Joseph henry) โดยใช้วิธีการหมุดขดลวดตัวนำเคลื่อนที่ตัดผ่านสนามแม่เหล็กจะมีแรงดันไฟฟ้าเหนี่ยวนำปรากฏที่ปลายของขดลวดตัวนำ และให้ลวดตัวนำเคลื่อนที่ในทิศทางตรงข้ามกันเข็มของกัลวานมิเตอร์จะกระดิกไปทิศทางหนึ่งซึ่งตรงข้ามกัน กระแสที่ไหลกลับไปกลับมา ดังกล่าว คือ หลักการของเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ (Alternation Current Generator)

  3. การเกิดรูปคลื่นไซน์ • ในสภาวะปกติเส้นแรงแม่เหล้กจะเคลื่อนที่จากขั้วเหนือไปยังขั้วใต้ โดยจะมีความหนาแน่นของเส้นแรงแม่เหล็กมากที่สุดบริเวณกึ่งกลางขั้ว ดังนั้น เมื่อขดลวดตัวนำเคลื่อนที่ตัดผ่านบริเวณกึ่งกลางขั้ว จะเกิดแรงดันไฟฟ้าเหนี่ยวนำสูงสุด

  4. คาบเวลา • คาบเวลา (Period) หมายถึง ช่วงเวลาที่เกิดรูปคลื่นครบ 1 ไซเกิล(ทั้งซีกบวกและซีกลบ) คาบเวลาใช้สัญลักษณ์ T มีหน่วยเป็นวินาที (Second ; s) แต่ในทางปฏิบัติโดยทั่วไป อาจจะมีใช้หน่วยที่มีขนาดเล็กลง ได้แก่ Mill Second (ms) vเป็นต้น

  5. เครื่องกำเนิดไฟฟ้า Generator หรือ เครื่องกำเนิดไฟฟ้าคืออะไร Generator หรือ เครื่องกำเนิดไฟฟ้า คือ เครื่องมือที่ใช้สำหรับแปลงพลังงานกลเป็นพลังงานไฟฟ้า โดยอาศัยหลักการทำงาน เมื่อมีสนามแม่เหล็กเคลื่อนที่ตัดผ่านขดลวด หรือขดลวดเคลื่อนที่ตัดสนามแม่เหล็กก็จะได้ไฟฟ้าออกมา เครื่องกำเนิดไฟฟ้าจะประกอบด้วยส่วนที่สำคัญสองส่วนคือ ส่วนที่สร้างสนามแม่เหล็ก เรียกกว่า ฟิลด์(Field)และส่วนที่สร้างแรงดันไฟฟ้าเรียกว่าอาเมเจอร์ (Armature)

  6. ในเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสตรง ฟิลด์จะเป็นส่วนที่อยู่กับที่ อาเมเจอร์จะเป็นส่วนที่เคลื่อนที่ แต่ในเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ ฟิลด์และอาเมเจอร์ สามารถเป็นได้ทั้งส่วนที่อยู่กับที่และส่วนที่หมุน โดยในเครื่องกำเนิดไฟฟ้าขนาดเล็ก จะสามารถสร้างได้ทั้งแบบฟิลด์และอาเมเจอร์หมุน แต่ในเครื่องกำเนิดไฟฟ้าขนาดใหญ่ จะสร้างได้แต่แบบอาเมเจอร์อยู่กับที่เท่านั้น เพราะจะมีปัญหาน้อยกว่าแรงดันที่เกิดขึ้นในเครื่องกำเนิดไฟฟ้าจะมากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับปัจจัยที่สำคัญสองตัวคือ ความเร็วรอบและเส้นแรงแม่เหล็ก

  7. เครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสตรงเราสามารถเพิ่มแรงดันไฟฟ้าขึ้นได้โดย การปรับค่าความเข้มของสนามแม่เหล็ก และเพิ่มความเร็วรอบของเครื่องกำเนิด แต่ในเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับการเพิ่มแรงดันโดยการเพิ่มความเร็วไม่สามารถที่จะทำได้ เพราะจะทำให้ความถี่ของแรงดันไฟฟ้าที่ได้เปลี่ยนแปลงไป สามารถทำได้เพียงการปรับความเข้มของสนามแม่เหล็กเท่านั้น

More Related