1 / 21

HiPPS

ระบบการพัฒนา : กรอบการสั่งสมประสบการณ์ Experience Accumulation Framework – EAF. Experience Accumulation Framework- EAF คือ Career plan ที่ตอบคำถามว่า

tieve
Download Presentation

HiPPS

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สำนักงาน ก.พ.

  2. ระบบการพัฒนา : กรอบการสั่งสมประสบการณ์ Experience Accumulation Framework – EAF Experience Accumulation Framework- EAF คือ Career plan ที่ตอบคำถามว่า “หากจะเป็น “....ชื่อตำแหน่งสำคัญ....” ต้องมีเส้นทางความก้าวหน้าอย่างไรบ้างหรือ ต้องหมุนเวียนไปทำงานในสำนัก/กองใดบ้าง เพื่อเก็บเกี่ยวประสบการณ์ที่ได้จากการทำงานจริงในฐานะ ขรก. ของ หน่วยงานภายในนั้นๆ ตำแหน่งเป้าหมาย • ทักษะ หรือ ความสามารถอะไร • ต้อง “ทำงาน” อะไรได้ • ต้องอยู่ในหน่วยงานนั้นๆ ระยะเวลาเท่าไหร่ HiPPS

  3. กรอบการสั่งสมประสบการณ์กรอบการสั่งสมประสบการณ์ (Experience Accumulation Framework)

  4. กรอบการสั่งสมประสบการณ์ ตำแหน่งเป้าหมาย.................... หน่วยงาน .................... รวมทั้งหมด ..... ปี รวม ...... ปี หน่วยงาน ระยะเวลา .....ปี หน่วยงานเป้าหมาย ระดับเป็นเลิศ (Benchmark) รวม ..... ปี Training หน่วยงาน ระยะเวลา .....ปี หน่วยงาน ระยะเวลา .....ปี หน่วยงาน ระยะเวลา .....ปี ระดับสูง (Advanced) Training รวม ..... ปี ระดับพื้นฐาน (Fundamental) HiPPS หน่วยงาน ระยะเวลา .....ปี หน่วยงาน ระยะเวลา .....ปี หน่วยงาน ระยะเวลา .....ปี

  5. แบบฟอร์ม EAF จัดทำกรอบการสั่งสมประสบการณ์ 1. กำหนดหน่วยงานที่ต้องผ่านงาน จึงจะทำให้พัฒนาสู่ตำแหน่งเป้าหมายได้ 2. พิจารณาว่าต้องผ่านงานในหน่วยงานถึงในระดับใด เป็นระดับ Fundamental, Advanced หรือ Benchmarked และกำหนดหัวเรื่องความรู้งานที่ต้องเรียนรู้ 3. ระบุตัวบ่งชี้เชิงพฤติกรรมที่จะใช้วัด หรือ แสดงให้เห็นถึงการบรรลุได้ตามระดับความสามารถ 4. ระบุระยะเวลาที่เหมาะสมในการผ่านงานในหน่วยงาน ณ.ระดับความสามารถหนึ่งๆ 5. ระบุผู้สอนงาน ใครคือผู้ที่เหมาะสมและมีศักยภาพในการสอนงาน 6. ระบุหลักสูตรการฝึกอบรมที่เกี่ยวเนื่องกับวิชาชีพ หลักสูตรใดที่จำเป็นเพื่อสร้างฐานความรู้ให้เพียงพอกับการปฎิบัติงาน หน่วยงานที่ต้องปฎิบัติเพื่อเรียนรู้ 7. ระบุงานที่ควรมอบหมาย ซึ่งจะทำให้บรรลุได้ถึงระดับความสามารถที่มุ่งหวัง

