1 / 21

การตรวจสำนวนการสอบสวน

การตรวจสำนวนการสอบสวน. ลักษณะของสำนวน. สำนวนการสืบสวน สำนวนการสอบสวนวินัยอย่างไม่ร้ายแรง สำนวนการสอบสวนวินัยอย่างร้ายแรง. การสืบสวนตามข้อ 20. เป็นวิธีการก่อนดำเนินการทางวินัย เป็นการหาพยานหลักฐานเบื้องต้น เพื่อพิจารณาว่ากรณีมีมูลที่ควรกล่าวหา หรือไม่

tirza
Download Presentation

การตรวจสำนวนการสอบสวน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การตรวจสำนวนการสอบสวนการตรวจสำนวนการสอบสวน

  2. ลักษณะของสำนวน • สำนวนการสืบสวน • สำนวนการสอบสวนวินัยอย่างไม่ร้ายแรง • สำนวนการสอบสวนวินัยอย่างร้ายแรง

  3. การสืบสวนตามข้อ 20 • เป็นวิธีการก่อนดำเนินการทางวินัย • เป็นการหาพยานหลักฐานเบื้องต้น • เพื่อพิจารณาว่ากรณีมีมูลที่ควรกล่าวหาหรือไม่ • ยุติเรื่อง / ดำเนินการทางวินัย

  4. การตรวจสำนวนการสืบสวนการตรวจสำนวนการสืบสวน • ตรวจพิจารณาว่ากรณีมีมูลหรือไม่ • กรณีไม่มีมูล เสนอยุติเรื่อง / สืบสวนเพิ่มเติม • กรณีมีมูล เสนอดำเนินการทางวินัยร้ายแรง /ไม่ร้ายแรง ข้อใด วรรคใด • กรณีไม่พอพิจารณา เสนอสืบสวนเพิ่มเติม • ข้อสังเกต

  5. การตรวจข้อกฎหมายสอบสวนวินัยไม่ร้ายแรงการตรวจข้อกฎหมายสอบสวนวินัยไม่ร้ายแรง • ผู้มีอำนาจสั่งสอบสวน ข้อ 22 วรรคสาม • การแจ้งข้อกล่าวหาและสรุปพยานหลักฐาน (เทียบเคียงพ.ร.บ. วิ. ปกครอง มาตรา 30) • การชี้แจงและนำสืบแก้ข้อกล่าวหา

  6. วิธีการตรวจสำนวน (วินัยร้ายแรง) • ตรวจเบื้องต้นเกี่ยวกับความครบถ้วน ของส่วนประกอบ • ตรวจข้อกฎหมาย • ตรวจข้อเท็จจริง • ตรวจข้อสังเกต

  7. การแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนการแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน การสอบสวน การสั่งพักหรือสั่งให้ออกไว้ก่อน การพิจารณาสั่งการในชั้นต้น ตรวจข้อกฎหมาย

  8. ผู้สั่งมีอำนาจหรือไม่ผู้สั่งมีอำนาจหรือไม่ ระบุชื่อและตำแหน่งของผู้ถูกกล่าวหาหรือไม่ ระบุเรื่องที่กล่าวหาหรือไม่ ระบุชื่อและตำแหน่งของกรรมการหรือไม่ ผู้เป็นกรรมการถูกหลักเกณฑ์หรือไม่ การตรวจคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน

  9. ส่งสำเนาคำสั่งให้ผู้ถูกกล่าวหาหรือไม่ส่งสำเนาคำสั่งให้ผู้ถูกกล่าวหาหรือไม่ แจ้งและอธิบายข้อกล่าวหาหรือไม่ ประชุมลงมติเกี่ยวกับพยานหลักฐานฝ่ายกล่าวหาหรือไม่ แจ้งสรุปพยานหลักฐานที่สนับสนุนข้อกล่าวหาหรือไม่ สอบสวนถูกต้องตามหลักเกณฑ์หรือไม่ การลงมติถูกต้องหรือไม่ การตรวจการสอบสวน

  10. กรรมการสอบสวนนั่งครบองค์ประชุมหรือไม่ (ข้อ 35) กรรมการนั่งสอบปากคำครบองค์ประชุมหรือไม่ (ข้อ 46) ล่อลวง ขู่เข็ญ หรือให้สัญญาเพื่อจูงใจให้บุคคลให้ถ้อยคำอย่างใด ๆ หรือไม่ (ข้อ 47) มีบุคคลอื่นร่วมทำการสอบสวนหรือไม่ (ข้อ 39 วรรคสอง) มีบุคคลอื่นอยู่ในที่สอบสวนหรือไม่ (ข้อ 48 วรรคแรก) การบันทึกหรือแก้ไข ถูกต้องหรือไม่(ข้อ 48 วรรคสอง ถึง ห้า ) การสอบสวนพยานซึ่งอยู่ต่างท้องที่ถูกต้องหรือไม่ (ข้อ 51) หลักเกณฑ์การสอบสวน