  6. อะไรคือระดับความสามารถอะไรคือระดับความสามารถ ความสามารถ อาจแบ่งได้เป็น 3 ระดับที่แตกต่างกัน ความสามารถระดับพื้นฐาน (Fundamental) หมายถึง ความสามารถในระดับความรู้พื้นฐานทั่วไปในการปฏิบัติหน้าที่ เน้นที่องค์ความรู้โดยทั่วไป ความสามารถระดับสูง (Advanced) หมายถึง ความสามารถในระดับที่ประยุกต์ใช้องค์ความรู้พื้นฐานกับงานในลักษณะต่างๆได้ สามารถคิด วิเคราะห์ และตัดสินใจในประเด็นต่างๆได้ด้วยตนเอง ความสามารถระดับเป็นเลิศ (Benchmarked) หมายถึง ความสามารถในระดับที่เกี่ยวเนื่องกับองค์ความรู้ใหม่ นวัตกรรมใหม่ รวมถึงความสามารถในระดับที่เป็นที่ยอมรับของบุคคลในวิชาชีพทั้งภายในองค์กร และสาธารณะ ความสามารถระดับนี้ต้องใช้การศึกษาเฉพาะในทางลึก

  7. ใครได้ประโยชน์จาก EAF • สำหรับข้าราชการ • สร้างขวัญและกำลังใจ • ได้รับรู้ความต้องการของหัวหน้างาน • มีความมั่นคงในสายอาชีพ • สร้างความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งในการดำเนินงานขององค์กร • สำหรับหัวหน้างาน • โอกาสในการสื่อสารให้ผู้ใต้บังคับบัญชาทราบขอบเขตของงาน • ช่วยลดภาระงานประจำวัน • ทำให้หัวหน้างานมีเวลาเพียงพอในการวางแผนงานด้านต่าง ๆ • สร้างตัวแทนในการทำงานแทนหัวหน้างาน • สำหรับองค์การ • สร้างระบบ/มาตรฐานในการพัฒนาบุคลากร • สร้างภาพลักษณ์ที่ดีและความน่าเชื่อถือให้กับองค์กร

  8. อุปสรรคของการจัดทำ EAF • ไม่มีเวลา/เสียสละเวลาในการพัฒนา EAF • ขาดการสนับสนุนด้านงบประมาณ • ขาดการมีส่วนร่วมและการสนับสนุน • ขาดการสนับสนุนจากผู้บริหาร • ขาดการนำไปปฏิบัติจริง • ขาดการประเมินผลและปรับปรุง

  9. การกำหนดกรอบการพัฒนา • ความต้องการของส่วนราชการ • ความสามารถของ HiPPS • ความต้องการของ HiPPS

  10. กรอบการสั่งสมประสบการณ์รายบุคคล Individual - EAF หมายถึง แผนพัฒนา HiPPS เป็นรายบุคคลโดยวางแผนภายใต้ EAF ภาพใหญ่ ซึ่งคำนึงถึงปัจจัย ดังต่อไปนี้ • ประสบการณ์/ผลงานที่ผ่านมา • ลำดับการเรียนรู้ และสั่งสมประสบการณ์ • ระยะเวลาในการเรียนรู้ และสั่งสมประสบการณ์ • งาน/โครงการในระยะเวลาต่าง ๆ ที่สอดคล้องกับ EAF • ผู้สอนงาน หรือหัวหน้างาน

  11. ตัวอย่างกรอบ EAF • กลุ่มงานด้านเศรษฐกิจ • กลุ่มงานด้านสังคม • กลุ่มงานด้านนโยบาย

  12. กลุ่มงานด้านเศรษฐกิจ กรมสรรพสามิต กระทรวงการคลัง ตำแหน่ง นักวิชาการภาษีชำนาญการพิเศษ

  13. กรอบการสั่งสมประสบการณ์ สายงานวิชาการภาษี กลุ่มแผนภาษี สำนักแผนภาษีกรมสรรพสามิต กระทรวงการคลัง ผ่านทุกกลุ่มในสำนักแผนภาษี จากนั้นพัฒนาเข้าสู่ตำแหน่งนักวิชาการภาษี 8ว รวม 2 ปี สำนักแผนภาษี ระดับสูง (Advanced) รวม 1.5 ปี Training สำนักแผนภาษี 10 เดือน สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง นโยบายภาพกว้าง 6 เดือน + กรมสรรพากร 6 เดือน + กรมศุลกากร 6 เดือน ระดับสูง (Advanced) ผ่านสำนักในกรมสรรพสามิต จากนั้นพัฒนาเข้าสู่ตำแหน่งนักวิชาการภาษี 6ว รวม 1 ปี สำนักงานสรรพสามิตภาคที่ 10พื้นที่กรุงเทพฯ3 เดือนสำนักงานสรรพสามิตภาคที่ 2 3 เดือน นว.ภาษี ระดับพื้นฐาน (Fundamental) สำนักกฎหมาย 2 เดือน สำนักมาตรฐานและพัฒนาการจัดเก็บภาษี 12 เดือน สำนักมาตรฐานและพัฒนาการจัดเก็บภาษี 22 เดือน HiPPS

  14. กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ ตำแหน่งวิศวกรปิโตรเลียม (นักบริหาร)

  15. สำนักเทคโนโลยีการประกอบกิจการโตรเลียมสำนักเทคโนโลยีการประกอบกิจการโตรเลียม ระดับเป็นเลิศ (Benchmarked) 2 ปี EAF: วิศวกรปิโตรีเลียม (นักบริหาร) ด้านเทคโนโลยีการประกอบกิจการปิโตรเลียม Secondment: MTJA (มาเลฯ) / ปตท. / ปตท.สผ. สำนักบริหารกิจการปิโตรเลียมระหว่างประเทศ ระดับสูง (Advanced) กองแผน สำนักจัดการเชื้อเพลิง Training เทคนิคไทย- มาเลเซีย 6 เดือน Cost Allocation Reserved Allocation เทคนิคไทย- เขมร 6 เดือน 6 เดือน 6 เดือน มอบหมายงาน ระดับพื้นฐาน (Fundamental) สำนักเทคโนโลยีการประกอบกิจการโตรเลียม สำนักบริหารสัมปทาน สำนักจัดการเชื้อเพลิง 2 ปี 1 ปี 1 ปี

  16. กลุ่มงานด้านสังคม สำนักส่งเสริมและพิทักษ์เด็ก นักพัฒนาสังคมชำนาญการพิเศษ

  17. EAF: ตำแหน่งนักพัฒนาสังคมชำนาญการพิเศษ สำนักส่งเสริมและพิทักษ์เด็ก (ตำแหน่งเดิม นักพัฒนาสังคมชำนาญการ) รวมทั้งหมด 3 ปี 10 เดือน การวิเคราะห์นโยบายสู่การปฏิบัติ Training สทด. โครงการเชิงรุก/การสร้างนวัตกรรม งานบริหารจัดการ สูง การประเมินผล ฝึกปฏิบัติงาน/รับทุน งานวิจัยเพื่อพัฒนางาน องค์กรระหว่างประเทศ NGO การสร้าง/แสวงหาความร่วมมือด้านเด็กในและต่างประเทศ 2 ปี 6 เดือน สทอ. ยุทธศาสตร์ การพัฒนาศักยภาพและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิผู้ด้อยโอกาส สทด. 3 กลุ่ม ฝึกปฏิบัติงาน พมจ เลือกจังหวัดใหญ่ พส. แนวทางปฏิบัติด้านเด็ก สค. Gender สทย โครงการใหญ่ ๆ (สภาเด็กและเยาวชน) การมีส่วนร่วม การพัฒนากลไกความร่วมมือ พื้นฐาน 3 เดือน 2 เดือน 2 เดือน 3 เดือน 6 เดือน

  18. กลุ่มงานในสังกัดสำนักนายกรัฐมนตรีกลุ่มงานในสังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี สำนักงบประมาณ นักวิเคราะห์งบประมาณชำนาญการพิเศษ

  19. สำนักจัดทำงบประมาณ (เศรษฐกิจ/สังคม) ระดับเป็นเลิศ (Benchmarked) 2 ปี EAF:นักวิเคราะห์งบประมาณชำนาญการพิเศษ สำนักงบประมาณ ระดับสูง (Advanced) สำนักประเมินผล สำนักนโยบายและแผนงบประมาณ 1 ปี 1 ปี ระดับพื้นฐาน (Fundamental) สำนักจัดทำงบประมาณ ด้านความมั่นคง 2 สำนักมาตรฐานงบประมาณ สำนักพัฒนาระบบงบประมาณและการจัดการ 3 ปี 1 ปี 1 ปี

  20. Q & A

  21. WORKSHOP

More Related