  11. มีพยานหลักฐานใดที่สนับสนุนว่า ผู้ถูกกล่าวหากระทำผิดตามข้อกล่าวหา - ระบุวัน เวลา สถานที่ และลักษณะ การกระทำเท่าที่ปรากฏ การแจ้งสรุปพยานหลักฐานที่สนับสนุนข้อกล่าวหา

  12. ลงมติตามข้อ 43 (แจ้งสรุปพยานฯ ส.ว.3) ลงมติตามข้อ 52 (เห็นว่ามีมูลเรื่องอื่นด้วย) ลงมติตามข้อ 53 (พาดพิงถึงคนอื่น) ลงมติตามข้อ 57 (ความเห็นหลังสอบพยานหมดแล้ว) ตรวจสอบการลงมติ

  13. มีกรณีที่จะสั่งได้หรือไม่มีกรณีที่จะสั่งได้หรือไม่ ผู้สั่งมีอำนาจหรือไม่ วันพักหรือให้ออกไว้ก่อนถูกต้องหรือไม่ การตรวจคำสั่งพักหรือสั่งให้ออกไว้ก่อน

  14. การพิจารณาถูกต้องหรือไม่การพิจารณาถูกต้องหรือไม่ ผู้สั่งมีอำนาจหรือไม่ อ้างบทกฎหมายถูกต้องหรือไม่ วันออกจากราชการถูกต้องหรือไม่ การตรวจการพิจารณาสั่งการในชั้นต้น

  15. ข้อเท็จจริงที่รับกัน ข้อเท็จจริงที่ขัดแย้งเป็นประเด็น พยานหลักฐานประกอบประเด็น การสอบสวนหมดประเด็นหรือไม่ การตรวจข้อเท็จจริง

  16. การตรวจข้อเท็จจริง หลัก 3 ประการ อ่านให้ดี เขียนให้ดี คิดให้ดี

  17. การอ่านสำนวน • อ่านให้ละเอียด- เริ่มจากรายงานการสอบสวน จะทำให้เห็นข้อมูล ต่าง ๆ ได้ง่าย- ต้องดูต้องอ่านพยานหลักฐานต่าง ๆ ในสำนวน อย่าอ่านแต่รายงานการสอบสวนเท่านั้น- เก็บหาข้อเท็จจริงที่ได้ความในเบื้องต้นที่รับกัน หรือฟังได้เป็นยุติ- เก็บประเด็นปัญหาข้อโต้เถียง รวมข้อสำคัญของเรื่อง- พยานหลักฐานทั้งสองฝ่าย จัดกลุ่มพยานหลักฐาน

  18. การคิดควบคู่กับการอ่านการคิดควบคู่กับการอ่าน • เพื่อจะนำไปสู่ข้อเท็จจริงเบื้องต้นและ ประเด็นปัญหา • วินิจฉัยพยานหลักฐาน • เหตุผลดีเป็นสำคัญ • การสอบสวนสิ้นกระแสความ

  19. การเขียนบันทึก 1. คิดถึงแผนการเขียน เมื่ออ่านและ คิดวินิจฉัยดีแล้ว 2. คำนึงถึง ความกะทัดรัด ชัดเจน เข้าใจง่าย เนื้อหาครบถ้วนเสมือนผู้อ่านบันทึกอ่าน สำนวนเอง ความเห็นมีเหตุผลหนักแน่น รัดกุม น่าเลื่อมใส

  20. 3. ข้อควรระวัง การเขียนต้องคำนึงถึงผู้อ่าน 3.1 อย่าเขียนให้ผู้อ่านมีคำถามมากมาย 3.2 การเสนอพยานหลักฐานต้องครบถ้วนและ ถูกต้อง อย่าผิดเพี้ยนเป็นอันขาด 3.3 เมื่อกล่าวถึงบุคคลต้องบอกตำแหน่ง หรือฐานะเป็นครั้งคราวด้วย 3.4 เอกสารสำคัญที่ควรแนบ 4. สาระสำคัญของบันทึกต้องประกอบด้วย ข้อเท็จจริงเบื้องต้น ประเด็นปัญหา และความเห็น

  21. สำนักมาตรฐานวินัย สำนักงาน ก.พ. โทร. 02-5471631 www.ocsc.go.th

More Related